ทีมเยี่ยมเสริมพลัง คปสอ.เขาสมิง วันพุธที่ 3 พ.ค. 60

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื้อรังร่างกาย  หัวใจแข็งแรง สอ. วิหาร ขาว สอน. พิกุล ทอง สอ. ถอน สมอ.
Advertisements

การพัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศด้านทันตสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
Risk Management System
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
Change 59 Road Map “เปลี่ยน...เพื่อสิ่งที่ดีกว่า” แนวทางการปฏิบัติงาน
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
พระพุทธศาสนา.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
สอนอย่างมืออาชีพ หยุดยั้งพฤติกรรมเสี่ยง
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
พว.พิมพ์วรา อัครเธียรสิน
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีมเยี่ยมเสริมพลัง คปสอ.เขาสมิง วันพุธที่ 3 พ.ค. 60 ชื่นชมและร่วมนับดาว รพ.สต. บ้านธรรมชาติล่าง อ.แหลบงอบ จ. ตราด

รพ.สต. บ้านธรรมชาติล่าง อ.แหลบงอบ จ.ตราด 1 หมู่บ้าน ประชากร 1,266 คน อัตรากำลัง 3 คน /ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ๔ โรค ได้แก่ ๑)โรคเบาหวาน ๒) โรคความดันโลหิตสูง/ ๓) ภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ ๔) โรคไข้เลือดออก

การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล รพ.สต.ติดดาว

รายชื่อผู้เยี่ยม จ.ตราด เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว รายชื่อผู้เยี่ยม จ.ตราด หน่วยงาน หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี (ข้อ 1.1-1.2) หมวด 1 ข้อ 1.3 การเงินฯ หมวด 1 ข้อ 1.3.2 อาคารฯ สภาพแวดล้อม หมวด 1 การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ (IC) หมวด 1 มาตรฐานห้องปฏิบัติการฯ (LAB) หมวด 1 เภสัชกรรม/คุ้มครองผู้บริโภค 1.นายธเนศ ภัทรวรินกุล 2. นางพินิดา ชลจิตร์นาวา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 3. น.ส.นางสมหมาย สมตระกูล จพ.สาธารณสุขชำนาญงาน 4. นางปนัดดา ทองแท้ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ 5. น.ส.อลิสา ใหญ่ยอด 6. นายสันติ อุยนันทพิทักษ์ นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการ 7. น.ส.เตือนใจ ธนาพาณิชย์ เภสัชกรรมปฏิบัติการ 8.นางวริศรา จุลเจริญ นวก.สาธารณสุขชำนาญการ สาธารณสุขอำเภอเขาสมิง กลุ่มงานพัฒนายุทธฯ / รพ.เขาสมิง สสอ.เขาสมิง กลุ่มงานบริหารงานฯ/ รพ.เขาสมิง กลุ่มการพยาบาล/ หัวหน้ากลุ่มงาน LAB หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม

รายชื่อผู้เยี่ยม จ.ตราด เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว รายชื่อผู้เยี่ยม จ.ตราด หน่วยงาน หมวด 1 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ หมวด 2 การให้ความสำคัญกับประชากรกลุ่มเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 4 การจัดบริการครอบคลุม ทุกกลุ่มวัย หมวด 5 ผลลัพธ์ 7. นายอนุชา อาชีวะ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8. นายจักรพงษ์ ภุชงค์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 9. นายวิลเลี่ยม ขันธุวาร จพ.สาธารณสุขชำนาญงาน ๙. นางปนัดดา ทองแท้ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ 10. นางสมหมาย สมตระกูล 11.นายสิทธิพงษ์ หงส์สุทธิพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 12. นางพินิดา ชลจิตร์นาวา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ สสอ.เขาสมิง รพ.เขาสมิง กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป/ รพ.เขาสมิง(ซ้ำหมวด 1) กลุ่มงานเวชฯ กลุ่มงานพัฒนายุทธฯ / รพ.เขาสมิง

การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล รพ.สต.ติดดาว สรุปผลการเยี่ยมเสริมพลัง รพ.บ้านธรรมชาติล่าง องแหลมงอบ จ.ตราด ระบบการบริหาร : มีระบบการนำองค์กรที่ดี ที่เชื่อมต่อระบบบริหาร จาก สสอ. แหลมงอบ ใช้ข้อมูล จัดทำแผนกลยุทธ์สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการครอบคลุมทุก กลุ่มวัย มีระบบการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการมอบหมายผู้รับผิดชอบ/ติดตาม/ทบทวนผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทุกเดือน ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน มีผลลัพธ์การการดำเนินงานที่ดีบนพื้นฐานความสุข ความเสมอภาค และความผูกพันองค์กรของเจ้าหน้าที่ ภายใต้การบริหารงานแบบพี่น้องร่วมทีมงานเดียวกันของผู้นำ ความรับผิดชอบของทีมงาน การลงมือปฏิบัติงานและการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในภารกิจงานที่ได้รับมอบหมาย ระบบบริการ : มีการจัดระบบบริการสำหรับผู้รับบริการครอบคลุมทุกกลุ่มวัยสอดคล้องกับปัญหาโรคในระดับตำบล (OTOP) และขับเคลื่อนสู่ระบบสุขภาพอำเภอ (ODOP)

หมวด 1 : การนำองค์กรและการจัดการดี หมวด 1 : การนำองค์กรและการจัดการดี เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา ภาวะผู้นำ การนำ ทิศทาง การถ่ายทอด กำกับดูแล จัดการข้อร้องเรียน จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคม - ใช้ข้อมูลจากบริบทของพื้นที่ พฤติกรรม วิถีชีวิตของประชาชน ในการทำแผนเพื่อแก้ไขปัญหาโรค OTOP ได้แก่ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/ความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ และไข้เลือดออก ภายใต้วิสัยทัศน์ของเครือข่าย/(ใส่วิสัยทัศน์แหลมงอบ)ถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ บุคลากรและภาคีเครือข่าย ติดตามผลการดำเนินงาน/ทบทวนแผนและกระบวนการดำเนินงานทุกเดือน/เสริมพลังทีมงานและประเมินผลงานอย่างเป็นธรรม/บริหารงานรูปแบบพี่น้อง - ได้รับความร่วมมือจากภาคี และให้ความสำคัญกับชุมชน จัดทำ Flow Chart การจัดการข้อร้องเรียน ให้มีชีวิต(ค้นหา Near misk)

หมวด 1 : การนำองค์กรและการจัดการดี หมวด 1 : การนำองค์กรและการจัดการดี เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา ภาวะผู้นำ การนำ ทิศทาง การถ่ายทอด กำกับดูแล จัดการข้อร้องเรียน จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคม -มีโครงสร้างองค์กร/คณะกรรมการ/คณะทำงาน และการมอบหมายงานชัดเจน - มีแผนงาน โครงการ ที่สอดคล้องกับสภาวะสุขภาพ ของประชาชนและบริบทของพื้น ดำเนินงานเป็นเครือข่ายร่วมกันในภาพของตำบล (เจ้าภาพ ต่อเรื่อง: ทำทั้งตำบล) -ผลการดำเนินงาน ภาพของ รพ.สต.เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ รับผิดชอบ

หมวด 1 : การนำองค์กรและการจัดการดี หมวด 1 : การนำองค์กรและการจัดการดี เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา ภาวะผู้นำ การนำ ทิศทาง การถ่ายทอด กำกับดูแล จัดการข้อร้องเรียน จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคม -มีระบบการจัดการข้อร้องเรียนชัดเจน เป็นรูปธรรม แต่ที่ผ่านมาไม่มีข้อร้องเรียน มีเพียงคำถามหา ความต้องการ “ไม่มีน้ำเย็นให้กินหรือ” -มีระบบบริหารจัดการความเสี่ยง(RM) ที่กำหนดชัดเจน จากแม่ข่าย -มีผลการประเมินความพึงพอใจ ที่ดี มากกว่า 90% ทุกด้าน -ระบบประเมินผลงาน มีการนำผลงาน และ คุยกันแบบพี่น้อง ประเมินผลให้เสมอๆกันภายใต้ ความเห็นชอบร่วมกัน -ควรมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงของ รพ.สต./ปัจจัยที่ก่อให้เกิด/ประเมินโอกาสเสี่ยง และนำมาวางแผนพัฒนางาน

หมวด ๑ : การกำกับดูแล ข้อ 1.3.1 การจัดการการเงินและบัญชี หมวด ๑ : การกำกับดูแล ข้อ 1.3.1 การจัดการการเงินและบัญชี เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม แนวทางการพัฒนา 1. มีคำสั่งคณะกรรมการเก็บรักษาเงินของหน่วยงาน และเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการเบิกจ่ายเงิน ถอนเงิน และเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานการเงิน มีคำสั่งครบถ้วนครอบคลุมทุกหน้าที่สอดคล้องตามระเบียบการเงินการคลังลงนามโดยหัวหน้าหน่วยงาน (รพ.สต.) 2. มีแผนการใช้เงินงบประมาณและเงินบำรุง มีแผนการใช้จ่ายเงินบำรุง/งบลงทุน/ดำเนินการครบถ้วน 3. มีบัญชีควบคุมการ รับ-จ่ายเงินเป็นปัจจุบันถูกต้อง(401,404,407 มีการจัดทำบัญชีเกณฑ์เงินสดทุกวัน

หมวด ๑ : ข้อ 1.3.1 การจัดการการเงินและบัญชี หมวด ๑ : ข้อ 1.3.1 การจัดการการเงินและบัญชี เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม แนวทางการพัฒนา 5. สมุดคุมการใช้ใบเสร็จรับเงินและสรุปผลการใช้ประจำปี มีครบถ้วน - 6. มีแฟ้มการดำเนินการจัดซื้อ/จ้างเป็นปัจจุบัน 7. ได้รับการตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ปีละ 2 ครั้ง จัดทำระบบควบคุมภายในเพื่อรองรับคณะกรรมการมาตรวจสอบภายใน

หมวด 1 : ข้อ 1.3.2 การจัดการอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม เกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสการพัฒนา สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ใช้พื้นทีที่มีจำกัดจัดวางรูปแบบอาคารใช้ประโยชน์สอดคล้องกับการบริการ ที่สอดรับกับปัญหาที่เกิดในพื้นที่ มีการจัดเป็นสัดส่วนของและใช้งบประมาณ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการสำหรับผู้สูงอายุ/ผู้พิการ เช่น ทางลาด สภาพแวดล้อมภายในอาคาร ตามมาตรฐาน 5ส - การดำเนินงาน 5 ส ที่ในการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ มีระบบการจัดเก็บเอกสาร - มีถังขยะรองรับการคัดแยกขยะที่ชัดเจน - การจัด Flow การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในกรณีฉุกเฉิน เช่น ห้อง ER ห้องส้วม -สะอาดเป็นสัดส่วนแยกระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ -แนะนำให้ติดพัดลมเพื่อระบายอากาศ บริการ - จัดระบบคิว ตารางการให้บริการที่ชัดเจน มีระบบสื่อการสร้างการเรียนรู้ให้กับผู้มารับบริการ - เพิ่มการบริหารความเสี่ยง ระบบความปลอดภัย เช่น สายไฟ ยังมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุสะดุดหรือไฟฟ้าดูดได้

หมวด 1 : ข้อ 1.3.3.1 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การออกแบบระบบและการจัดการทรัพยากร - การดำเนินงาน -มีพยาบาลวิชาชีพรับผิดชอบงานภายใต้คำสั่งแต่งตั้งมีการอบรมฟื้นฟูมีเอกสารมีคู่มือการปฏิบัติงานเป็นปัจจุบันภายใน 5 ปี - มีการเผ้าระวังการติดเชื้อ/ตรวจสุขภาพบุคลากรประจำทุกปี มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร - มีแนวปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุ/สัมผัสสารคัดหลั่ง มีโปสเตอร์/ทราบแนวทางปฏิบัติ/มีการบันทึกเมื่อเกิดอุบัติเหตุ - ควรมีการเผ้าระวังการติดเชื้อ/รายคน/แนวทางการแก้ไขปัญหาเป็นลายลักษณ์อักษร - บุคคลากรควรได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จำเป็นและที่มีการระบาดของแต่ละพื้นที่ - ควรมี PPG ที่มีคุณภาพและพร้อมใช้ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ควรมีพื้นที่การให้บริการ พื้นที่สะอาดและพื้นที่ปนเปื้อน

หมวด 1 : ข้อ 1.3.3.1 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การดำเนินงาน(ต่อ) และควรจัดพื้นที่ให้บริการเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง - ควรมีป้ายสื่อสารการปฏิบัติ ควรมีจุดแยกล้างที่ชัดเจนและได้มาตรฐาน - การกำจัดขยะมูลฝอยติดเชื้อในจุดพักขยะควรมีป้ายสื่อสารที่ชัดเจน

หมวด 1 ข้อ 1.3.3.2 ระบบคุณภาพและมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ฯ (LAB) เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - บุคลากร - สถานที่ทำการทดสอบ - วัสดุ น้ำยาเครื่องมือทดสอบ --ขั้นตอนการทดสอบ - มีแต่งตั้งผู้รับผิดชอบและมีการอบรมฟื้นฟูโดยมีพี่เลี้ยง(หน้างาน)และมีพี่เลี้ยง/บันทึกการปรึกษาทางวิชาการ - สามารถแยกและจัดวางเครื่องมือแยกแยกเป็นสัดส่วน/จัดวางอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพ - สามารถทำได้ตามมาตรฐาน เลือกใช้วัสดุโดยรพ.แม่ข่าย เครื่องมือทดสอบ มีประวัติการทดสอบ -มีนาฬิกาและสอบเทียบโดยพี่เลี้ยง -ทำได้ตามมาตรฐาน จัดทำแผนการสอบเทียบ/จัดทำผลสรุปการสอบเทียบ/บันทึกให้ครบถ้วน/จัดทำบันทึกการบำรุงรักษาให้เป็นปัจจุบัน/สอบเทียบนาฬิกาให้เป็นไปตามหลักสถิติ

หมวด 1 : ข้อ1.3.3.2 ระบบคุณภาพและมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ฯ (LAB) เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การประกันคุณภาพ - ขั้นตอนหลักการทดสอบและความปลอดภัย มีการทำการประกันคุณภาพโดย Interlab com pair - ทำได้ตามมาตรฐาน จัดทำบันทึก/ทำการควบคุมคุณภาพภายในเช่น Pregnancy Test ทำโดยใช้น้ำเปล่าเป็นสารควบคุมผลลบ

หมวด 1 : ข้อ 1.3.3.3 เภสัชกรรม/คุ้มครองผู้บริโภค เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - มีเภสัชกรรับผิดชอบในการพัฒนางานเภสัชกรรมปฐมภูมิอย่างน้อย 1 คน - คลังยาและเวชภัณฑ์ - มีการจัดทำ LASA ในชั้นยาอย่างชัดเจนเพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา - มีการจัดทำตารางวันหมดอายุยาชัดเจน ง่ายต่อความเข้าใจ - มีกล่องยาช่วยชีวิตในห้องฉุกเฉินครบทุกรายการ จัดทำเป็น one box ง่ายต่อการใช้งาน - Flochart การส่งต่อการซักประวัติแพ้ยาง่ายต่อการใช้งานและตั้ง group line ในเครือข่ายระบบยา - การจัดทำฐานข้อมูลร้านค้าแผงลอย สถานประกอบการครบถ้วน - มีการจัดอบรมให้ความรู้กับผู้จำหน่ายเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ สมุดเยี่ยมหรือเอกสารควรเป็นเอกสารชัดเจน ประตูคลังยาต้องมีกุญแจล็อกสองชั้น ควรมีเครื่องวัดความชื้นในคลังยา ควรจัดทำป้ายชื่อทุกรายการ การแบ่งบรรจุยา(Pree-Pack)ต้องกำหนดวันหมดอายุชัดเจน ตู้เย็นเก็บวัคซีนและตู้เย็นยาทั่วไปยังใช้รวมกัน

หมวด 1 : ข้อ 1.3.3.3 เภสัชกรรม/คุ้มครองผู้บริโภค เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - คลังยาและเวชภัณฑ์ - งานบริการเภสัชกรรม - มีระบบ double check ก่อนจ่ายยาโดยเภสัชกรในวันที่มีคลีนิคโรคเรื้อรัง - มีการจัดทำฐานข้อมูลร้านค้า แผงลอย สถานประกอบการครบถ้วน - มีกิจกรรมตรวจสุขภาพผู้ประกอบการ ระบบการเชื่อมโยงข้อมูล การแพ้ยาของผู้ป่วย - การพัฒนาศักยภาพ อสม. ในการเป็น จนท.ช่วยจัดยา

หมวด 1 : ข้อ 1.3.3.4 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การจัดการระบบ บันทึกข้อมูล - การใช้ข้อมูล บันทึกข้อมูลอย่างมี ประสิทธิภาพใน โปรแกรม Hosxp จัดส่งข้อมูลให้ สสจ. ทุกสัปดาห์ คุณภาพของข้อมูล โปรแกรมOPPP ร้อยละ ๙6 - มีเครื่องคอมพิวเตอร์ เพียงพอพร้อมใช้งาน มีข้อมูลครอบคลุมทุกกลุ่มวัย มีนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำแผนข้อมูลโครงการ ควร UpDate โปรแกรมให้เป็น ปัจจุบัน พัฒนาส่งข้อมูลทุกวัน สำรองข้อมูลทุกวันไว้ที่ External Hardisk - จัดทำแผน/ Flow Chart รองรับภาวะฉุกเฉิน

หมวด ๒ การให้ความสำคัญสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา ๒.๑ การได้มาซึ่งปัญหาของชุมชน จัดลำดับความสำคัญของปัญหาเพื่อจัดทำโครงการแก้ปัญหาสุขภาพ จัดเก็บข้อมูล/เอกสารหลักฐานการดำเนินงาน 2.2 การประสานงาน ในเครือข่าย การประเมินผลลัพธ์การประสานงานในเครือข่าย 2.3 การประสานงานภายนอกและภาคีเครือข่าย มีการประชุมคณะกรรมการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง/จัดตั้งกลุ่มไลน์ อสม./จ้าหน้าที่/การใช้เสียงตามสายเทศบาล /มีการประสานงานทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ประเมินภาคีเครือข่ายเพื่อรับทราบปัญหา แบบ 360 องศา 2.4 บทบาทภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วม ดำเนินงานแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายแบบบูรณาการ (เอบต./รพ.สต./อสม./เอกชน) 2.5 ความสัมพันธ์/พึงพอใจของผู้รับบริการ/ชุมชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการจัดการข้อร้องเรียน มีการประเมินความพึงพอใจปีละ 1 ครั้ง ไม่มีข้อร้องเรียน มีระบบการจัดการข้อร้องเรียนเบื้องต้นโดยผู้บริหารรพ.สต. การใช้ผลการประเมินความพึงพอใจวางแผนพัฒนาต่อเนื่อง

หมวด ๓ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา การจัดการอัตรากำลัง มีการจัดอัตรากำลังที่เหมาะสม เพิ่มส่วนจัดบริการหมุนเวียน การสร้างความผาสุก บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนพื้นที่ ปฏิบัติงานมาเป็นเวลานานมีความรักและผูกพันกับองค์กร การพัฒนาระบบการเรียนรู้ของบุคลากร มีแผนพัฒนาบุคลากรอย่างเพียงพอสอดคล้องกับ OTOP/ODOP การบันทึกข้อมูลการอบรมเพื่อทราบการพัฒนารายบุคคล/IDP การประเมินผลการปฏิบัติงาน มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากร ที่เป็นธรรมและมีความเข้าใจกันระหว่าง ผอ.และเจ้าหน้าที่ การเสริมพลังประชาชนและครอบครัว (Self Care) ความรู้และศักยภาพของเจ้าหน้าที่สามารถทำให้กลุ่มผู้รับบริการ DM/HT จากการใช้กระบวนการ Motivation Interview เพิ่มการเสริมพลังเพื่อให้กลุ่มเป้หมาย Self Care โรคอื่นๆ ได้

หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การจัดบริการตามสภาพปัญหา (ODOP/OTOP) - มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมายตามโรค ODOP/OTOP ชัดเชน/คืนข้อมูลรายหมู่บ้านโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ DM/HT - มีนวัตกรรม “โรคสงบเมื่อพบทิบ” ในการจัดการปัญหา OTOP (DM/HT) - มีระบบการบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง ประเมินผลรับจากนวัตกรรมที่ใช้

หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การจัดบริการตามสภาพปัญหา (ODOP/OTOP) -มี CM ระดับ รพ.สต, - มีการอบรม Care Giver ในชุมชน ที่มีศักยภาพและมีจิตบริการในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง

หมวด ๕ : ผลลัพธ์ ชื่นชม โอกาสพัฒนา เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - ผลลัพธ์ - การใช้ประโยชน์จาก CQI/R2R/นวัตกรรมและการจัดการความรู้ ตัวชี้วัด QOF (ผลงานปีงบประมาณ 2559) ร้อยละ 80 -มีนวัตกรรมที่ยังไม่ได้ทบทวน - ทบทวนนวัตกรรม และต่อยอด