(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร แผนยุทธศาสตร์ และกำกับงบประมาณ สถาบันพระบรมราช ชนก ปีงบประมาณ 2561 (Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อวิเคราะห์และออกแบบ ระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหารแผนยุทธศาสตร์และกำกับงบประมาณ สถาบัน พระบรมราชชนก (Smart Strategy Praboromarajchanok Institute :SSPI) 2. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารแผน ยุทธศาสตร์และกำกับงบประมาณ สถาบันพระบรมราช ชนก (Smart Strategy Praboromarajchanok Institute :SSPI) เป้าหมายหลัก เพื่อพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารแผน ยุทธศาสตร์และกำกับงบประมาณ สถาบันพระบรมราช ชนก (Smart Strategy Praboromarajchanok Institute :SSPI)
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารแผนยุทธศาสตร์และกำกับงบประมาณ สถาบันพระบรมราชชนก ประกอบด้วยระบบหลัก 4 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบบริหารสิทธิ์ผู้ใช้งาน (User Permission Management System) 2. ระบบกำกับงบประมาณ (Financial Technology System: FinTech) 3. ระบบบริหารแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Management System) 4. ระบบบริหารโครงการ (Project Management System)
ระยะเวลาการดำเนินโครงการทั้งหมด 240 วัน
5 เล่ม พร้อมไฟล์อิเล็กทรอนิกส์บันทึกลง Flash Drive USB จำนวน 1 ชุด สิ่งที่ได้จากการพัฒนาระบบ SSPI งวดงาน ที่ สิ่งที่จะส่งมอบ ภายในระยะเวลา (วัน) จำนวน 1 แผนการดำเนินโครงการ เอกสารแต่งตั้งทีมที่ปรึกษา เอกสารสรุปกลุ่มเป้าหมายในการจัดการเก็บข้อมูล เอกสารกำหนดช่องทางการสนับสนุนช่วยเหลือผู้ใช้งาน เอกสารสรุปกรอบการพัฒนา 4 ระบบ ดังนี้ 5.1 ระบบบริหารสิทธิ์ผู้ใช้งาน (User Permission Management System) 5.2 ระบบกำกับงบประมาณ (Financial Technology System: FinTech) 5.3 ระบบบริหารแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Management System) 5.4 ระบบบริหารโครงการ (Project Management System) 30 5 เล่ม พร้อมไฟล์อิเล็กทรอนิกส์บันทึกลง Flash Drive USB จำนวน 1 ชุด 2 ระบบบริหารสิทธิ์ผู้ใช้งาน (User Permission Management System) ระบบกำกับงบประมาณ (Financial Technology System: FinTech) ระบบบริหารแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Management System) 120 - 3 ระบบบริหารโครงการ (Project Management System) 180
5 เล่ม พร้อมไฟล์อิเล็กทรอนิกส์บันทึกลง Flash Drive USB จำนวน 1 ชุด งวดงาน ที่ สิ่งที่จะส่งมอบ ภายในระยะเวลา (วัน) จำนวน 4 รายงานระบบบริหารสิทธิ์ผู้ใช้งาน (User Permission Management System) รายงานระบบกำกับงบประมาณ (Financial Technology System: FinTech) รายงานระบบบริหารแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Management System) รายงานระบบบริหารโครงการ (Project Management System) แผนผังการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) แผนผังความสัมพันธ์ข้อมูล (Relational Data Model) แผนภาพที่แสดงการทำงานของผู้ใช้ (Use case diagram) และ คำอธิบายการทำงานของผู้ใช้ (Use case description) แผนภาพแสดงการปฏิสัมพันธ์ของ Object Class กับเวลา (Sequence diagram) แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของ class (Class diagram) แบบจำลองการอธิบายโครงสร้างของข้อมูล (ER Diagram) ระบบต้นแบบ(System Prototype) แผนภาพกิจกรรมการไหลการทำงาน (Activity Diagram) คู่มือการใช้งานระบบ (Manual) 240 5 เล่ม พร้อมไฟล์อิเล็กทรอนิกส์บันทึกลง Flash Drive USB จำนวน 1 ชุด
กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้งานระบบ 1) กลุ่มงานบุคลากรฝ่ายบริหาร สถาบันพระบรมราช ชนก 2) กลุ่มงานบุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันพระ บรมราชชนก 3) กลุ่มงานบุคลากรนโยบายและยุทธศาสตร์ สถาบัน พระบรมราชชนก 4) กลุ่มงานบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ 4 ระบบ สถาบันพระ บรมราชชนก 5) กลุ่มงานประธานเครือข่ายภาค สถาบันพระบรมราช ชนก 6) กลุ่มงานบุคลากรฝ่ายบริหารวิทยาลัยพยาบาลบรม ราชชนนี 7) กลุ่มงานบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ 4 ระบบ วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี
กรอบการวิเคราะห์และออกแบบระบบทั้ง 4 ระบบ สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้ทำการวิเคราะห์ และออกแบบระบบให้ตรงตามความต้องการโดยใช้การ วิเคราะห์ระบบ ด้วยวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC)
การวิเคราะห์ปัญหาของระบบงานเดิม ระบบแผนงานและกำกับงบประมาณระบบเดิมที่ใช้ในการบริหารจัดการแผนงาน/โครงการและควบคุมกำกับงบประมาณของสถาบันพระบรมราชชนกตามแผนปฏิบัติการ จากการวิเคราะห์ในเบื้องต้นพบว่าระบบงานเดิมนั้นไม่ตอบโจทย์ และไม่สามารถดำเนินการได้สำเร็จตรงตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทำให้ประสิทธิภาพการบริหารแผนงาน/โครงการและงบประมาณ ให้เป็นไปตามที่กำหนดได้ แบ่งเป็นประเด็นในเบื้องต้น 2 ประเด็น ดังนี้ 1. ด้านการใช้งาน (Usability) 2. ด้านการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
ด้านการใช้งาน (Usability) การใช้งานเป็นมุมของผู้ใช้งาน (End User) จะต้องมีรูปแบบการจัดทำหน้าจอให้มีความเป็นมาตรฐาน อาทิ ปุ่มกด สัญลักษณ์ การจัดวาง ระบบเดิม ระบบงานเดิมได้มีการจัดวางรูปแบบไม่สอดคล้องต่อการใช้งาน และขาดความเป็นหนึ่งเดียวของระบบ (Uniqueness of the system) ดังนั้น การออกแบบการใช้งานควรเป็นรูปแบบเดียวกันทั้งระบบไม่ควรแบ่งแยก เพราะจะทำให้ผู้ใช้เกิดความสับสนต่อการใช้งาน ดังรูปภาพตัวอย่าง ด้านล่าง ที่มิควรออกแบบระบบให้แยกส่วนกัน อีกทั้งระบบยังไม่ตอบโจทย์ตามความต้องการของกลุ่มผู้ใช้งานจริง
หน้าจอระบบจัดการแผนยุทธศาสตร์และปฏิบัติการประจำปี รูปหน้าจอข้างต้น นี่เป็นส่วนหนึ่งต่อการออกแบบระบบที่มีความหลากหลาย ทำให้ผู้ใช้ระบบเกิดความสับสนต่อการใช้งาน จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ใช้ระบบที่พัฒนาขึ้น
ด้านการใช้สัญลักษณ์ (Symbol) การพัฒนาระบบสารสนเทศ ที่ต้องใช้งานทั้งประเทศ การเลือกใช้สัญญาลักษณ์เป็นส่วนที่สำคัญต่อความเข้าใจและจดจำของผู้ใช้งาน และบ่งบอกถึงความเป็นมารตฐานของระบบพร้อมทั้งบ่งบอกของผู้พัฒนาระบบแบบมืออาชีพ ระบบเดิมระบบงานเดิมจะเลือกใช้สัญญาลักษณ์ที่มีรูปหลากหลาย หลากหลายเกินไป ไม่มีรูปแบบของสัญลักษณ์ที่ชัดเจน ยกตัวอย่าง ปุ่มเพิ่ม ปุ่มลบ ปุ่มแก้ไข ปุ่มบันทึก
การออกแบบเทคโนโลยีที่ใช้พัฒนาระบบทั้ง 4 ระบบ
การออกแบบภาพรวมระบบ
Context Diagram การออกแบบภาพรวมการทำงานของระบบที่มีความสัมพันธ์กับผู้ใช้งาน
การออกแบบ (Design Phase) เบื้องต้นทั้ง 4 ระบบ การกำหนดข้อมูลพื้นฐานของระบบบริหารสิทธิ์ผู้ใช้งาน
การกำหนดข้อมูลพื้นฐานของระบบกำกับงบประมาณ
การกำหนดข้อมูลพื้นฐานของระบบบริหารแผนยุทธศาสตร์
การกำหนดข้อมูลพื้นฐานของระบบบริหารโครงการ
การออกแบบเชิงวัตถุ (Use Case Diagram) ทั้ง 4 ระบบ
ระบบต้นแบบ (System Prototype) ทั้ง 4 ระบบ
หน้าจอข้อมูลผู้ใช้งาน
หน้าจอข้อมูลโมดูล
หน้าจอข้อมูลเมนูการใช้งาน
หน้าจอข้อมูลปีงบประมาณ
หน้าจอข้อมูลพื้นฐานงบประมาณ
หน้าจอข้อมูลพื้นฐานโครงการ
หน้าจอข้อมูลแผนยุทธศาสตร์
หน้าจอข้อมูลโครงการ
หน้าจอข้อมูลเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หน้าจอเติมเงินงบประมาณ
หน้าจอโอนเงินงบประมาณ
หน้าจอ Dashboard
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ