ระบบโครงข่ายโทรศัพท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

หน่วยที่ 5 ระบบวิทยุสื่อสาร.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
สัญญาณพื้นฐานในระบบโทรศัพท์
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
“ หนึ่งร้อยสิบห้าปีที่ควรเปลี่ยนแปลง ” จากคณะทำงานฝ่ายสื่อสารฯ สชป
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
วิวัฒนาการของระบบโทรศัพท์
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 2 เครื่องโทรศัพท์.
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
World Time อาจารย์สอง Satit UP
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
Structure of Flowering Plant
ยิ้มก่อนเรียน.
บทที่ 10 วงจรรายได้.
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบโครงข่ายโทรศัพท์ ระบบโทรศัพท์ 2104-2213 บทที่ 8 ระบบโครงข่ายโทรศัพท์

สาระการเรียนรู้ 1. โครงข่ายท้องถิ่น 1. โครงข่ายท้องถิ่น 2. โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ 3. โครงข่ายการเรียกทางไกลต่างประเทศ 4. ลำดับขั้นของโครงข่าย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. จำแนกโครงข่ายโทรศัพท์ได้อย่างถูกต้อง 2. ยกตัวอย่างการเรียกที่เกิดขึ้นในโครงข่ายโทรศัพท์ ได้อย่างถูกต้อง 3. บอกลำดับขั้นของโครงข่ายโทรศัพท์ได้อย่างถูกต้อง

ระบบโครงข่ายโทรศัพท์

โครงข่ายโทรศัพท์ตามลักษณะการเรียก แบ่งออกเป็นได้ดังนี้คือ 1.โครงข่ายท้องถิ่น 2.โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ 3.โครงข่ายการเรียกทางไกลต่างประเทศ

โครงข่ายท้องถิ่น ( Local Network )

ชุมสายท้องถิ่น ( Local Exchange ) โครงข่ายท้องถิ่นที่มีโทรศัพท์เพียงสองเครื่อง ผู้เรียก A-Subscriber ผู้ถูกเรียก B-Subscriber ชุมสายท้องถิ่น ( Local Exchange ) ผู้เช่าฝ่ายเรียกและฝ่ายถูกเรียก อยู่ในพื้นที่เดียวกัน

การเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างชุมสายท้องถิ่น โครงข่ายท้องถิ่นแบบนี้อาจจะเป็นชุมสายท้องถิ่นในบริเวณเดียวกัน เช่น ชุมชนเมืองที่มีผู้อาศัยอยู่หนาแน่น อาจจะมี ชุมสายย่อยๆได้หลายๆชุมสาย การเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างชุมสายท้องถิ่น

ในโครงข่ายท้องถิ่นจะมีชุมสายต่อผ่าน ( Tandem Exchange ) เพื่อให้โครงข่ายสามารถที่จะรับการจราจรทางโทรศัพท์ได้ดีขึ้น ซึ่งชุมสายชนิดนี้จะทำหน้าที่ต่อผ่านอย่างเดียว ไม่มีสายผู้เช่าต่ออยู่กับชุมสายชนิดนี้

การเชื่อมต่อโทรศัพท์ผ่านชุมสายต่อผ่านในโครงข่ายท้องถิ่น

โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ ( Transit Network )

โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ ( Transit Network ) ชุมสายท้องถิ่น ชุมสายต่อผ่านทางไกล ชุมสายท้องถิ่น Sub.B Sub.A โครงข่ายท้องถิ่น โครงข่ายทรั้งค์ โครงข่ายท้องถิ่น ชุมสายท้องถิ่น ชุมสายต่อผ่านทางไกล

โดยปกติแล้ว ชุมสายต่อผ่าน ( Transit Exchange ) มักจะมีเส้นทางสำรอง ( Alternative Routes ) ต่อเชื่อมถึงกัน เพื่อเป็นทางเลือกให้สามารถที่จะติดต่อกันได้ในกรณีจำเป็น ยกตัวอย่างเช่น กรณีที่เส้นทางระหว่างชุมสายต่อผ่านถูกตัดขาด จะด้วยสาเหตุใดๆก็แล้วแต่ เช่น สายถูกตัดขาดจากการสร้างถนนใหม่ทำให้สายเคเบิลชำรุด หรือเส้นทางหลัก ถูกใช้งานจนเต็มแล้ว การติดต่อสื่อสารก็สามารถที่จะกระทำได้ โดยเปลี่ยนไปใช้เส้นทางสำรอง เพื่อให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่ขาดช่วงนั่นเอง

การใช้เส้นทางสำรอง ในโครงข่ายโทรศัพท์ เส้นทางหลัก ( ขาด ) ชุมสาย ก ชุมสาย ข เส้นทางรอง เส้นทางรอง ชุมสาย ค การใช้เส้นทางสำรอง ในโครงข่ายโทรศัพท์

โครงข่ายโทรศัพท์สาธารณะ ( Public Switched Telephone Network : PSTN ) สายผู้เช่า ( PSTN Network ) โครงข่ายโทรศัพท์สาธารณะ

โทรศัพท์สองเครื่องที่วางห่างไกลกัน โดยสามารถที่จะติดต่อสื่อสารกันได้ ในทางปฏิบัติแล้วการติดต่ออาจจะผ่านชุมสายมากกว่าหนึ่งชุมสายก็ได้

โครงข่ายการเรียกทางไกลต่างประเทศ ( International Telephone Network )

การติดต่อโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศอัตโนมัติ ( ISD : International Subscriber Dialing ) ผู้เช่าสามารถที่จะหมุนหมายเลขของผู้เช่าที่อยู่ต่างประเทศ โดยจะต้องประกอบด้วย International Prefix + Country Code + Area Code + Subscriber Number

ลำดับขั้นของโครงข่าย ( Hierarchical Network )

ลำดับขั้นของโครงข่าย ดาวเทียมสื่อสาร ระหว่างประเทศ ITSC TC TC TC SC SC SC PC PC PC LE LE LE RSU RSU เครื่องโทรศัพท์

ความหมาย ชุมสายระดับโครงข่ายระหว่างประเทศ ( International Telephone Switching Center : ITSC ) ชุมสายต่อผ่านทางไกล หรือ ชุมสายโทรศัพท์ระดับที่ 3 การเชื่อมต่อผ่านทางไกล ( Tertiary Center ) ชุมสายโทรศัพท์ระดับที่ 2 ( Secondary Center : SC ) ชุมสายโทรศัพท์ปฐมภูมิ ( Primary Center : PC ) ชุมสายท้องถิ่น ( Local Exchange :LE )

ลำดับขั้นของโครงข่ายโทรศัพท์ในประเทศไทย เขตนครหลวง จะแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. Tertiary Center : TC 2. Secondary Center : SC 3. Local Exchange : LE เขตภูมิภาค จะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ 3. Primary Center : PC 4. Local Exchange : LE

THE END