คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้มบน Hospital OS
Advertisements

คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
การคาดการณ์สถานการณ์น้ำปี 2552
Principles of Communications Chapter 5 Communication Media
สิ่งมีชีวิต ที่มีแสงในตัวเอง....
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
โลก (Earth).
Earth’s internal processes กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
El Niño - La Niña History –1600’s : Peruvians noticed that around Christmas time during certain years there was a lot less fish off shore –Named this.
วิธีการกรอกข้อมูลสำหรับการ ประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิง วิชาการด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศไทย ปี 2554 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การตั้งค่าแสดงผล Folder Folder Option. Folder Option คือ  ตัวจัดการและตั้งค่าการแสดงผลของ โฟลเดอร์ ( Folder )
LOCATION AJ.2 Satit UP. D C 1 B A F 5 6 K
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประวัติ ความเป็นมาของโปรแกรม FreeMind ได้ 2. บอกความหมายและสามารถเลือกใช้โปรแกรม Open Source Software ได้ 3. บอกความหมายของการอับโหลดและการดาวน์
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2559 อาหาร สิ่งแวดล้อม เคมี ฟิสิกส์ สอบเทียบ.
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเส้นใยแก้วนำแสง
Mobile Application Development
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
Private Equity มิตรแท้ของเจ้าของกิจการ?
AUSTRALIA-OCENIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
อุทกภัย (Floods) เป็นภัยธรรมชาติที่ทำให้เกิดสภาวะน้ำท่วมหรือน้ำท่วมฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน บางครั้งทำให้เกิดแผ่นดินถล่ม อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุมมีกำลังแรง.
Introduction to Arduino UNO
แนวทางการออกแบบนามบัตร
ADM 2301 การสื่อสารการตลาดในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การพัฒนางานเภสัชกรรม
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
บทที่ 4 การคัดเลือกโครงการ
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
การจัดการระบบฐานข้อมูล
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
การเปลี่ยนแปลงคาบการแปรแสง ของระบบดาวคู่ XY Leonis
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 1 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชัยภูมิ
Happy work place index & Happy work life index
การประมาณการโครงการ.
COLOR INDEX : กำหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อการสำรวจหาความต้องการ START HERE
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
การเปลี่ยนแปลงธรณีภาค
แถลงข่าวดัชนีราคา เดือนกุมภาพันธ์ 2551
สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558 คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม 2558

สรุปผลคาดการณ์ ปี 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนค่อนข้างต่ำกว่าปกติ หรือใกล้เคียงกับปี 2530 เดือนมกราคม - มีนาคม โดยรวมทั้งประเทศจะมีปริมาณฝนค่อนข้างต่ำกว่าปกติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในภาคใต้และภาคตะวันออก ยกเว้นบริเวณตอนล่างของภาคเหนือและด้านตะวันตกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนมกราคม ทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ เดือนกุมภาพันธ์ เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนมีนาคม เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าค่าปกติ ยกเว้นบริเวณภาคเหนือตอนล่างและตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนเมษายน - มิถุนายน โดยรวมทั้งประเทศจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ เดือนเมษายน เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ยกเว้นภาคเหนือ ภาคกลาง และตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนพฤษภาคม เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ยกเว้นภาคใต้ตอนล่างจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนมิถุนายน ภาคกลาง และภาคใต้จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ส่วนภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าค่าปกติ ฤดูฝนจะเริ่มต้นช้ากว่าปกติ

ปัจจัยที่ใช้ในการคาดการณ์ฝนรายฤดูกาล ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ Oceanic Niño Index (ONI) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก Pacific Decadal Oscillation Index (PDO) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ Dipole Mode Index (DMI) - บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุม Indian Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย Western Pacific Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก Madden-Julian Oscillation (MJO) - ความผันแปรของลักษณะอากาศในเขตร้อน

ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ ONI= +0.68 IOD = +0.28 PDO = +2.51 ดัชนี PDO ยังคงสภาพเป็นบวก ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +2.51 (เดือนก่อนหน้าเป็น +1.72) ดัชนี ONI (ENSO) มีสภาพเป็นบวก ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +0.68 (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.65) หลังจากนี้มีโอกาสเป็นเอลนีโญ ดัชนี DMI (IOD) มีสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +0.28 (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.51) Source http://www.ospo.noaa.gov/Products/ocean/sst/anomaly/index.html ONI: http://www.cpc.ncep.noaa.gov/products/analysis_monitoring/ensostuff/ensoyears.shtml PDO: http://jisao.washington.edu/pdo/PDO.latest IOD: http://www.jamstec.go.jp/frcgc/research/d1/iod/DATA/dmi.monthly.ascii ดัชนี > 0.5 แนวโน้มปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ ดัชนี <-0.5 แนวโน้มปริมาณฝนมากกว่าปกติ Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนธันวาคม บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Oceanic Niño Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (พฤศจิกายน-ธันวาคม-มกราคม) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนพฤศจิกายน บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ 90-110E, 10oS-0oN 4

จัดกลุ่มปีที่มีดัชนีระดับภูมิภาคใกล้เคียงกัน แนวโน้มปริมาณฝนปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 ดัชนีระดับภูมิภาค ช่วงเดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน ปี 2557 ใกล้เคียงกับปี 2529 คาดการณ์ฝน 6 เดือนข้างหน้า ระหว่างเดือนมกราคม-เดือนมิถุนายน 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนใกล้เคียงกับปี 2530 หรือต่ำกว่าค่าเฉลี่ย โดยจะมีปริมาณฝนสะสม 6 เดือนประมาณ 400-500 มิลลิเมตร

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมปี 2558 http://apdrc.soest.hawaii.edu/projects/monsoon/realtime-monidx.html ปัจจุบันลมมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย มีดัชนีใกล้เคียงค่าปกติ ปัจจุบันลมมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีดัชนีสูงกว่าค่าปกติ ที่มา: มหาวิทยาลัย Hawaii

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนี MJO (Madden-Julian Oscillation) กันยายน 2557 ฝนน้อยกว่าปกติ ตุลาคม 2557 พฤศจิกายน 2557 ฝนใกล้เคียงปกติ ธันวาคม 2557 ฝนมากกว่าปกติ มกราคม 2558 กุมภาพันธ์ 2558 เดือนกุมภาพันธ์ปี 2558 ดัชนี MJO ตรงบริเวณประเทศไทยมีค่าปกติ จึงไม่ส่งอิทธิพลต่อสภาพฝนของไทย ที่มา: NCEP/CDAS and CFS

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนมกราคม-มีนาคม ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 มกราคม มกราคม 14 mm. 7 mm. -49.45% กุมภาพันธ์ กุมภาพันธ์ 18 mm. 10 mm. -42.52% มีนาคม มีนาคม 44 mm. 33 mm. -26.45%

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนเมษายน-มิถุนายน ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 เมษายน เมษายน 85 mm. 66 mm. -21.45% พฤษภาคม พฤษภาคม 186 mm. 118 mm. -36.67% มิถุนายน มิถุนายน 177 mm. 188 mm. +6.36%

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 76.21 mm. 50.01 mm. -34.38%

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน ค่าเฉลี่ย 30 ปี 447.85 mm. ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี 372.64 mm. -16.79%