โรคจิตเภท และโรคจิตที่สำคัญ พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561
อาการสำคัญ ไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง (out of reality) หลงผิด (Delusion) ประสาทหลอน (Hallucination) Disorganized thinking and speech (ไม่สามารถรวมความคิดให้เป็นไปในทางเดียวกันได้/สื่อสารไม่รู้เรื่อง) Disorganized / Abnormal behavior Negative symptom
โรคจิตที่สำคัญ โรคจิตเภท ( Schizophrenia) โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder) Schizoaffective disorder Brief psychotic disorder
สาเหตุ ปัจจัยด้านชีวภาพ 1. พันธุกรรม 2. dopamine hypothesis 3. กายวิภาคสมอง มีเนื้อสมองน้อยในส่วน cortical gray matter และ ventricle โตกว่าปกติ 4. ประสาทสรีรวิทยา มี cerebral blood flow และ glucose metabolism ลดลงในบริเวณ frontal lobe
ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจิตเภทในเครือญาติ ความสัมพันธ์ ความเสี่ยง (%) ประชากรทั่วไป 1.0 พี่น้องของผู้ป่วย 8.0 ลูกที่พ่อหรือแม่ป่วย 12.0 คู่แฝดของผู้ป่วย (ไข่คนละใบ) 12.0 ลูกที่พ่อและแม่ป่วย 40.0 คู่แฝดของผู้ป่วย (ไข่ใบเดียวกัน) 47.0
สาเหตุ ปัจจัยด้านครอบครัวและสังคม 1. การเลี้ยงดูแบบ high expressed-emotional (criticism,hostility,overinvolvement) 2. เศรษฐานะที่ต่ำ
ลักษณะอาการทางคลินิก 1. กลุ่มอาการด้านบวก (Positive symptoms) Delusion Hallucination Disorganized thinking and behavior 2. กลุ่มอาการด้านลบ Affective flattening Avolition (ขาดความกระตือรือร้น,เฉื่อยชา,ไม่สนโลก)
ลักษณะอาการทางคลินิก 3. กลุ่มอาการด้าน cognitive สมาธิแย่ลง ความจำแย่ลง 4. กลุ่มอาการด้านอารมณ์ หงุดหงิด ก้าวร้าว หุนหันพลันแล่น ซึมเศร้า 5. อื่นๆ เช่น การเคลื่อนไหว, สังคม.กิจวัตรประจำวัน
เกณฑ์การวินิจฉัย A มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไปนาน 1 เดือน โดยอย่างน้อยต้องมีอาการในข้อ 1-3 อยู่ 1 อาการ 1. delusion 2. hallucination 3. Disorganized speech 4.Grossly disorganized behavior / catatonic behavior 5. negative symptoms B ความสามารถด้านสำคัญลดลงไปอย่างชัดเจนอย่างน้อย 1 ด้าน C. มีอาการนานอย่างน้อย 6 เดือน โดยมีอาการช่วง active phase อย่างน้อย 1 เดือน D ไม่ได้เกิดจากโรคอื่นๆ / ยา
การรักษา 1. ยา 2. การรักษาด้วยไฟฟ้า (ECT) 3. การรักษาด้านจิตสังคม จิตบำบัด การให้คำปรึกษาครอบครัว กลุ่มบำบัด 4. นิเวศน์บำบัด
อาการข้างเคียงที่พบบ่อยจากยาต้านโรคจิต Extrapyramidal symptom (EPS) Acute dystonia คอแข็ง ลิ้นแข็ง กล้ามเนื้อแข็ง ภาวะนี้รักษาโดยการใช้ยา anticholinergi เช่นtrihexyphyphenidyl (Artane) 4-6 mg/day Tardive dyskinesia เกิดภายหลังได้รับยาในระยะยาว (4 เดือนถึง1ปี) พบได้ 20-40%ของผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม typical ถ้าตรวจพบควรรีบหยุดยาทันที อาการอาจหายไปเมื่อหยุดยาหรืออาจเป็นถาวรก็ได้ Acute akathesia อยู่นิ่งไม่ได้ ต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา เดินไปมา ผุดลุกผุดนั่งตลอดเวลา
อาการข้างเคียงที่พบบ่อยจากยาต้านโรคจิต Extrapyramidal symptom (EPS) Drug induced parkinsonism เดินก้าวสั้น แกว่งแขวนน้อย เริ่มเคลื่อนไหวลำบาก เช่น เริ่มลุกจากเก้าอี้ สั่น กล้ามเนื้อแข็งแรงเกร็งและเคลื่อนไหวช้า หน้าไม่ยิ้มหรือแสดงความรู้สึกเหมือนใส่หน้ากาก ( mask-like face ) Neuroleptic malignant syndrome มีอาการกล้ามเนื้อแข็ง(muscle rigidity)ไข้สูงมากความดันเลือดสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ และภาวะจิตใจเปลี่ยนแปลง
อาการข้างเคียงที่พบบ่อยจากยาต้านโรคจิต อื่นๆ : ง่วงซึม หน้ามืดบ่อย ความดันโลหิตต่ำ น้ำนมไหล ตาแห้ง ปากแห้ง ปัสสาวะคั่ง ท้องผูก ตาพร่า ยา clozapine อาจทำให้เม็ดเลือดขาวต่ำ ,เกิด metabolic syndrome ,น้ำหนักตัวเพิ่ม
Delusional disorder ผู้ป่วยมีอาการหลงผิดเป็นหลัก นานอย่างน้อย 1 เดือน ผู้ป่วยมีอาการหลงผิดเป็นหลัก นานอย่างน้อย 1 เดือน เนื้อหาความหลงผิดมักเชื่อมโยงกัน การพูดจา ท่าทางดูปกติ ไม่มีพฤติกรรมแปลกๆ การทำหน้าที่ส่วนใหญ่ยังปกติ ยกเว้นที่เกี่ยวกับอาการหลงผิด
Q & A