รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
Advertisements

ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
ผลการดำเนินงาน PM 18 การบริหารจัดการโครงการ คณะกรรมการสุขศึกษาและ ประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 9 กันยายน 2558.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น บทนิยาม
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
Chapter 7 Clustering อาจารย์อนุพงศ์ สุขประเสริฐ
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
ITA Integrity and Transparency Assessment
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.
การบริหารความเสี่ยง จากการปฏิบัติงานในระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-GP)
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นโยบาย/แนวทางพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง จังหวัดศรีสะเกษ นางสาววิลาวัลย์
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
หลักการตลาด Principles of Marketing
Chapter 7 Clustering อาจารย์อนุพงศ์ สุขประเสริฐ
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH แผนงานโรคเรื้อน วันศุกร์ที่ 20 มกราคม 2560

พัฒนาศักยภาพบุคลากร Cluster SALTH

ความรู้และทักษะตามความคาดหวัง ผลการสำรวจช่องว่าง(GAP) ด้านความรู้/ทักษะ ที่บุคลากรในCluster SALT ของ สคร.ต้องการพัฒนา (ประชุม 7 ธันวาคม 2559) ความรู้และทักษะตามความคาดหวัง ลำดับ Gap PCM PM Core team ด้านวิชาการป้องกันควบคุมโรค ความรู้เรื่องระบาดวิทยา 2 7 3 ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันควบคุมโรคใน Cluster ที่รับผิดชอบ - 8 ความรู้เรื่องโรคเชิงลึกและการป้องกันควบคุมโรคที่รับผิดชอบ 6 การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis) ในพื้นที่ การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 การบริหารจัดการผู้ป่วย การกำหนดมาตรการในการควบคุมโรค 9 4 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การควบคุมโรค 5 การแปลงยุทธศาสตร์เป็นแผนงานโครงการ การพัฒนานโยบาย (Policy Advocacy) ระดับเขต การผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติ การบริหารโครงการโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ การติดตามและประเมินผล วิชาการด้านอื่นๆ การควบคุมคุณภาพ การประสานงาน การโน้มน้าวให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การ Coaching , Mentoring การเจรจาต่อรอง การจัดการเครือข่าย การสื่อสารความเสี่ยง การสื่อสารเชิงบวก ศิลปะการบริหารคนและผู้บังคับบัญชา ข้อมูลอ้างอิง : สำนักผู้ทรงคุณวุฒิ

ข้อมูลพื้นฐาน SALTH ส่วนกลาง

ข้อมูลพื้นฐาน SALTH ส่วนกลาง Statistics อายุ ประสบการณ์การปฏิบัติงานโรค ที่รับผิดชอบ ประสบการณ์ในแผนงานSALTH   N Valid 34 33 31 Missing 1 3 Mean 40.5588 13.5455 1.1935

ข้อมูลพื้นฐาน SALTH ส่วนกลาง

ข้อมูลพื้นฐาน SALTH ส่วนกลาง

ข้อมูลพัฒนาศักยภาพบุคลากร SALTH ส่วนกลาง ความหมายเกณฑ์ความความรู้/ทักษะ น้อยที่สุด (1) = ยังไม่สามารถทำได้ตามมาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด น้อย (2) = ทำได้ตามมาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้บางส่วน ปานกลาง (3) = สามารถทำได้ตามมาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด มาก (4) = สามารถทำได้สูงกว่ามาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด มากที่สุด (5) = สามารถทำได้สูงกว่ามาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนดมาก (มาตรฐาน หมายถึง มาตรฐานโรค หรือมาตรฐานตามสมรรถนะสายวิชาชีพ หรือสายวิชาการ)

ค่าเฉลี่ยการประเมินระดับความรู้เรื่องโรค SALTH ด้วยตนเอง : การวินิจฉัยโรค

ค่าเฉลี่ยการประเมินระดับความรู้เรื่องโรค SALTH ด้วยตนเอง : การรักษาโรค

ค่าเฉลี่ยการประเมินระดับความรู้เรื่องโรค SALTH ด้วยตนเอง :การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค

ค่าเฉลี่ยการประเมินระดับความรู้ด้วยตนเองเรื่องระบาดวิทยา : การวิเคราะห์สถานการณ์โรค

ค่าเฉลี่ยความรู้เรื่องระบาดวิทยา : การแปลผลตัวชี้วัดทางระบาดวิทยา

ค่าเฉลี่ยความรู้เรื่องระบาดวิทยา : การแปลผลตัวชี้วัดทางระบาดวิทยา

ค่าเฉลี่ยการประเมินระดับความรู้ด้วยตนเองเรื่องระบาดวิทยา : ระบบระเบียนรายงาน

ค่าเฉลี่ยการประเมินทักษะการบริหารจัดการแผนงานด้วยตนเอง

ค่าเฉลี่ยการประเมินทักษะการพัฒนาวิชาการด้วยตนเอง

ค่าเฉลี่ยการประเมินทักษะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยตนเอง

ประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามต้องการพัฒนา S _ การป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง A _ ระบาดวิทยาเชิงสังคม / จริยธรรมการวิจัยในกลุ่มประชากรหลัก/ กฏหมายที่เกี่ยวข้อง L _ การสร้างพลังเครือข่าย T_ การรักษาโรค update H _ การให้คำปรึกษา / การขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ

หลักสูตรบูรณาการ SALTH หลักสูตรบริหาร การทำงาน แนวทางการพัฒนาที่ต้องการได้รับ 4 วันรายละเอียดรายโรค 1 วัน บูรณาการ SALTH หลักสูตรบูรณาการ SALTH หลักสูตรบริหาร การทำงาน ขอข้อคิดเห็นร่วม อย่างน้อย 5 ปี แบบขั้นบันได ให้รุ่นต่อๆไป งบประมาณ ???

บูรณาการงานวิจัย Cluster SALTH

บูรณาการงานวิจัย : ตอบคำถาม บูรณาการงานวิจัย : ตอบคำถาม Q : การขยายผลจากเรือนจำฝางไปที่อื่นได้ ??? A : ขณะนี้เราต้องการวิจัยสร้างระบบการดำเนินงานขึ้นมาก่อน ภายใต้ความพร้อมของฝาง เรายังไม่ไปถึงการพิสูจน์ว่าขยายได้หรือไม่ได้ ซึ่งน่าจะอยู่ในระยะถัดไป (ศุภชัย ฤกษ์งาม) Q : NCD ทำโรคอะไร ?? A : ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง ไต

บูรณาการงานวิจัย เรือนจำฝาง อยู่ระหว่างการแปลภาษาอังกฤษส่งเจนีวา เพิ่มอีก 1 พื้นที่ คือ เรือนจำจังหวัดระยอง

บูรณาการงานวิจัย : วัตถุประสงค์ บูรณาการงานวิจัย : วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบการคัดกรองโรคติดต่อ : SALTH (โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ โรคเรื้อน วัณโรค โรคตับอักเสบ) และไม่ติดต่อเรื้อรัง : NCDs (โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไตผู้ต้องขัง แรกรับ โยกย้าย ปล่อยตัว ในเรือนจำ โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะที่เป็นกระบวนการพัฒนา ดังนี้ 1. ประเมินสถานการณ์การดำเนินงานการคัดกรองผู้ต้องขังแรกรับ โยกย้าย ปล่อยตัวในเรือนจำ 2. พัฒนาระบบการคัดกรอง ผู้ต้องขัง แรกรับ โยกย้าย ปล่อยตัว ในเรือนจำ 3. นำระบบไปปฏิบัติการ และทดสอบในพื้นที่วิจัย 4 ประเมินผลการพัฒนาระบบคัดกรอง

บูรณาการงานวิจัย : สถานที่ บูรณาการงานวิจัย : สถานที่ 1. เรือนจำฝาง จังหวัดเชียงใหม่ กรมราชทัณฑ์ 2. สถานบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ที่รับผิดชอบ เรือนจำฝาง 3. เรือนจำกลางจังหวัดระยอง กรมราชทัณฑ์ 4. สถานบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ที่รับผิดชอบ เรือนจำกลางจังหวัดระยอง

บูรณาการงานวิจัย : กรอบแนวคิดารวิจัย

การทำความเข้าใจปัญหา บูรณาการงานวิจัย : กรอบแนวคิดการวิจัย การทำความเข้าใจปัญหา การศึกษาสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของผู้ต้องขังและระบบการคัดกรองที่มีอยู่ . ทบทวนเอกสารและข้อมูลที่มีอยู่ที่เกี่ยวข้องกับคัดกรองและ สุขภาพ . ทฤษฏีที่ใช้ในการเข้าใจปัญหาของระบบการคัดกรองผู้ต้องขัง ในเรือนจำ (พิจารณาแนวคิดทฤษฎีที่เจาะจงจะนำมาใช้)

ยกร่าง ระบบคัดกรองโรค บูรณาการงานวิจัย : กรอบแนวคิดการวิจัย ยกร่าง ระบบคัดกรองโรค 1. การกำหนดระบบการคัดกรองผู้ต้องขังแรกรับ โยกย้าย และปล่อยตัว (ใครทำอะไร) 1.1 โครงสร้างการคัดกรองโรค 1.2 ขั้นตอนและวิธีการทำงาน 1.3 การพัฒนาบุคลากร การปรับบทบาทหน้าที่ตามขั้นตอน วิธีการทำงานตามโครงสร้างใหม่ 2. ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและสนับสนุนการดำเนินงาน 3. พัฒนาระบบการคัดกรอง

ปฏิบัติการตามระบบการคัดกรองที่กำหนด บูรณาการงานวิจัย : กรอบแนวคิดการวิจัย ปฏิบัติการตามระบบการคัดกรองที่กำหนด 1. การดำเนินงานตามระบบการคัดกรอง 3 กลุ่ม (แรกรับ โยกย้าย ปล่อยตัว) 2. การบริหารจัดการในการพัฒนาระบบการคัดกรอง 3. การประเมินกระบวนการดำเนินงานตามระบบการคัดกรอง

การประเมินผลลัพธ์ของการพัฒนาระบบคัดกรอง ของเรือนจำ บูรณาการงานวิจัย : กรอบแนวคิดการวิจัย การประเมินผลลัพธ์ของการพัฒนาระบบคัดกรอง ของเรือนจำ สัดส่วนผู้ต้องขังแรกรับ โยกย้าย และปล่อยตัว ได้รับการคัดกรอง อย่างน้อย ร้อยละ 80 ของแต่ละกลุ่ม 2. สัดส่วนผู้ต้องขังที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบโรค / ปัจจัยเสี่ยง ได้รับการ ดูแลอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ร้อยละ 80 ของแต่ละกลุ่ม 3. ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานในเรือนจำ / โรงพยาบาลในพื้นที่รับผิดชอบ เรือนจำยอมรับระบบคัดกรองผู้ต้องขังแรกรับ โยกย้าย และปล่อยตัว ที่พัฒนาขึ้น

บูรณาการงานวิจัย : ระยะเวลา บูรณาการงานวิจัย : ระยะเวลา กิจกรรมการวิจัย ปีที่ 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ทำความเข้าใจปัญหา 2) พัฒนาระบบคัดกรอง 3) ปฏิบัติการตามระบบคัดกรองที่ พัฒนาขึ้น ปีที่ 2 4) ปฏิบัติการและปรับปรุงระบบ คัดกรอง (ต่อ) 5) วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล