การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย การบริหารจัดการข้อมูล ทุกหน่วยงานใช้ข้อมูลจาก HDC ข้อมูลมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ตรงเวลา ครบถ้วน ถูกต้อง (Key ข้อมูล) มี Web application แสดงผลใน Smart Phone การบริหารงบประมาณ ภาพรวมผลการเบิกจ่ายงบดำเนินงาน ณ 30 มิ.ย.2559 = 67.36% (เป้าหมายไตรมาส 3 = 81%) การเบิกจ่ายงบดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค = 48.29% มีมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ ผลการดำเนินงาน การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย จ.พระนครศรีอยุธยา การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ ภาพรวมทุกโครงการมีการดำเนินงานไปแล้ว 50% โครงการด้านส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ดำเนินการแล้วเสร็จ 14 โครงการ จากทั้งหมด 60 โครงการ คิดเป็น 23.33 % การติดตาม กำกับ และประเมินผล มีแผนการนิเทศ ครั้งที่ 3 ในช่วง กลางเดือนสิงหาคม มีการกำกับติดตามและเร่งรัดการ ดำเนินงานทุกเดือน ชื่นชม ประสบความสำเร็จในการทำ MOU กับ อปท. ในการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก อัตราส่วนมารดาตาย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน เขตสุขภาพที่ 4 การพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก เป้าหมาย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ANC ครบ 5 ครั้ง > 60% ANC < 12 wk. > 60% ภาวะโลหิตจาง < 18% หญิงตั้งครรภ์ ทารก LBW < 7% อัตรา ผลการดำเนินงาน ANC < 12 wk. 45.42% (41.29% ปี 58) ANC ครบ 5 ครั้ง 44.96% (62.64% ปี 58) ภาวะโลหิตจาง12.95% (35.42% ปี58) LBW (<2,500 g.)9.46% (8.49% ปี 58) ที่มา : รายงานการนิเทศงานรอบ 2 สำนักตรวจประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2559 (ต.ค.58 – พ.ค.59) สาเหตุการตายมารดา จ. พระนครศรีอยุธยา ปีงบประมาณ จำนวน Direct Indirect 2558 1 (Splenic vessel tear) 2559 ( 8 เดือน) 2 (Sepsis c Retained Placenta) (Lung Infection) ทารกคลอดมีชีพ ปี 2558 จำนวน 7,881 ราย ปี 2559 (8 เดือน) จำนวน 5,073 ราย แหล่งข้อมูล : สสจ.พระนครศรีอยุธยา รอบ8เดือน ปี 2559 (ต.ค. – พ.ค. 2559)
เป้าหมาย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (Pre-term LBW ) Quick Win ลูกเติบโตพัฒนาการสมวัย เกิดรอด ปลอดภัย พ่อแม่คุณภาพ ร้อยละ 71.56 (เป้าหมาย ร้อยละ 40) เป้าหมาย Anemia <18 % MMR < 15 : แสนการเกิดมีชีพ ANC คุณภาพ> 60% LBW < 7 % ผลงาน 39.8 45.42 12.95 9.46 ระบบบริหารจัดการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก การจัดระบบข้อมูลมารดาตาย ระบบบริการที่มีคุณภาพ การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงของมารดา MCH Board จ.พระนครศรีอยุธยา เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดทำ CPG ระดับจังหวัด การจัด Zoning รพ.พระนครศรีอยุธยา/รพ.เสนา พัฒนาศักยภาพ Node รพ.บางปะอิน การส่งต่อ High Risk โซนนิ่งผู้เชี่ยวชาญLR FAST TRACK (รพ.พระนครศรีอยุธยา) จ.พระนครศรีอยุธยา การดูแลและป้องกันการเจ็บครรภ์ คลอดก่อนกำหนด (Pre-term LBW ) ประกาศใช้ CPG หญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน (5เม.ย.59) ANC LR คุณภาพ สรุปรายงานที่ประชุม MCH Board High Risk Pregnancy เยี่ยมเสริมพลัง ประเมินมาตรฐานคุณภาพแบบไขว้ Conference Case / มาตรการแก้ไขปัญหา Screening at first Visit ANC พัฒนาคุณภาพบุคลากร/บูรณาการงานHA MCH Board เขตสุขภาพที่ 4 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practice ระดับเขต ข้อมูลสืบสวนการตายมารดา ปี 2558 - 2559 สถานบริการสาธารณสุข ผ่านการรับรองมาตรฐาน Quick Win สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ระบบ DHS / ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
กลุ่มสตรี ชื่นชม Best Practice โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ ทีมนิเทศ MCH Board พัฒนารูปแบบการเยี่ยม เสริมพลัง ประเมินคุณภาพ ระบบบริการ รพ. มาตรฐานอนามัยแม่และ เด็ก แบบจับฉลากไขว้ทีม (คิดใหม่ ทำใหม่) การนิเทศติดตาม การ พัฒนากิจกรรมโรงเรียน พ่อแม่ (พ่อแม่คุณภาพ) จัดทำคะแนนประเมิน ประสิทธิผลได้ครอบคลุม ทุกรพ. ภาพรวมร้อยละ 71.56 และมีผลงานสูงสุด 3 ลำดับแรกคือ รพ.บางปะอิน (ร้อยละ90.) รพ.บางบาล (ร้อยละ90) รพ.พระนครศรีอยุธยา (ร้อยละ85.5) การบริหารจัดการไลน์กลุ่ม เพื่อส่งต่อการดูแลมารดาหลังคลอด การพัฒนาคุณภาพงานคลินิกฝากครรภ์ เพื่อส่งเสริมภาวะ โภชนาการมารดากลุ่มเสี่ยง ภาวะโลหิตจาง การพัฒนาระบบส่งต่อมารดาที่มีภาวะเสี่ยงสูงด้วยระบบLR FAST TRACK (รับส่งฉับไว เข้าใจตรงกัน) การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเชิงรุกให้เข้าถึงกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในสถานประกอบการ และกลุ่มปกปิดการตั้งครรภ์ ขยายแนวคิดการส่งเสริมภาวะโภชนาการในมารดากลุ่มเสี่ยงภาวะโลหิตจาง และน้ำหนักน้อย การเยี่ยมหลังคลอดโดยพยาบาลวิชาชีพ และตรวจประเมินร่างกายมารดาหลังคลอดตามมาตรฐาน CPG พัฒนา CPG การดูแลมารดาหลังคลอดให้Update ต่อปัญหาภาวะสุขภาพมารดาในปัจจุบัน สร้างการมีส่วนร่วม และบันทึกข้อตกลงกับเจ้าของสถานประกอบการในการสนับสนุนการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพสตรีในสถานประกอบการเข้าถึงบริการคุณภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรรพช. / รพ.สต.ในการให้คำปรึกษา และส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขระดับ รพ.สต. เน้นการเยี่ยมมารดาหลังคลอด และปฏิบัติตามCPG อย่างเคร่งครัด
สถานการณ์พัฒนาการเด็ก ร้อยละของเด็กปฐมวัยอายุ 9,18,30,42 เดือน ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า (ภาพรวมประเทศ และเขตบริการสุขภาพที่ 4) ร้อยละของเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า จ.พระนครศรีอยุธยา ร้อยละ ร้อยละ กลุ่มอายุ ที่มา :โปรแกรม Thai Child Development 8 เดือน (1ต.ค.58 – 31 พ.ค.59) ร้อยละของเด็กปฐมวัยอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ที่ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และพัฒนาการสมวัยหลัง 1 เดือน ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ พัฒนาการสมวัย หลังกระตุ้น 1 เดือน ล่าช้า ส่งต่อเข้าระบบ รอบ 1 100% (501/501 คน) 91.9% (216/ 235 คน * ) (19/19 คน) ที่มา : โปรแกรม Thai Child Development ปี 2558 ที่มา : ข้อมูลตรวจราชการรอบ 1/2559 ร้อยละของเด็กปฐมวัยอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน พัฒนาการสมวัย : จ.พระนครศรีอยุธยา ความครอบคลุมร้อยละ 82.67 ร้อยละ ค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ที่มา : โปรแกรม Thai Child Development 8 เดือน (1ต.ค.58 – 31 พ.ค.59)
สถานการณ์การเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย ค่าเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 48 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ภาพรวมประเทศ และเขตสุขภาพ ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี รูปร่างดีสมส่วน เขตสุขภาพที่ 4 (รายจังหวัด) ร้อยละ ร้อยละ ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ไตรมาส 1 /2559 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ไตรมาส 1 /2559 ร้อยละของเด็ก 0 - 5 ปี รูปร่างดีสมส่วน : จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (รายอำเภอ) ร้อยละ ความครอบคลุมร้อยละ 45 ที่มา : แหล่งข้อมูล HDC ไตรมาส 1/2559 ไตรมาส 2/2559 ไตรมาส 3/2559
กลุ่มเด็กปฐมวัย ชื่นชม โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ 1. รพ.พระนครศรีอยุธยา 1. รพ.พระนครศรีอยุธยา กุมารแพทย์พัฒนาการเด็กที่มีบทบาทสำคัญในการวางแผนและจัดระบบการดูแลพัฒนาการเด็กของจังหวัด ขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทำระบบ Fast track ในการรับการส่งต่อจาก รพช. 2. รพ.เสนา มีการดำเนินงานกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้งในเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าและเด็กพิเศษ โดยความร่วมมือกับศูนย์การศึกษาพิเศษ ของกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เฉพาะความพิการ มีกุมารแพทย์เป็นผู้ดูแลการทำงาน มีพยาบาลเฉพาะทางด้านจิตเวชเด็กฯ ครูการศึกษาพิเศษ ดูแลเด็กทั้งในคลินิก และในหอผู้ป่วยเด็กที่ป่วยเรื้อรัง บุคลากรในสาธารณสุข ใน รพช.บางแห่งยังขาด ทักษะ เทคนิค และความ มั่นใจ ในการแจ้งผลการ ประเมินพัฒนาการเด็ก ในกรณีสงสัยล่าช้า ควรสนับสนุนให้มี พยาบาลเฉพาะทางด้านพัฒนาการเด็ก/สุขภาพจิตเด็ก ประจำ รพช.ทุกแห่ง มี 4 แห่ง คือ รพ.พระนครศรีอยุธยา รพ.เสนา รพ.บางบาล รพ.บางไทร
สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน ประเทศ และเขตสุขภาพ ร้อยละ เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10 เขตสุขภาพที่ 4 และรายจังหวัด ร้อยละ แหล่งข้อมูล : ระบบรายงาน HDC ณ วันที่ 3 มิ.ย. 2559 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
ร้อยละความครอบคลุม เด็กที่ได้รับการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เทอม 1/2558 เทอม 2/2558 1/2559 ร้อยละเด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10 ร้อยละ เทอม 1/2558 เทอม 2/2558 เทอม 1/2559 แหล่งข้อมูล : ระบบรายงาน HDC ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2559 ร้อยละโรงเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 10 ร้อยละ แหล่งข้อมูล :รายงานของสสจ. พระนครศรีอยุธยา ณ วันที่ 3 มิ.ย.59
ข้อสังเกต โรงเรียน ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ร.ร.วัดเกาะเลิ่ง อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา ร.ร.แสงทวีป อ.ท่าเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 10 โรงเรียน อบรม SKC ครู ค เครื่องชั่งน้ำหนัก+ส่วนสูงได้มาตรฐาน ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง เทอมละ 1 ครั้ง มิ.ย., พ.ย. เครื่องชั่งน้ำหนัก+ส่วนสูงได้มาตรฐาน แปลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ของกรมอนามัย แปลผลโดยวิธีเทียบกราฟ แปลผล โรงเรียน +ผู้ปกครอง ให้ความรู้ครูโภชนาการ เช่น การตักอาหาร ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ติดตาม นำข้อมูลมาวิเคราะห์ นำผลที่ได้จากการชั่งนน.+สส. มาวิเคราะห์ ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/อปท. จัดการเรียนการสอน เรื่อง โภชนาการรายชั้น ทุกชั้น แจ้งผล เทอมละ 1 ครั้ง ก.ค., ธ.ค. ให้คำแนะนำ/ปรึกษา จัดเมนูผักเพิ่มในเด็กอนุบาล ออกกำลังกายสำหรับทุกคน ทุกวัน(ตอนเช้า) ในเด็กกลุ่มเสี่ยงจะมีการออกกำลังกาย ทุกวันอังคาร ดำเนินการส่งเสริม/แก้ไข อาหารในโรงเรียน/บ้าน ออกกำลังกาย -ออกกำลังกาย -โครงการอาหารกลางวัน ส่งต่อเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยงให้ สถานบริการสาธารณสุข ชุมชน อาหาร รอบรั้วร.ร./ชุมชน
ชื่นชม โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ การดำเนินงานแก้ไขภาวะอ้วนเด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การดำเนินการ มี PM ในการจัดการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ระดับจังหวัด(สาธารณสุข) มีแผนการแก้ไขปัญหาแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน (Smart Kids Coacher: SKC) มีสถานการณ์เด็กอ้วน/ข้อมูลโรงเรียนที่มีเด็กอ้วนเกิน ร้อยละ 10 ครู ก (จังหวัด/รพท.) พัฒนา/ถ่ายทอดจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher: SKC) ครู ข/ค สนับสนุนคู่มือ/เอกสาร/มาตรฐานต่างๆ แก่พื้นที่ เช่น การแนวทางการคัดกรองและส่งต่อเด็กอ้วน ,คู่มือโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลงาน บุคลากรที่เป็น ครู ก (สสจ./รพท.) ,ครู ข (รพช./สสอ/รพ.สต./เทศบาล/ศูนย์แพทย์= 41 แห่ง), ครู ค (ครู =79 แห่ง ) ครู ค ที่ต้องอบรมเพิ่มเติมอีก 134 แห่ง (อ.นครหลวง,วังน้อย,บางไทร, บางปะหัน, ผักไห่,บ้านแพรก, บางซ้าย) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 5 แห่ง (ปี 51 - 58 อ.พระนครศรีอยุธยา= 1 แห่ง ,อ.บางบาล= 2 แห่ง, อ.บางปะอิน = 1 แห่ง,อ.วังน้อย= 1 แห่ง ปี 59 อ.พระนครศรีอยุธยา= 1 แห่ง รอส่งเอกสาร) ชื่นชม โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ อำเภอลาดบัวหลวง องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น(เทศบาลลาดบัวหลวง)ให้ ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสนับสนุน งบประมาณในการจัดโครงการแก้ไขปัญหา ลดภาวะอ้วนในเด็ก ปี 2559 อำเภอพระนครศรีอยุธยามีการจัดทำ โครงการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนอย่างต่อเนื่อง และมีการคืนข้อมูลให้กับผู้บริหารโรงเรียน ปี 2558-2559 ขาดข้อมูลด้านพฤติกรรมหรือ สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เด็กอ้วน เพื่อ การวางแผนแก้ไข ขาดจุดเน้นด้านโภชนาการและการ ออกกำลังกายในกระบวนการ จัดการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ขาดระบบส่งต่อเด็กอ้วนสู่สถาน บริการสาธารณสุข ขาดแผนการติดตาม SKC การคืนข้อมูลแก่ภาคีเครือข่าย อปท.และผู้บริหารโรงเรียน เพื่อสร้างความตระหนัก การบูรณาการร่วมกับเครือข่ายในการติดตาม/กำกับ การ จัดการอาหารในโรงเรียน/สหกรณ์และติดตามการใช้ เครื่องมือและวิธีการวัดส่วนสูง ของโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน เพิ่มความครอบคลุมของการเฝ้าระวัง และการตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกข้อมูล HDC เพิ่มการขับเคลื่อนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เร่งรัดการดำเนินงาน SKC ในระดับพื้นที่ (ครู ข ครู ค )
พระนครศรีอยุธยา พื้นเสี่ยงน้อย เกณฑ์ : มีทีมผู้ก่อการดี กลุ่มวัยเรียน เป้าหมาย อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5/แสนประชากรเด็กอายุ <15 ปี ประเด็นการติดตาม อัตราการเสียชีวิต และ มีการสร้างทีมผู้ก่อการดีที่สมัครใจดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ เป้าหมายเขต 4 อัตราการเสียชีวิต ไม่เกิน 3.7 /แสนประชากรเด็กอายุ <15 ปี (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ≤ 4 ราย) ปี 2555 เสียชีวิต 11 ราย อำเภอลาดบัวหลวง(3ราย) พระนครศรีอยุธยา/บางซ้าย(2ราย) บางปะอิน/วังน้อย/ภาชี/นครหลวง (1ราย) ปี 2556 เสียชีวิต 9 ราย อำเภอบางปะอิน/เสนา (2ราย) พระนครศรีอยุธยา/นครหลวง/ บางไทร/ผักไห่/อุทัย (1ราย) ปี 2557 เสียชีวิต 2 ราย อำเภอพระนครศรีอยุธยา/วังน้อย (1ราย) ปี 2558 เสียชีวิต 10 ราย อำเภอบางบาล/ผักไห่ (2 ราย)พระนครศรีอยุธยา/อุทัย/เสนา/ ลาดบัวหลวง/ท่าเรือ/บ้านแพรก (1ราย) ปี 2559 ไม่พบผู้เสียชีวิต พระนครศรีอยุธยา พื้นเสี่ยงน้อย เกณฑ์ : มีทีมผู้ก่อการดี อย่างน้อย = 1 ทีม ผลการดำเนินงานมีผู้สมัคร 1 ทีม คือ อบต.บ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา (ผ่านประเมินระดับทองแดง) จุดเด่น โอกาสพัฒนา ควรมีการสร้างทีมผู้ก่อการดีเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยง อบต.บ้านป้อม เป็นหัวหน้ากู้ภัยทางน้ำจังหวัด
ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี(ไม่เกินร้อยละ 10) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1000 คน) กลุ่มวัยรุ่น ต่อพัน 50 ต่อพัน อัตราต่อพัน ประเทศ 47.9 เขต 4 49.4 พระนครศรีอยุธยา 57.3 สำนักอนามัยเจริญพันธ์ ปี 2557 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี(ไม่เกินร้อยละ 10) ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในประชากรอายุ 15-19 ปี ประเทศ ปี 2557 = 51.5% (BSS กรม คร.) 10% พระนครศรีอยุธยา NA ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ตรวจราชการที่มุ่งเน้น กลุ่มวัยรุ่น ชื่นชม มีทีมงานเข้มแข็งทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการดูแลนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา (โรงเรียนบางปะหัน) ประเด็น ตรวจราชการที่มุ่งเน้น สิ่งที่พบ ข้อเสนอแนะ ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager) ขับเคลื่อนงานผ่าน TO BE NUMBER ONE /ผ่านอำเภออนามัยเจริญพันธ์ มีการพัฒนาทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น ภายใต้ พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี2559 ระบบเชื่อมโยงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (OHOS) โรงเรียนคู่เครือข่าย(OHOS) และโรงเรียนคู่เครือข่าย โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส สอนหลักสูตรเพศศึกษา ทักษะชีวิต ทักษะปฏิเสธ 16 อำเภอ 19 แห่ง พัฒนางานและช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการตั้งครรภ์ซ้ำ ทุก รพช. มีทีมงานดูแลการคุมกำเนิดในวัยรุ่นผ่าน MCH Board ขยายผลระบบการป้องกันการตั้งครรภ์ทั้งในและระบบสถานศึกษา ทบทวนระบบฐานข้อมูลการตั้งครรภ์และตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น การติดตามประเมินผล การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น มีทีมตรวจเตือนร้านค้า มีการตรวจเตือนบังคับใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอกอฮอล์โดยมีการเน้นช่วงเทศกาล สร้างการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษา/ชุมชนในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่ระบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพิ่มทักษะบุคลากรในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและการช่วยเหลือเบื้องต้น
กลุ่มวัยทำงาน อัตราตายจากการจราจรทางถนนในปี 59 เป้าหมาย : ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน (จ.พระนครศรีอยุธยา≤ 128 ราย) อัตราตายต่อแสน สถานการณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ปี 2557 = 164 คน (20.54 ต่อแสนประชากร) ปี 2558 = 237 คน (29.48 ต่อแสนประชากร) ปี 2559* = 187 คน (23.12 ต่อแสนประชากร) (*ต.ค.58 – มี.ค.59) เปรียบเทียบการเสียชีวิตช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2558 = บาดเจ็บ 486 ราย ตาย 6 ราย ปี 2559 = บาดเจ็บ 481 ราย ตาย 4 ราย แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธ์ศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เดือนตุลาคม-มีนาคม ปี พ.ศ.2559 จุดเด่น -มีคณะกรรมการ ศปถ. ทั้งระดับจังหวัด และอำเภอ -มีการใช้มาตรการองค์กรอย่างเคร่งครัด 1.การรณรงค์สวมหมวกนิรภัย 83% 2.อบรม Safety ambulance ทุกคน ไม่พบอุบัติเหตุ ด่านชุมชน 18 ด่าน ดำเนินการเฉพาะช่วงเทศกาล ดำเนินการร่วมกับศูนย์สร่างเมา จุดเสี่ยง รายอำเภอ 80 จุด แก้ไข 73 จุด ร้อยละ 91.25 ชื่นชม การแก้ไข - เพิ่มไฟส่องสว่าง - สัญญาณไฟกระพริบ - ติดป้ายเตือน - ตีเส้นสะดุ้ง - ปรับภูมิทัศน์ เพิ่มแสงสว่าง จุดเสี่ยงอำเภอวังน้อย (ถนนพหลโยธิน) ไม่พบอุบัติเหตุเพิ่ม จุดเสี่ยงอำเภอบางปะหัน อุบัติเหตุลดลง เนื่องจาก... ความเข้มแข็งของคณะกรรมการ ศปถ.ระดับอำเภอ
อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในปี 2562 กลุ่มวัยทำงาน โรคไม่ติดต่อ อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในปี 2562 เป้าหมาย อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจ จ.พระนครศรีอยุธยา ปี 2559 ≤ 51.95 ต่อแสนฯ ประเด็นการติดตาม ลดพฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยง 2. พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด เป้า หมาย สถานะ 1. ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี 40% 29.21% 2. ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดี 50% 24.19% 3.คัดกรอง CKD 80 % 78.16% 4.ประเมิน CVD risk 70 % 82.30% 5.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูง 100% 6.คลินิก NCD คุณภาพ ผ่านเกณฑ์ จุดเด่น ตำบลจัดการสุขภาพ, ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค, การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ, นโยบายสาธารณะ/มาตรการสังคม/พันธะสัญญา เป้าหมายปี 2559 อัตราตายปี 2559 (ณ มิ.ย.) 51.95 32.10
กลุ่มวัยสูงอายุ สัดส่วนประชากรสูงอายุ ร้อยละ ร้อยละ แหล่งข้อมูล : ระบบรายงาน HDC 2558 2559 ร้อยละผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง (ไม่เกินร้อยละ 15) ปี 59 คัดกรอง ADL ทั้งจังหวัด ครอบคลุม ร้อยละ 87.19 กลุ่มพึ่งพิง ปี 2558 กลุ่มพึ่งพิง ปี 2559 กลุ่มพึ่งพิงมีแนวโน้ม โดยเฉพาะกลุ่มติดบ้าน (4% 12%) 1 ร้อยละ ความครอบคลุมเพิ่มขึ้น กลุ่มติดสังคม ติดบ้าน กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 2 1 ความครอบคลุมเพิ่มขึ้น กลุ่มติดสังคม คัดกรองครอบคลุม จาก ร้อยละ 58.01 เป็น 94.61 กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 แหล่งข้อมูล : สสจ.พระนครศรีอยุธยา (มิ.ย. 2558 และ ก.ค.2559) 2 จำนวน (แห่ง) เป้าหมาย (แห่ง) ผลงาน (แห่ง) ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 40) แหล่งข้อมูล : สสจ.พระนครศรีอยุธยา ก.ค.2559 ร้อยละ 76.19 100 33.33 60
ชื่นชม : โอกาสของการพัฒนา : ข้อเสนอแนะ : ผลการดำเนินงานการอบรม CM/CG ชื่นชม : เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ สำนักงาน สาธารณสุขระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ เห็น ความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีการ วางแผนการขับเคลื่อนงานและขยายเป้าหมายการดำเนินงาน ให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด สามารถบูรณาการงานผู้สูงอายุได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสิงหนาท 2 อำเภอลาดบัวหลวง มีการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่ มี อปท. ร่วมขับเคลื่อน โดยมีหน่วยงานสาธารณสุขเป็นผู้สนับสนุน เป็นตัวอย่างของการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนมีส่วนร่วม โอกาสของการพัฒนา : - สัดส่วน CG บางพื้นที่ไม่เพียงพอในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (อ.พระนครศรีอยุธยา และ อ.บางปะอิน) ข้อเสนอแนะ : - อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CG) ในพื้นที่ที่มีสัดส่วนไม่เพียงพอ - ส่งเสริมกิจกรรมในกลุ่มติดสังคม (92.68%) เช่น ชมรมผู้สูงอายุ/วัดส่งเสริมสุขภาพ - เฝ้าระวังพื้นที่ที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงเพิ่มขึ้น *อำเภอบางซ้าย* พื้นที่ CM (1 : 40) CG (1 : 10) เป้าหมาย ผลงาน จังหวัด 43 ตำบล ปี 58 ปี 59 42 ตำบล 58 สสจ. - 1 พระนครศรีอยุธยา 28 5 109 18 ท่าเรือ 13 3 52 11 30 48 นครหลวง 51 45 บางไทร 16 2 63 6 38 บางบาล 8 4 32 บางปะอิน 42 บางปะหัน 19 36 24 ผักไห่ 9 7 69 ภาชี 40 10 ลาดบัวหลวง 27 วังน้อย 43 20 เสนา 35 137 80 บางซ้าย 12 47 อุทัย 33 มหาราช 53 บ้านแพรก รวม 215 25 802 153 175 495 เพิ่มสัดส่วน CG -- พื้นที่เป้าหมายส่วนใหญ่มี CM,CG กระจายครอบคลุมอยู่ในพื้นที่ --
การดำเนินงานกลุ่มวัยสูงอายุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คัดกรอง (ADL) ครอบคลุม ร้อยละ 87.19 กลุ่มติดบ้าน (ร้อยละ 6.15) กลุ่มพึ่งพิง (ร้อยละ 7.32) กลุ่มติดสังคม (ร้อยละ 92.68) กลุ่มติดเตียง (ร้อยละ 1.17) ตำบลการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ตรวจและคัดกรองปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและ Geriatric Syndromes ส่งเสริมการเข้าสังคมอย่างมีส่วนร่วม เช่น การดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุตำบลลาดชิด อ.ผักไห่/ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสิงหนาท2 อ.ลาดบัวหลวง การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ โดยการดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ เช่น วัดไก่จ้น, วัดแดง อ.ท่าเรือ/วัดขนอนใต้, วัดธรรมนาวา อ.บางปะอิน เป็นต้น กลุ่มติดสังคมร่วมดูแลกลุ่มพึ่งพิง พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อตรวจและคัดกรอง ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและ Geriatric Syndromes อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ (CG) วางแผนให้การดูแลที่บ้าน โดยทีม HHC/FCT/CM บริการด้านสังคม การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน บริการ อุปกรณ์ช่วยเหลือส่งเสริมการร่วมกิจกรรมนอกบ้าน เครือข่าย อปท. ในพื้นที่ พัฒนาความสามารถ การดำเนิน กิจวัตรประจำวัน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม ยืดระยะเวลาเจ็บป่วยและเข้าสู่ภาวะพึ่งพิง และลดการเจ็บป่วยซ้ำซ้อน ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันดีขึ้น / Active Aging / 80 ปียังแจ๋ว
ผู้ว่าฯ และ นพ.สสจ ให้ความสำคัญ ระบบควบคุมโรค เป้าหมาย:ร้อยละ 50 ของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญ ของพื้นที่ได้ (ไข้เลือดออก) ชื่นชม อัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออก รายจังหวัด เขตสุขภาพที่ 4 ปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 58-กรกฎาคม 59) ไตรมาส 3 ผู้ว่าฯ และ นพ.สสจ ให้ความสำคัญ จุดเด่น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 1. บริหารจัดการโดยคณะกรรมการ 5 ด้าน 2. เร่งรัดมาตรการ 3 3 1 5 3. นโยบาย 5 ส. 3 เก็บ ในสถานที่ ราชการ เสนอ ผู้ว่าฯ ทุกเดือน 4. การสุ่มตรวจลูกน้ำทุกเดือน ผลการดำเนินงานควบคุมได้ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานควบคุมได้ร้อยละ 56.25 ผลการดำเนินงานควบคุมได้ร้อยละ 93.75