ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Advertisements

New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์
Refinery Excise Tax and Fund
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ตลาด ( MARKET ).
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ศ.432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
Management system at Dell
การสัมมนาเวทีสาธารณะ
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
แนวทางการตลาดและขายลูกค้า SMEs
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
การเลี้ยงไก่ไข่.
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
การประชุมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา รหัส 61
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ผศ. ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
Competitive advantage Team Financial
Origin Group Present.
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
บทที่ 4 กลยุทธ์ในการเลือกตลาด
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) บทที่ 4 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

การกำหนดราคาและดุลยภาพตลาด (Price Determination and Market Equilibrium) ราคาดุลยภาพ ปริมาณดุลยภาพ

ราคาดุลยภาพ ระดับราคาที่ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้บริโภคต้องการซื้อในขณะนั้นเท่ากับจำนวนสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายในขณะเดียวกันนั้นพอดี (Qd = Qs) 100 บาท ราคาดุลยภาพ 100 บาท ผู้ขาย ผู้ซื้อ

ปริมาณสินค้าและบริการที่ระดับราคาดุลยภาพ ปริมาณดุลยภาพ ปริมาณสินค้าและบริการที่ระดับราคาดุลยภาพ ราคาดุลยภาพ 100 บาท 100 บาท ผู้ขาย ผู้ซื้อ ปริมาณดุลยภาพ

ปริมาณส้ม (กก./สัปดาห์) Qs 12 16 20 24 28 32 26 14 8 5 10 15 25 Qd ปริมาณส้ม (กก./สัปดาห์) ราคาส้ม (บาท/กก.) การปรับตัวของราคา Qs - Qd สถานะ 20 10 อุปทานส่วนเกิน P ลดลง อุปทานส่วนเกิน P ลดลง สมดุล P คงที่ 15 20 20 อุปสงค์ส่วนเกิน P เพิ่มขึ้น อุปสงค์ส่วนเกิน P เพิ่มขึ้น

S D ราคาดุลยภาพ จุดดุลยภาพ 15 20 ปริมาณดุลยภาพ P Q 10 5 15 20 25 30 S D ราคาดุลยภาพ จุดดุลยภาพ 15 20 ปริมาณดุลยภาพ

Supply > Demand Excess Supply 5 15 S 25 8 28 = 28 - 8 = 20 Excess Supply P Q 10 5 15 20 25 30 D S 25 8 28 Qd เพิ่ม Qs ลด

Demand > Supply Excess Demand = 26 - 16 = 10 P Q 10 5 15 20 25 30 D S 10 16 26 Qs เพิ่ม Qd ลด Excess Demand

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของตลาด การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางอ้อมต่างๆ 1. กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปสงค์ในขณะที่เส้นอุปทานอยู่คงที่ 2. กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปทานในขณะที่เส้นอุปสงค์อยู่คงที่

1. กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปสงค์ในขณะที่เส้นอุปทานอยู่คงที่ 1.1 กรณีอุปสงค์เพิ่ม P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

1.2 กรณีอุปสงค์ลด P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

2. กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปทานในขณะที่เส้นอุปสงค์อยู่คงที่ 2.1 กรณีอุปทานเพิ่ม P Q D1 S1 E1 P1 Q1 S2 E2 P2 Q2

2.2 กรณีอุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 E2 P2 Q2

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของตลาด กรณีทั้งอุปสงค์และอุปทานมีการเปลี่ยนแปลง อุปสงค์เพิ่ม อุปทานเพิ่ม ให้นักศึกษาประยุกต์เอาเอง อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด จะอธิบายเพียงแบบเดียว อุปสงค์ลด อุปทานเพิ่ม ให้นักศึกษาประยุกต์เอาเอง อุปสงค์ลด อุปทานลด ให้นักศึกษาประยุกต์เอาเอง

อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด

กรณีอุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด S2 D2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 E2 P2 Q2

กรณีอุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

กรณีอุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด กรณีอุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

การเข้าแทรกแซงราคาของรัฐบาล การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support or Minimum Price) การกำหนดราคาขั้นสูง(Price Ceiling) การควบคุมราคา (Price Control)

การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support or Minimum Price) Q (หน่วย) 100 D S 20 ราคาขั้นต่ำ ราคาประกัน 30

สาเหตุของการประกันราคาขั้นต่ำ ระบบราคาทำให้สินค้ามีราคาต่ำมากเกินไป รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง ประกันราคา ราคาประกันหรือราคาขั้นต่ำ ต้องสูงกว่าราคาดุลยภาพเสมอ

วิธีการประกันราคาขั้นต่ำ 1. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลรับซื้ออุปทานส่วนเกิน 2. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุน การประกันราคาแก่เกษตกร การกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ (Minimum Wage)

1. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลรับซื้ออุปทานส่วนเกิน การที่รัฐบาลประกาศราคาประกัน และใช้กฏหมายบังคับให้ผู้ซื้อทุกรายซื้อสินค้าในราคาประกันนั้น มิฉะนั้นจะมีความผิดตามกฏหมาย

P Q 100 D S 20 Excess supply 30 รัฐใช้งบประมาณ (เพื่อซื้อผลผลิตส่วนเกิน) = 30 x (150 - 50) = 3,000 50 150

2. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุน รัฐกำหนดราคาขั้นต่ำไว้ แต่จะปล่อยให้ซื้อขายกันตามกลไกราคาปกติ รัฐใช้งบประมาณ = (30 - 20) x 100 = 1,000 P Q 100 D S 20 30 100

การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ (Minimum Wage) นโยบายในการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือคนงานในภาคอุตสาหกรรมเพื่อให้มีรายได้ที่สูงขึ้น โดยมีวิธีการเช่นเดียวกับการประกันราคาขั้นต่ำ กล่าวคือเมื่อรัฐบาลเห็นว่าค่าจ้างดุลยภาพในขณะนั้นต่ำเกินไป รัฐบาลจึงกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำให้สูงกว่าค่าจ้างดุลยภาพ

รัฐใช้งบประมาณ = (300 - 200) x 100 = 100,000 P (บาท/ชม) Q 100 D S 200 300 100

มาตรการอื่น ๆ ที่ใช้ควบคู่กับการประกันราคาขั้นต่ำ S1 P Q 15 D S 200 D1 300

P Q 15 D S 200 S1 D1 300

การกำหนดราคาขั้นสูง(Price Ceiling) Q (ล้านหน่วย) 10 D S 300 ราคาขั้นสูงหรือ ราคาควบคุม 200

สาเหตุของการกำหนดราคาขั้นสูงหรือการควบคุมราคา ระบบราคาทำให้สินค้ามีราคาสูงมากเกินไป รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง ราคาควบคุม ราคาขั้นสูงหรือราคาควบคุม ต้องต่ำกว่าราคาดุลยภาพเสมอ

Q (ล้านหน่วย) Excess demand P (บาท) Q (ล้านหน่วย) 15 300 ราคาใน ตลาดมืด 400 200 5 25 Excess demand Q ที่มีการขายจริง

มาตรการอื่น ๆ ที่ใช้ควบคู่กับการกำหนดราคาขั้นสูง P (บาท) Q (ล้านหน่วย) 10 D S 300 S1 D1 200

P (บาท) Q (ล้านหน่วย) 10 D S 300 S1 D1 200

ตลาดและการแข่งขัน

ความหมายของตลาด กิจกรรมการตกลงซื้อขายสินค้าและบริการรวมทั้งปัจจัยการผลิต ไม่ได้หมายถึง “สถานที่”

ประเภทของตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ 1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competitive Market) 2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect Competitive Market) 2.1 ตลาดผูกขาด (Monopoly) 2.2 ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) 2.3 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)

1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competitive Market) ลักษณะสำคัญ 1. มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก ผู้ขายแต่ละรายไม่มีอิทธิพลในการกำหนดราคาแต่เป็นผู้ยอมรับ (Price Taker)ที่กำหนดขึ้นโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาด S D P Q ตลาด P Q ผู้ผลิต/ขาย D

2. สินค้าที่ซื้อขายกันในตลาดมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous Product)

3. ผู้ขายเข้าและออกจากกิจการได้อย่างเสรี (Freedom of entry or exit) ไม่มีกฎหมายที่เข้มงวดจนเกินไปเข้ามาขัดขวาง ใช้ปัจจัยการผลิตพื้นฐานทั่ว ๆ ไป ไม่ซับซ้อนมาก  

4. สินค้าสามารถโยกย้ายได้อย่างเสรี (Free mobility)  

5. ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรอบรู้เกี่ยวกับสภาพของตลาดได้เป็นอย่างดี (Perfect knowledge) พฤติกรรมผู้บริโภคเป็นอย่างไร ขายสินค้าที่ไหนดี ฯลฯ ซื้อที่ไหนราคาถูก ซื้อเวลาไหนดี ผู้ผลิตรายไหนบริการดี ฯลฯ ผู้ขาย ผู้ซื้อ

ตลาดผูกขาด (Monopoly) 2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์(Imperfect Competitive Market) ตลาดผูกขาด (Monopoly) ลักษณะสำคัญ มีผู้ผลิตหรือผู้ขายรายเดียว เรียกว่า “ผู้ผูกขาด” (Monopolist)

2. สินค้ามีลักษณะพิเศษไม่เหมือนใคร ไม่สามารถหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้อย่างใกล้เคียง 3.ผู้ผูกขาดมีอำนาจในการกำหนดราคา (Price Maker) 4.ผู้ผูกขาดสามารถกีดกันไม่ให้ผู้อื่นเข้ามาผลิตแข่งขันได้

สาเหตุของการผูกขาด 1. ผู้ผลิตหลายรายรวมตัวกันผูกขาดการผลิต 2. การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตแต่เพียงผู้เดียว 3. การเป็นเจ้าของลิขสิทธิของสินค้า (มีการจดทะเบียนลิขสิทธิ์) 4. รัฐออกกฎหมายให้ผูกขาดการผลิตแต่ผู้เดียว เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่เศรษฐกิจและสังคมส่วนรวม 5. เป็นการผลิตที่ต้องใช้ทุนจำนวนมาก และต้องมีขนาดการผลิตที่ใหญ่ เพื่อจะได้รับประโยชน์จากการประหยัดของขนาดการผลิต

การกำหนดราคาจึงกำหนดต่ำ ๆ ได้ Long-run Average Cost P Q ผู้ผลิต 3 ราย ผู้ผลิต 2 ราย ผู้ผลิต 1 ราย ผู้ผลิตน้อยรายทำให้ต้นทุนต่ำลง การกำหนดราคาจึงกำหนดต่ำ ๆ ได้

รัฐบาลอาจจะให้สัมปทาน ราคาอาจจะถูกควบคุมอีกครั้ง ผู้ผลิตหลายหลาย ราคาสูง รัฐบาลอาจจะให้สัมปทาน ราคาอาจจะถูกควบคุมอีกครั้ง ราคาต่ำ

ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) ลักษณะสำคัญ 1. มีผู้ขายจำนวนน้อย และผู้ขายเหล่านี้อาจรวมตัวในการกำหนดราคาสินค้า 2. ผู้ขายรายใหญ่มีส่วนแบ่งตลาด (Market share) มาก แต่อำนาจในการกำหนดราคาหรือปริมาณขายของผู้ขายรายย่อยมีน้อยกว่าตลาดผูกขาด

3. สินค้าที่ซื้อขายในตลาดมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ไม่เหมือนกัน ดังนั้นการกำหนดราคาสินค้าของผู้ขายแต่ละรายจะมีผลกระทบผู้ขายรายอื่น Home Brand

4. ผู้ขายมักจะไม่ลดราคาแข่งขันกัน เพราะการแข่งขันลดราคาสินค้าจะทำลายผลประโยชน์ของผู้ผลิตทุกคน ผู้ขายจึงมักใช้การแข่งขันแบบไม่ใช้ราคา

สาเหตุที่ไม่มีการแข่งขันกันด้านราคา การลดราคาจะทำให้ผู้ผลิตรายอื่นลดราคาตามได้ง่าย ทำให้ปริมาณขายไม่เพิ่มมากขึ้นตามที่คาดการณ์ การใช้วิธีการปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการเป็นวิธีที่จะทำตามได้ยากและใช้เวลานาน ผู้ผลิตในตลาดนี้มักมีเงินทุนมากจึงสามารถที่จะลงทุนโฆษณาและพัฒนาคุณภาพสินค้าได้ดี

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) 1. มีผู้ขายจำนวนมาก 2. ไม่มีการกีดกันผู้ที่จะเข้ามาใหม่ 3. สินค้าของผู้ผลิตมีความแตกต่างกัน โดยอาจแตกต่างกันโดยรูปลักษณ์ของตัวสินค้า หรือการแตกต่างกันในความรู้สึกของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลจากการโฆษณา การบรรจุหีบห่อ การบริการ ฯลฯ รวมไปถึงคุณภาพของสินค้าด้วย