สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนแรก: 1 ตุลาคม 2559-28.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนแรก: 1 ตุลาคม 2559-28 กุมภาพันธ์ 2560) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย กพร.กรมอนามัย ระหว่างวันที่ 14-16 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมไมด้าเดอ ซี หัวหิน (Mida De Sea Hua Hin) อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 3  คะแนน 5.0000 2. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับ การคัดกรองพัฒนาการ และพบ พัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) 16 คะแนน 1.0000

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 3. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือนได้รับการคัดกรอง พัฒนาการ และพบพัฒนาการ สงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) ได้รับการติดตามกระตุ้น พัฒนาการ 16 ภาพรวม คะแนน 1.0000  ศอ.12 ยะลา คะแนน 2.2000 4. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 19 คะแนน 5.0000 3 หน่วยงาน คะแนน 4.0000

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 5. ร้อยละของตำบลที่มีระบบ การส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ 19  คะแนน 5.0000 6. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 3 หน่วยงาน 7. อัตราการคลอดมีชีพในหญิง อายุ 15-19 ปี 16

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 8. ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน อายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ 13  2 หน่วยงาน คะแนน 4.0000 9. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนา อนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 17 ภาพรวมคะแนน 5.0000 8 หน่วยงาน คะแนน 5.0000 10. ร้อยละของตำบลต้นแบบบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และ อนามัยสิ่งแวดล้อม ผ่านเกณฑ์ 24 3 หน่วยงาน

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 11. ร้อยละของกลุ่มเครือข่ายบริการ ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster : PCC) ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้าน สุขภาพช่องปากและโภชนาการ 3  คะแนน 5.0000 12. ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอด ตัวชี้วัดระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 36 32 หน่วยงาน

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 13. ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสของ บุคลากรในหน่วยงานสังกัด กรมอนามัย 36  33 หน่วยงาน คะแนน 5.0000 14. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานใน สังกัดกรมอนามัย (เฉพาะหลักฐาน เชิงประจักษ์) (EBIT) 13 หน่วยงาน

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 15. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ 36  25 หน่วยงาน คะแนน 5.0000 16. ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม ที่ถูก นำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง 27 16 หน่วยงาน 17. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน เฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม 11 7 หน่วยงาน

สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 18. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนกรมอนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA 36  6 หน่วยงาน คะแนน 5.0000 19. ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับ นานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ F. ตัวชี้วัด Functional Based (เพิ่มเติม) 17 7 หน่วยงาน ทุกตัวชี้วัดเพิ่มเติม

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนหลัง) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย กพร.กรมอนามัย ระหว่างวันที่ 14-16 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมไมด้าเดอ ซี หัวหิน (Mida De Sea Hua Hin) อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี

หลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดรอบที่ 2 ประเด็นนำเสนอ หลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดรอบที่ 2 ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (รอบ 5 เดือนหลัง) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย กพร.กรมอนามัย ระหว่างวันที่ 14-16 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมไมด้าเดอ ซี หัวหิน (Mida De Sea Hua Hin) อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี

หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมอนามัย ระดับหน่วยงาน รอบระยะเวลาในการประเมินผล รอบที่ 1 เดือนตุลาคม - เดือนกุมภาพันธ์ ของปีถัดไป รอบที่ 2 เดือนมีนาคม - เดือนกรกฎาคม ของปีเดียวกัน อังคาร 28 ก.พ.60 เข้าระบบวันสุดท้าย จันทร์ 31 ก.ค.60 เข้าระบบวันสุดท้าย

วิธีการประเมินผลปฏิบัติงาน ๒ ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 : คณะอนุกรรมการบริหารผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย ทำหน้าที่กลั่นกรองและเสนอความเห็นเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานระดับหน่วยงานต่อคณะกรรมการบริหารระดับสูงของกรมอนามัย กรณีผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีเด่น ให้มีการสุ่มประเมินหน่วยงานและผู้มีผลการปฏิบัติราชการในระดับดีเด่น เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาด้วย ขั้นตอนที่ ๒ : คณะกรรมการบริหารระดับสูงของกรมอนามัย ซึ่งได้แก่ อธิบดี และรองอธิบดีกรมอนามัย เป็นผู้ให้ดุลพินิจ โดยใช้ข้อมูลในขั้นตอนที่ ๑ ประกอบการพิจารณา และหรือสามารถใช้วิธีการอื่น เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก ฯลฯ โดยต้องเป็นวิธีเดียวกัน เพื่อประกอบการพิจารณา และสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมินด้วย

การรายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่อกรมอนามัย หลังจากหน่วยงานได้บันทึกผลการปฏิบัติงาน ลงในระบบ DOC กรมอนามัย (ระบบติดตามผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย หรือไปที่เว็บไซต์ http://doc.anamai.moph.go.th/ โปรแกรม จะประมวลผลข้อมูล และจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลสำหรับ ใช้ดำเนินการบริหารค่าตอบแทนต่อไป สำหรับหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานในระดับดีเด่น ข้าราชการซึ่งอยู่ในหน่วยงานดังกล่าว กรมฯ จะดำเนินการสุ่มสำรวจ เพื่อการทวนสอบระดับความสำเร็จข้าราชการในกลุ่ม ดังต่อไปนี้ - กลุ่มหัวหน้าฝ่าย/กลุ่มงาน และหรืองาน - กลุ่มองค์กรแพทย์ - กลุ่มทันตสาธารณสุข กลุ่มการพยาบาล ฯลฯ - กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่ผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานมีความสำคัญต่อการบรรลุเป้าประสงค์ ทั้งนี้โดยใช้วิธี ขอให้จัดส่งสำเนาแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้กองการเจ้าหน้าที่ เพื่อติดตามผลดำเนินการด้วย ใช้วิธีการอื่นๆ ประกอบการประเมินผลปฏิบัติงาน เช่น สัมภาษณ์เชิงลึก / สนทนากลุ่ม ฯลฯ

การแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร-->รายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเฉพาะคะแนนประเมินผลการปฏิบัติราชการ ซึ่งคะแนนดังกล่าวได้ผ่านการความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการบริหารระดับสูงตามลำดับ โดยมีอธิบดีกรมอนามัยและหรือรองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย ลงลายมือชื่อกำกับ แจ้งให้หน่วยงานผู้รับการประเมินทราบ โดยให้ลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินในแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรมอนามัย การประกาศผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ให้ประกาศรายชื่อหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติราชการเฉพาะกลุ่มระดับดีเด่น ลงนามโดยอธิบดีกรมอนามัย หลังกรมอนามัยได้มีประกาศอัตราร้อยละของการเลื่อนเงินเดือนและค่าตอบแทนแล้วในที่เปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน เพื่อเป็นการยกย่อง ชมเชยและสร้างแรงจูงใจ ให้พัฒนาผลการปฏิบัติงานในรอบการประเมินในรอบต่อไปให้ดียิ่งขึ้น รวมถึงนำไปใช้ประกอบการพิจารณาในการบริหารองค์การ / พัฒนาทรัพยากรบุคคลในเรื่องต่างๆต่อไป

ระบบการจัดเก็บผลการประเมินและ หลักฐานแสดงความสำเร็จของงาน ให้หน่วยงานบันทึกผลการประเมินการรายงานผลปฏิบัติงานระดับหน่วยงาน ลงในระบบ DOC กรมอนามัย ให้หน่วยงานมีระบบการจัดเก็บผลการประเมินและหลักฐานแสดงความสำเร็จของงาน เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาในรูปแบบที่สามารถสืบค้นข้อมูลย้อนหลัง และสามารถจัดทำสรุปวิเคราะห์ผลในภาพรวมของระดับหน่วยงานได้

แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 รอบที่ 2 ให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก โดยผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด PA เข้า ระบบ DOC กรมอนามัย เพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานและให้คะแนน ลักษณะข้อมูลในรายงาน 1) ตัวเลข  ร้อยละ อัตรา ระดับความสำเร็จ 2) อรรถาธิบาย  ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น KPI16 : ผลงานวิชาการ-วิจัย KM KPI18 : HPO –> PMQA “Lean” KPI19 : ผลงานโดดเด่น ฯลฯ การสรุปผลการประเมิน 1) โดยการให้คะแนน 2) จัดทำบทสรุป – ไม่เกิน 1 หน้า ในลักษณะ การวิเคราะห์ผล ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ 2.1 โดยรวม 2.2 ตามกรอบการจัดกลุ่ม หน่วยงาน 4 กลุ่ม

เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน รอบที่ 2 (5 เดือนหลัง : 1 มีนาคม- 31 กรกฎาคม 2560) ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ สำนักส่งเสริมสุขภาพ) 83 84 85 86 87 2. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ทุกคน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และพบพัฒนาการ สงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) สำนักส่งเสริมสุขภาพ และศูนย์อนามัยที่ 1-13) 20 24 28 32 36 3. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน สงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) ได้รับการติดตาม กระตุ้นพัฒนาการ 60 70 80 90 95

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน สำนักโภชนาการ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 47 48 49 50 51 รอบ 5 เดือนหลัง ศูนย์อนามัยที่ 1-13 1 - ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีนโยบาย ฯ - ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล - มีรายงานสรุปผลการประเมินตำบลส่งเสริมฯ อย่างน้อยร้อยละ 30 ของตำบลที่ผ่านเกณฑ์ประเมินของจังหวัด - มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานส่งเสริมฯ และจัดทำข้อเสนอแนะฯ 1.6 2 - ร้อยละ 50 ของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัย - มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานจัดบริการฯ และข้อเสนอแนะ 0.7 3-5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline 2.7 คะแนน 0.9 1.8 2.7 ร้อยละ 1 2 3

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สำนักโภชนาการ กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และ ศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 35 37 40 45 50

นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่ ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน สำนักโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 65 65.5 66 66.5 67 ศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ...... นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่

นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่ ตัวชี้วัดที่ 7 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ สำนักส่งเสริมสุขภาพ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 46 45 44 43 42 ศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ...... นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่

นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่ ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโภชนาการ กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 52 53 54 55 56 ศูนย์อนามัยที่ 1-13: ศูนย์อนามัยที่ 2 4 5 ศูนย์อนามัยที่ 8-13 (เนื่องจาก ศูนย์อนามัยที่ 1 3 6 7 รับการประเมินตัวชี้วัดที่ 16 งานวิจัย/วิชาการ) รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ...... นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 50 60 65 70 75

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของตำบลต้นแบบบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อมผ่านเกณฑ์ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบ 5 เดือนหลัง ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละของตำบลเป้าหมายผ่านเกณฑ์ตำบลต้นแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป 20 40 60 80 100

ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ ช่องปากและโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข และ สำนักโภชนาการ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง มี PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 20 ของ PCC ทั้งหมด จัดบริการฯ ร้อยละ 30ของ PCC ทั้งหมด จัดบริการฯ ร้อยละ 40ของ PCC ทั้งหมด จัดบริการฯ ร้อยละ 50ของ PCC ทั้งหมด รายงานสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการและเชิงนโยบาย

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 12-14 รอบ 5 เดือนหลัง ทุกหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 12. ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัด ระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1-2 ขั้นตอนที่ 1-3 ขั้นตอนที่ 1-4 ขั้นตอนที่ 1-5 13. ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสของบุคลากรในหน่วยงาน สังกัดกรมอนามัย 60 65 70 75 80 14. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (EBIT) 85 90

ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รอบ 5 เดือนหลัง ทุกหน่วยงาน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 15 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม (น้ำหนัก 0.6) 77 78 79 80 81 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (น้ำหนัก 0.4) 67 68 69 70 71 หน่วยงานที่ไม่มีงบลงทุน ให้นำน้ำหนักไปรวมกับงบรายจ่ายภาพรวม

2. กรณีผลงานวิชาการ/ ผลิตภัณฑ์/ นวัตกรรม ตัวชี้วัดที่ 16 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานมีงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง รอบ 5 เดือนหลัง ส่วนกลางทุกหน่วยงาน และศอ. 1, 3, 6, 7 ศทป และศอช. ขั้นตอน 1. กรณีงานวิจัย คะแนน 2. กรณีผลงานวิชาการ/ ผลิตภัณฑ์/ นวัตกรรม 4 วิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงานการวิจัย และสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการวิจัย 3 ประเมินผลดำเนินงาน/ การใช้งานผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม ที่ผลิต/ พัฒนา และแสดงข้อมูลเชิงประจักษ์ในการใช้ประโยชน์ได้จริง ประเมินความสอดคล้องกับนโยบาย ประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพเพื่อการพัฒนาต่อยอด 5 โครงการผ่านการประเมินในระดับดีมาก (ร้อยละ 80) ก่อนการเผยแพร่ตามแบบฟอร์มที่กำหนด และนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เช่น 5.1 ตีพิมพ์วารสาร (ระบุชื่อวารสาร) 5.2 นำเสนอในเวทีประชุมวิชาการ (โปรดระบุ) 5.3 นำผลงานวิชาการไปใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงทางวิชาการ การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ และการใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย 2 สรุปถอดบทเรียนการดำเนินงาน และมีการรายงานผลในระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย (DOC)   คะแนนรวม

ตัวชี้วัดการเฝ้าระวัง ที่มีรอบจัดเก็บข้อมูล ตัวชี้วัดที่ 17 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับสำนัก/ กองวิชาการ สำนัก/กองวิชาการ ได้แก่ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กองกิจกรรมทางการเพื่อสุขภาพ สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ รอบ 5 เดือนหลัง ระดับขั้นความสำเร็จ ตัวชี้วัดการเฝ้าระวัง ที่มีรอบจัดเก็บข้อมูล ราย 1 และ 3 เดือน คะแนน ราย 6 เดือน และ 1 ปี ขั้นตอนที่ 1   ขั้นตอนที่ 2 / 0.5 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 1.5 ขั้นตอนที่ 5 1 ขั้นตอนที่ 6 คะแนนรวม 5 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรมอนามัย สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทาง PMQA ทุกหน่วยงาน รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ระดับ 1 ระดับ 1-2 ระดับ 1-3 ระดับ 1-4 ระดับ 1-5 ระดับ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 ดำเนินการหมวด 1 และหมวด 2 2 ดำเนินการระดับที่ 1 และหมวด 3 3 ดำเนินการระดับที่ 1-2 และหมวด 4 หมวด 5 4 ดำเนินการระดับที่ 1-3 และ หมวด 6 5 ดำเนินการระดับที่ 1-7 และผลการดำเนินงานสามารถแสดงผลลัพธ์เชิงประจักษ์ และมีส่วนร่วมต่อความสำเร็จระดับกรมในการส่งผลงานสมัครขอรับรางวัล เช่น รางวัล PMQA รายหมวด, รางวัล TPSA ฯลฯ หมายเหตุ การผ่านเกณฑ์ในแต่ละข้อ หน่วยงานจะต้องมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนตาม ADLI และ R ซึ่งมีเกณฑ์น้ำหนัก ดังนี้ A=0.4 D=0.3 LI/R=0.3

ตัวชี้วัดที่ 19 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ/ ระดับชาติ และระดับพื้นที่ - หน่วยงานวิชาการ เสนอผลงานระดับระดับนานาชาติ/ระดับชาติ - ศูนย์อนามัยที่ 1-13 เสนอผลงาน ระดับพื้นที่ - หน่วยงานสนับสนุน เสนอผลงานโดดเด่นของหน่วยงาน รอบ 5 เดือนหลัง ระดับ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 มีการอธิบายภารกิจ /บทบาท/ หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน 2 มีสภาพปัญหา/ความจำเป็นที่ดำเนินการเรื่องนี้ มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน/ยุทธศาสตร์ 3 มีกระบวนการดำเนินงานเพื่อบรรลุผล /มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน/ 4 มีผลงานที่เกิดจริง มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด /มีความก้าวหน้าตามแผนงาน/มีการแสดงตัวเลขมีความชัดเจน/มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม 5 - มีการนำผลไปใช้ หรือการขยายผล - มีการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน / มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/ รางวัลที่เคยได้รับ

ตัวชี้วัดที่ 19 ผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ ชื่อผลงาน ................................................................................................. 1. ภารกิจ/บทบาท /หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของส่วนราชการ (มีการอธิบายภารกิจ บทบาท หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน ที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/นานาชาติ หรือนโยบายสำคัญของรัฐบาลที่กำหนดไว้)   2. ผลงานที่แสดงถึงการเป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ โดยผลงานนั้นอาจเทียบกับมาตรฐานสากล รางวัลที่เคยได้รับ รวมทั้งผลการประเมินจากองค์กรภายในหรือภายนอกประเทศ หรืออื่นๆ (การประเมินจะพิจารณาจากความพยายามในการดำเนินการเพื่อบรรลุผล โดยผลงานมีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน อธิบายผลงานที่เกิดจริงโดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด มีความก้าวหน้าตามแผนงาน มีการแสดงตัวเลขผลงานที่ชัดเจน มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม หรือการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/รางวัลที่เคยได้รับ)

ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนหลัง) กิจกรรม ระยะเวลา 1 หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยส่งรายงานผลการปฏิบัติราชการทางศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย (DOC) พร้อมแนบเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วนในระบบ DOC ภายใน 31 ก.ค.60 (ปิดระบบไม่รับหลักฐานเพิ่มเติม) 2 กพร. รวบรวมคะแนนตัวชี้วัด ส่งให้เจ้าภาพตัวชี้วัดประเมินผล ให้คะแนนฯ (ด่วนที่สุด ที่ สธ 0926.02/ว 98 ลว. 1 มี.ค.60) 1-3 ส.ค.60 (3 วันทำการ) 3 เจ้าภาพตัวชี้วัดประเมินผลให้คะแนนฯ ส่งให้ กพร. ทั้งนี้ กพร.รายงานความก้าวหน้าการประเมินผลผ่าน Line Group เสนอต่ออธิบดีและรองอธิบดี (นพ.ธงชัย) รับทราบ ภายใน 10 ส.ค.60 (5 วันทำการ) 4 กพร. ประมวลผลคะแนน และจัดเกรดหน่วยงานตามกลุ่มร่วมกับกองการเจ้าหน้าที่ 11-15 ส.ค.60 5 กพร. ส่งสรุปคะแนนให้กองการเจ้าหน้าที่ (ด่วนที่สุด ที่ สธ 0926.02/120 ลว. 15 มี.ค.60) กพร. เสนออธิบดีทราบลงนามแจ้งทุกหน่วยงานทราบ (ด่วนที่สุด ที่ สธ 0926.02/2138,40,45-51,2153-73,75-80 ลว. 17 มี.ค.60) 16 ส.ค.60 (1 วันทำการ)

ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนหลัง) กิจกรรม ระยะเวลา 6 - กองการเจ้าหน้าที่นำข้อมูลเข้าประชุมคณะกรรมการ PMS และสรุปมติ ส่งอธิบดี/ รองอธิบดีรับทราบ 17-18 ส.ค.60 (2 วันทำการ) 7 กรณีหน่วยงานอุทธรณ์คะแนนตัวชี้วัด ให้แจ้ง กพร. (แจ้งหน่วยงานทราบ ด่วนที่สุด ที่ สธ 0926.02/2138,40,45-51,2153-73,75-80 ลว. 17 มี.ค.60) ไม่เกิน 18 ส.ค.60 (2 วันทำการหลัง กพร.แจ้ง) 8 กพร.รวบรวมสรุปข้อมูลอุทธรณ์ส่งเจ้าภาพตัวชี้วัดพิจารณาอุทธรณ์/ ปรับคะแนน (ขอให้เจ้าภาพแจ้งผลอุทธรณ์คะแนนภายใน 22 มี.ค.60 ที่ สธ 0926.02/ว 129 ลว.21 มี.ค.60) 21-22 ส.ค.60 9 เจ้าภาพตัวชี้วัดแจ้งผลการพิจารณาอุทธรณ์/ ปรับคะแนนให้ กพร.ทราบ (เชิญเจ้าภาพพิจารณาและส่งคะแนน ณ ห้องประชุม กพร. 20 มี.ค.60 เวลา 09.00-12.00 น.) 23-24 ส.ค.60

ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนหลัง) กิจกรรม ระยะเวลา 10 กพร.ตรวจสอบข้อมูลและพิจารณาผลการอุทธรณ์/ ปรับคะแนนส่งให้กองการเจ้าหน้าที่ และประชุมคณะกรรมการ PMS - กพร.ปรับคะแนนทั้งหมดตามเจ้าภาพ 20 มี.ค.60 เวลา 12.00-14.00 น. - ส่งสรุปคะแนนให้ กอง จ.เข้าประชุมคณะ PMS ประชุม 20 มี.ค.60 บ่าย (ส่งหนังสือตามภายหลัง ด่วนที่สุด ที่ สธ 0926.02/132 ลว. 22 มี.ค.60) - กพร.เสนออธิบดีลงนามแจ้งผลอุทธรณ์ฯ ให้หน่วยงาน (ด่วนที่สุด ที่ สธ 0926.02/ ว 2343 ลว 24 มี.ค.60) 25-28 ส.ค.60 (2 วันทำการ) 11 คณะกรรมการ PMS สุ่มสำรวจหน่วยงานที่มีผลงานในระดับดีเด่น เพื่อทวนสอบและถอดบทเรียนความสำเร็จ 12 การประชุมสรุปบทเรียนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (รอบแรก คือการประชุมวันนี้ 28 เม.ย.60) 15 ก.ย.60 13 สรุปบทเรียน (ข้อ 11-12) เสนอต่อคณะกรรมการบริหารสูงสุดของกรมอนามัย (อธิบดี และรองอธิบดี)

กพร. กรมอนามัย