การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การอภิบาล ( การอภิบาล ( Governance) อำพล จินดาวัฒนะ การประชุมวิชชาการ : ปฏิรูประบบสุขภาพและชีวิต ปฏิรูป จิตสำนึกประชาธิปไตย ในโอกาส ๙ ปี สช. วันที่ 10.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ทฤษฎีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
หลักสูตรเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการ : สำนึกข้าราชการไทยไม่โกง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
SMS News Distribute Service
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
Supply Chain Management
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)

การจัดการภาครัฐแนวใหม่ : The New Public Management : NPM Globalization New Technology Economic Crisis Competitiveness Change Management Bureaucratic of Governance Big Organization High Financial burden Monopoly …

Public Administration การจัดการภาครัฐแนวใหม่ The New Public Management : NPM Public Administration Quality of life

Public Administration การจัดการภาครัฐแนวใหม่ The New Public Management : NPM Public Administration Quality of life Process

Quality of life แนวคิดสมัยใหม่ ยืดประชาชนเป็นศูนย์กลาง การจัดการภาครัฐแนวใหม่ The New Public Management : NPM แนวคิดสมัยใหม่ ยืดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ธรรมาภิบาล (Good Governance) Quality of life กระจายอำนาจ(Decentralization) มุ่งผลสัมฤทธิ์

เหตุผลที่ต้องนำแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เหตุผลที่ต้องนำแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ กระแสโลกาภิวัตน์ บริบทสังคมโลกเปลี่ยนแปลง ระบบราชการไทยมีปัญหาที่สำคัญ ความเสื่อมถอยของระบบราชการ ขาดธรรมาภิบาล ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป - ส่งผลบั่นทอนความสามารถในการแข่งขันของประเทศ - เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตด้วย

การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ความหมาย การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ นำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น 1. การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การบริหารงานแบบมืออาชีพ

การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( New Public Management ) : NPM เป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐอันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม

การลดความเป็นระบบราชการ (Reducing the Bureaucracy) 1. แนวโน้มทำให้ภาครัฐปรับเข้าสู่ระบบตลาด (marketization) 2. แนวโน้มที่ภาครัฐจะไม่ใช้รูปแบบการจัดโครงสร้างแบบราชการ

ยกเครื่องระบบราชการ (Reinventing Government) Osborne & Gaebler, 1992 ,รัฐบาลสหรัฐฯ ยุคคลินตัน การบริหารแบบผู้ประกอบการ 1. ต้องมีการส่งเสริมการแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ 2. ต้องมีการให้อำนาจแก่พลเมือง 3. ต้องมีการเน้นเป้าหมาย และภารกิจ 4. ต้องไม่มุ่งเน้นกฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ มากจนเกินไป 5. ต้องมีการให้คำจำกัดความผู้รับบริการ(ประชาชน) ใหม่ว่าเป็น “ลูกค้า” / ต้องเสนอทางเลือกต่างๆ ให้ 6. ต้องมีการป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิดขึ้น(รู้จักวิเคราะห์ความเสี่ยง) 7. ต้องมีการหาทางได้มาซึ่งรายได้ก่อน ไม่ใช่เอาแต่การใช้จ่าย 8. ต้องมีการกระจายอำนาจหน้าที่ขณะเดียวกันมีการเน้นการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการมากขึ้น 9. ต้องมีการให้ความสนใจเรื่องของ “กลไกตลาด” มากกว่า “กลไกของระบบราชการ” 10. ต้องมีการกระตุ้นให้ทุกภาคไม่ว่าภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งพวกอาสาสมัครร่วมกันแก้ไขปัญหาชุมชน

การพัฒนาระบบราชการอังกฤษ - ยุค Margaret Thatcher ปี 1979 : Thatcherism - ลดขนาดราชการและเพิ่มประสิทธิภาพ - ลดภาระผู้เสียภาษีและดึงเอกชนมาจัดบริการ - สาเหตุจากเงินเฟ้อและค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สูงถึง 49% ของ GDP

Thatcherism 1. เน้นประสิทธิภาพ (Efficiency) - Fulton Recommendation – คณะ กก.ปฏิรูป - ยกเลิก Public Service Department - ลดจำนวนข้าราชการ 1981-1990 - โครงการ Financial Management Initiative : FMI - ตั้ง Efficiency Unit – ส่งเสริม ประสิทธิภาพภาครัฐ

Thatcherism 2.การสร้างระบบตลาด (Commercialism) นำหลักการสร้างระบบตลาดเข้ามาใช้ เช่น - กระทรวง/กรมต้องรับผิดชอบเรื่องการลงทุน - การปฏิรูประบบสาธารณสุขมูลฐาน ฯลฯ ล้วนนำหลัก Business-Like Management มาใช้

Thatcherism 3.การสร้าง Public Accountability - สำหรับหน่วยราชการที่ไม่มีการแข่งขัน - เน้น Accountability ทางการเงิน – ความคุ้มค่า - มี Citizen’s Charter (กฎบัตรพลเมือง) เป็นสัญญาประชาคม ที่จะทำงานด้วยมาตรฐานและคุณภาพให้แก่ประชาชน

Tony Blair สานต่อนโยบายปฏิรูประบบราชการของ Conservative Party (Thatcher และ Major) - เงินอุดหนุนเอกชนในการทำงานภาครัฐ - สร้างจิตสำนึกผู้ประกอบการในภาครัฐ - การวัดผลงานในการบริหารภาครัฐ - การแทรกแซงหน่วยงานที่ทำงานล้มเหลว

Tony Blair 1. การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ ซึ่งเน้นที่การใช้เงินที่ได้รับการจัดสรรจากส่วนกลาง - เช่น National Health Service : NHS - Public service provider / purchaser 2.การปรับปรุงคุณภาพการบริการโดยการจัด Rating เพื่อให้การเกิดการแข่งขันในการให้บริการระหว่างหน่วยงานของรัฐ/เอกชน / ภาคอื่นๆ

Tony Blair 3.รัฐบาลให้ความสำคัญกับผู้ใช้บริการและพลเมือง - ให้พลเมืองเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการให้บริการสาธารณะ - เช่น ให้ผู้แทนคนไข้ร่วมวางแผนบริการสุขภาพแห่งชาติ หรือ Citizen’s Charter 4.รัฐบาลสนใจควบคุมการทำงานของกลุ่มวิชาชีพและสหภาพแรงงาน - ใช้วิธีให้ควบคุมกันเอง - การประเมินและตรวจสอบจากภายนอกและภายในกลุ่มวิชาชีพ - Joined-up government ให้หน่วยงานของรัฐหลายๆ หน่วยงานร่วมกันให้บริการประชาชน - No wrong door (ประชาชนไม่มีวันเข้าประตูผิด) รัฐบาลจัดองค์การให้มีตัวแทนที่รู้ความต้องการของประชาชน ให้บริการประชาชนได้ทุกเรื่อง

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน (ประชาชนเป็นศูนย์กลาง) ประชาชนเป็นปัจจัยสำคัญ เป็นหัวใจของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ - การมุ่งให้บริการแก่ประชาชนไม่ใช่การกำกับ ข้าราชการจึงไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนแต่ต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชนด้วย - การสำรวจความสนใจและความต้องการของสาธารณชน เพื่อสร้างความสนใจร่วมและรับผิดชอบร่วมกัน - การให้คุณค่าแก่ประชาชนในฐานะของการเป็นพลเมืองมากกว่าการเป็นผู้ประกอบการ โดยข้าราชการจะยอมรับที่จะเป็นผู้ช่วยเหลือสังคมมากกว่าการเป็นผู้จัดการธุรกิจที่คิดและทำเสมือนเงินหลวงเป็นเงินของตนเอง

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มุ่งผลประโยชน์สาธารณะ ( Seek the Public Interest ) ต้องสร้าง แนวคิดร่วมกันในเรื่องผลประโยชน์สาธารณะ เป้าหมาย คือ การสร้าง ผลประโยชน์ร่วมกัน (shared interest) ผลประโยชน์สาธารณะ (public interest) เป็นผลสัมฤทธิ์ ของ การแชร์ค่านิยม (shared values) มากกว่าที่จะเป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนบุคคล (individual self-interests)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) Governance (การจัดการปกครอง) การทำงานร่วมกับของภาครัฐ ภาคประชาสังคม NGOs อาสาสมัคร ชุมชน และ ภาคเอกชน ในลักษณะเครือข่าย (Network)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ลดการควบคุมจากส่วนกลาง และเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน (การกระจายอำนาจ)

ให้ความสำคัญกับการแยกและกระจายการบริการ แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ให้ความสำคัญกับการแยกและกระจายการบริการ

การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การเปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำเองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ

ต้องมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ ไม่ใช่มุ่งเน้นไปที่นโยบาย แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ต้องมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ ไม่ใช่มุ่งเน้นไปที่นโยบาย

เน้นการจัดการตามแบบแผนของภาคเอกชน แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการจัดการตามแบบแผนของภาคเอกชน Christopher Hood (1991)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการจัดการตามแบบภาคเอกชน (Stress on private sector styles of management practice) มุ่งแสวงหา ที่ใช้ แนวทางของภาค เอกชนและธุรกิจ (private sector and business approaches) ในการบริหารภาครัฐ กล่าวง่ายๆว่า เป็น “การบริหารรัฐบาลเฉกเช่นเดียวกันธุรกิจ” (run government like a business)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการใช้ระบบกึ่งตลาด และการจ้างเหมาบริการภายนอกให้หน่วยงานในภาคเอกชนดำเนินการ ภาครัฐจะต้องลดบทบาทลงโดยการจ้างภาคเอกชนดำเนินการแทน (Out Sourcing)

การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การกำหนด การวัด และการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กร และระดับบุคคล

มีมาตรฐานและ การวัดผลงานที่ชัดเจน แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีมาตรฐานและ การวัดผลงานที่ชัดเจน Christopher Hood (1991)

เน้นการควบคุมผลผลิต (output controls) แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการควบคุมผลผลิต (output controls) Christopher Hood (1991)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการควบคุมผลผลิตที่มากขึ้น (Greater emphasis on output controls) การใช้ทรัพยากรต้องเป็นไปตามผลงานที่วัดได้ เพราะเน้นผลสำเร็จมากกว่าระเบียบวิธี

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การเปลี่ยนระบบราชการที่เน้นระเบียบและขั้นตอนไปสู่การบริหารแบบใหม่ เน้นผลสำเร็จและความรับผิดชอบ รวมทั้งใช้เทคนิคและวิธีการของเอกชนมาปรับปรุงการทำงาน

มีการประเมินผลการปฏิบัติงานและประสิทธิภาพ แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีการประเมินผลการปฏิบัติงานและประสิทธิภาพ

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีมาตรฐานและการวัดผลงานที่ชัดเจน (Explicit standards and measures of performance) ภาครัฐจึงต้องมีจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของผลงาน และการตรวจสอบจะมีได้ก็ต้องมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม

การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า “ 3 Es ” Rhodes การประหยัด(Economy) ความมีประสิทธิภาพ(Efficiency) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีวินัยและประหยัด (Stress on greater discipline and parsimony in resource use) ต้องการตรวจสอบความต้องการใช้ทรัพยากรของภาครัฐ และ “ทำงานมากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรน้อยลง” (do more with less)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นลักษณะการบริหารที่ ใช้แรงจูงใจและ การมีอิสระในการบริหารจัดการ มอบอำนาจการใช้ดุลยพินิจและให้อิสระในการจัดการ (Empowerment)

การให้รางวัลหรือโบนัส แก่ผลงานที่เป็นเลิศ ลงโทษผลงานที่ไม่ได้เรื่อง แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้รางวัลหรือโบนัส แก่ผลงานที่เป็นเลิศ ลงโทษผลงานที่ไม่ได้เรื่อง

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เปลี่ยนไปส่งเสริมการแข่งขันในการบริการ มุ่งการแข่งขันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและการพัฒนา (Competitive to Efficiency and Development) Christopher Hood (1991)

ใช้ กลไกตลาด(market mechanism) และ มีการแข่งขัน (competition) แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ใช้ กลไกตลาด(market mechanism) และ มีการแข่งขัน (competition)

การแปรรูป (Privatize) แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การแปรรูป (Privatize)

ค้นหาวิธีการใหม่ๆ (New way) และ อินโนเวทีพ (Innovative) แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ค้นหาวิธีการใหม่ๆ (New way) และ อินโนเวทีพ (Innovative)

เพิ่มผลิตภาพ (productivity) แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เพิ่มผลิตภาพ (productivity)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ต้องค้นหากลไกทางเลือกอื่น ในการส่งมอบการบริการ (alternative service-delivery mechanisms)

การมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) Service Citizens, Not Customers - ผู้ให้บริการสาธารณะ(public servants) ต้องดำเนินการไม่เพียงตอบสนองต่อความต้องการของ “ลูกค้า” (customers) เท่านั้น แต่ยังต้อง มุ่งไปที่การสร้างความสัมพันธ์ ของความไว้วางใจ และ ความร่วมมือ (collaboration) ระหว่างและในหมู่พลเมือง (citizens) - การคำนึงว่าประชาชนเป็นผู้มีคุณค่าไม่ใช่แค่ผลผลิต หน่วยงานราชการต่างๆจะประสบความสำเร็จในระยะยาวหากดำเนินการด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและสร้างการเป็นผู้นำร่วมกันกับประชาชนบนพื้นฐานของการเคารพประชาชน - ประชาชนมีฐานะของการเป็นพลเมือง - การเป็นหุ้นส่วนในการดำเนินกิจกรรม - การเป็นพลเมืองและหุ้นส่วน การปรึกษาหารือ การเปิดเผยข้อมูล การมีส่วนร่วม การทำงานอย่างโปร่งใส การทำงานที่มีหลักการ การยึดหลักนิติธรรม

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การบริหารงานแบบมืออาชีพ - การสวมจิตวิญญาณผู้ประกอบการ (Entrepreneur) โดยนำกลไกตลาด เน้นลูกค้า ทำงานเชิงรุก ชอบเสี่ยง แสวงหาโอกาส เจรจาต่อรอง ฯลฯ - สรรหาผู้บริหารที่มีสมรรถนะสูงจากบุคคลนอกระบบ (Performance Appraisal)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นนักบริหารที่มุ่งปฏิบัติและ เป็นผู้ประกอบการ (ตรงกันข้ามกับจุดเน้นของนักบริหารภาครัฐที่เน้นการทำงานแบบระบบราชการดั้งเดิม) Christopher Hood (1991)

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การจัดการโดยนักวิชาชีพที่ชำนาญการ (Hands-on professional management) ผู้จัดการมืออาชีพได้จัดการด้วยตัวเอง ด้วยความชำนาญ โปร่งใส และมีความสามารถในการใช้ดุลพินิจ เหตุผลก็เพราะเมื่อผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายแล้ว ก็จะเกิดความรับผิดชอบต่อการตรวจสอบจากภายนอก

แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) แยกหน่วยงานภาครัฐออกเป็นหน่วยย่อยๆ (Shift to disaggregation of units in the public sector) แยกตามลักษณะสินค้าและบริการที่ผลิต ให้เงินสนับสนุนแยกกัน และติดต่อกันอย่างเป็นอิสระ