Techniques of Environmental Law 1 Direct or "Command and Control" 2 Self-Regulation 3 Provision of Environmental Information & Education 4 Judicial Review & Citizen Suit 5 Environmental Protection through Property Rights Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
1 Direct or "Command and Control" รัฐเป็นผู้ดูแล หรือ อำนวยการ ในการรักษา เช่น การรักษาความสะอาด การกำจัดของเสีย การออกระเบียบในการควบคุม และมีสภาพบังคับ เช่น พรบ.อุทยานแห่งชาติ ห้ามกระทำการที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิต พรบ.โรงงานอุตสาหกรรม ในการควบคุมมาตรฐานการปล่อยของเสียจากโรงงาน พรบ.อาหาร, พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค การมีฉลาก และควบคุมส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ พรบ.มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law 2 Self-Regulation การกำหนดกฎเกณฑ์ ในสภาพแวดล้อมในชุมชน เช่น การรักษาแม่น้ำ ลำคลอง การกำหนดกติกาขึ้นมาใช้ในชุมชน – ตามแนวคิดของสัญญา (ข้อตกลงร่วมกัน – แนวคิด ถ้าไม่มีกฎหมายห้ามไว้ ประชาชนย่อมมีอำนาจกระทำการได้) Self-Regulation (การกำหนดกติกาที่ใช้ในชุมชน) & Self-Monitoring (การตรวจสอบดูแล) ปัญหาคือ เมื่อระเบียบของชุมชน ขัดต่อกฎหมายในระดับที่สูงขึ้นไป ทำอย่างไร? ตัวอย่างกติกาในการจัดการป่าชุมชน หลักการใช้บังคับกฎหมาย ระดับกฎหมายสูง-ต่ำกว่า สิทธิชุมชน พหุนิยมทางกฎหมาย legal pluralism ISO กับการกำหนดมาตรฐานการผลิต – เพื่ออะไร? Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
การจัดการทรัพยกรของชุมชน Elinor Ostrom – Governing the Commons ระดับสากล ตัวบทบัญญัติ กฎหมายระหว่างประเทศ การบังคับใช้ เช่น การร้องเรียน การบอยคอต การค้า อย่างไม่เป็นทางการ - การเจรจาต่อรอง ระดับชาติ รัฐธรรมนูญ พรบ.ป่าไม้/อุทยาน การจับ ปรับ ย้ายออกจากพื้นที่ อย่างไม่เป็นทางการ – มติครม. การร่วมมือระหว่างรัฐกับชาวบ้าน ระดับชุมชน กติกาป่าชุมชน การไล่ออกจากพื้นที่ อย่างไม่เป็นทางการ – การซุบซิบนินทา การไม่คบหาสมาคม Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
3 Provision of Environmental Information & Education การประกาศกฎเกณฑ์ทางสิ่งแวดล้อม การให้ความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ สุขภาวะ สิ่งแวดล้อม อาหาร/ของใช้ต่างๆ เช่นคลื่นจากโทรศัทพ์มือถือ สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค การอบรม รณรงค์และเผยแพร่การแยกขยะ การมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม ต้องการข้อมูลข่าวสาร และความรู้เกี่ยวกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และต่อตัวคน Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
4 Judicial Review & Citizen Suit ระวังเรื่องนิติวิธี ของระบบกฎหมาย – การใช้กฎหมายในระบบกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร (ที่คำพิพากษาเป็นเพียงการตีความ และการบังคับใช้กฎหมายขององค์กรตุลาการ) กับระบบกฎหมายแบบ Common Law/ Case Law (ที่คำพิพากษาของศาลถือว่าเป็นที่มาหลักของกฎหมาย) การฟ้องคดี เพื่อสร้างบรรทัดฐาน ในการใช้กฎหมาย ข้อสังเกตสำคัญ – ในระบบกฎหมายไทย คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลผูกพันทุกองค์กร Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law การจัดประเภทของศาลเป็น 3 ศาล (ไม่รวมศาลทหาร) 1 ศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชน (รวมถึงสิทธิในสิ่งแวดล้อม การฟ้องหน่วยงานของรัฐ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม) 2 ศาลปกครอง เพื่อเรียกร้องให้หน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่ในการดูแล รักษา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมให้ดำเนินการตามหน้าที่ซึ่งกฎหมายกำหนด 3 ศาลยุติธรรม ในการดำเนินคดีอาญา สำหรับผู้ละเมิดกฎหมายที่จัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และสำหรับการเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง รวมถึงการงดเว้นกระทำการที่ละเมิดสิทธิในสิ่งแวดล้อม Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
5 Environmental Protection through Property Rights การใช้สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในทรัพย์สิน มองได้ทั้งสองทาง เจ้าของกรรมสิทธิ์ มีอำนาจจะกระทำอย่างใดๆก็ได้ในทรัพย์สินของตนเอง (ตราบเท่าที่ไม่กระทบสิทธิของผู้อื่น) ในขณะเดียวกัน ก็มีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์ – เรื่องเดือดร้อนรำคาญ Nuisance Zoning ผังเมือง Individual rights & collective rights Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law Anatomy of Law บททั่วไป – ชื่อกฎหมาย เวลาในการประกาศใช้ บทนิยาม และผู้รักษาการตามกฎหมาย (เพื่อออกกฎหมายลำดับรองลงไป – ข้อสังเกต ปกติจะเป็นรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ แต่หากผู้รักษาการตามกฎหมายเป็น นายกรัฐมนตรี แสดงว่ากฎหมายนั้นจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายๆกระทรวง) ส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ – ส่วนใหญ่จะเป็นการกำหนดว่ากฎหมายนั้นต้องการจะทำอะไร เช่น การกำหนดว่ามีคณะกรรมการ เพื่อดำเนินการบางอย่าง – ที่มาของคณะกรรมการ อำนาจหน้าที่ของกรรมการนั้น รวมถึงการกำหนดว่าห้ามทำ/ให้ทำอะไร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมายนั้น ส่วนที่เป็นสภาพบังคับ – การกำหนดโทษทางอาญา/แพ่ง/มาตรการทางปกครอง เพื่อให้การละเมิดกฎหมายนั้นมีผลทางกฎหมาย บทเฉพาะกาล – เป็นการกำหนดระยะเปลี่ยนผ่านของกฎหมายว่าจำเป็นต้องสร้างอำนาจเฉพาะกิจ เช่นให้องค์กรเดิมยังมีหน้าที่อยู่ การกำหนดให้มีการออกกฎหมายลำดับรองในการกำหนดขั้นตอนรายละเอียดต่างๆ หรือการกำหนดให้มีบัญชีแนบท้ายกฎหมาย ในการกำหนดชนิดประเภทสิ่งต่างๆที่กฎหมายคุ้มครอง/ควบคุม (กฎหมายบางฉบับอาจไม่มีระยะเปลี่ยนผ่านก็ได้) กฎหมายในรูปแบบของพระราชบัญญัติ มักจะประกอบด้วยโครงสร้างเช่นนี้ Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
กฎหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อม แหล่งพลังงาน จากซากฟอสซิล/ Renewable energy การผลิตสินค้า 1 เกษตรกรรม 2 อุตสาหกรรม 3 พาณิชยกรรม กฎหมายเกี่ยวกับชีวิต ความเป็นอยู่ 1 ที่อยู่อาศัย 2 อาหาร เครื่องนุ่งห่ม 3 ยา รักษาโรค 4 ยานพาหนะ 5 การสื่อสาร การจัดการของเสีย มลพิษ สารพิษ วัตถุอันตราย กฎหมายจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 1 ที่ดิน 2 น้ำ 3 แร่ธาตุ 4 พืชและสัตว์ หน่วยงานกลางที่ดูแลสิ่งแวดล้อม ส่วนท้องถิ่นที่ดูแล Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
ในกฎหมายด้านต่างๆ มีพรบ.อะไรบ้าง? กฎหมายจำแนกตามประเภทในการจัดการ กฎหมายโดยรวมที่ให้อำนาจดูแลสิ่งแวดล้อม แหล่งข้อมูลจาก เวปไซด์จาก public-law.net (ดูห้องสมุดกฎหมาย > กฎหมายมหาชนทางสิ่งแวดล้อม) http://public-law.net/ Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law
การบ้าน – ให้นักศึกษา ไปค้นหากฎหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร มี 1 ฉบับ ทำความเข้าใจ ว่ากฎหมายฉบับนั้น มีการกำหนดโครงสร้างและการบังคับใช้อย่างไร และพิจารณาว่ามีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างไร ภายใต้กฎหมายดังกล่าว คราวหน้า กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ และหลักการของกฎหมายสิ่งแวดล้อม The End ☃ Chapter 4 Structure and Techniques of Environmental Law