การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์ ปฏิบัติการเกี่ยวกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (01204223) ผศ.ดร.ชัยพร ใจแก้ว และ อ.ดร.อภิรักษ์ จันทร์สร้าง ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อุปกรณ์ หัวแร้ง คีมตัด คีมปากจิ้งจก (สำหรับดัดขาอุปกรณ์) ตะกั่วบัดกรี คีมปากจิ้งจก (สำหรับดัดขาอุปกรณ์) ตะกั่วบัดกรี คัตเตอร์ (สำหรับตัดและปอกสายไฟ) แท่นวางหัวแร้ง
แผ่นวงจร (Printed Circuit Board – PCB) แผ่นฉนวนพลาสติก ภาพจาก http://tomscarff.tripod.com/PCB/PCB.htm ลายทองแดง
ขั้นตอนการบัดกรี แผ่นวงจร จี้ปลายหัวแร้งให้สัมผัสทั้งขาอุปกรณ์และลายทองแดง ประมาณ ½ วินาที จ่อตะกั่วบริเวณจุดบัดกรีจนตะกั่วละลายติดทั้งขาอุปกรณ์และลายทองแดง (อาจจี้ตะกั่วที่ปลายหัวแร้งในช่วงสั้น ๆ เพื่อให้ตะกั่วเริ่มละลาย) แผ่นวงจร รูปจาก http://www.dummies.com
ตัวอย่างจุดบัดกรี รูปจาก http://www.dummies.com รูปจาก http://www.smspower.org/smsreader/solder.html
การอ่านค่าตัวต้านทาน ตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี หลักที่ 1 หลักที่ 2 ตัวคูณ ค่าผิดพลาด 0 ดำ 0 ดำ 0 ดำ 1 ดำ 1 น้ำตาล 1 น้ำตาล 1 น้ำตาล 10 น้ำตาล 2 แดง 2 แดง 2 แดง 100 แดง 1% แดง 3 ส้ม 3 ส้ม 3 ส้ม 1K ส้ม 2% ส้ม 4 เหลือง 4 เหลือง 4 เหลือง 10K เหลือง 5 เขียว 5 เขียว 5 เขียว 100K เขียว 6 น้ำเงิน 6 น้ำเงิน 6 น้ำเงิน 1M น้ำเงิน 7 ม่วง 7 ม่วง 7 ม่วง 8 เทา 8 เทา 8 เทา 0.1 ทอง 5% ทอง 9 ขาว 9 ขาว 9 ขาว 0.01 เงิน 10% เงิน หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 ตัวคูณ ค่าผิดพลาด ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี
อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีขั้ว แอโนด (A) แคโทด (K) ไดโอด (Diode) ตัวเก็บประจุมีขั้ว สัญลักษณ์แสดงขาลบ ไดโอดเปล่งแสง (LED) ไอซี รอยบาก 1 2 3 4 5 6 8 7 นับขาทวนเข็มนาฬิกา
เทคนิคการบัดกรี เริ่มจากชิ้นงานที่เตี้ยที่สุด เช่นตัวต้านทาน สายเชื่อม ขั้วต่อสาย ตะกั่วจะไม่ติดพื้นผิวที่สกปรกหรือไม่ร้อนพอ ใช้กระดาษทรายทำความสะอาดจุดบัดกรี ขาอุปกรณ์และลายทองแดงต้องร้อนทั้งคู่
ข้อควรระวัง หัวแร้งมีความร้อนสูงมาก และไม่ได้ร้อนแค่ปลาย ระวังหัวแร้งพาดทับสายไฟ! หลีกเลี่ยงการสูดดมควันที่เกิดจากการบัดกรี ระวังความร้อนทำลายอุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ อย่าแช่หัวแร้งนานเกินขณะบัดกรี ไอซี บัดกรีซ็อคเก็ตให้เสร็จก่อนจึงค่อยเสียบไอซี