กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Smart Thailand 2020: Transforming e-Government to i-Government
Advertisements

โครงการพัฒนา e-Thailand และ e-Government
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
เทคโนโลยีการศึกษายุคอีนำไอ้
ระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ (ศูนย์ข้อมูล)
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เอกสารประกอบการนำเสนอเพื่อแนวความคิด โครงการนำร่องการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศด้านการค้าการลงทุน สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่ ADS. Survey and Computer :
Mini Factory Lamphun. CONTENTS Vision Mission Curriculum Ultimate Goal Process & Machines SMT.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
Management system at Dell
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
เทคโนโลยีสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
เลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ
แนวทางการตลาดและขายลูกค้า SMEs
: หลักการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
นโยบาย 7 ข้อหลัก ภ.3 7 นโยบายหลัก ภ.3 เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่าย
New Chapter of Investment Promotion
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
สานพลังรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประชาชน
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
การจัดการองค์ความรู้
บทที่ 6 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
Road to the Future - Future is Now
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ระบบโทรคมนาคม สำหรับการจัดการซัพพลายเชน
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
สินค้าและบริการ.
Health Promotion & Environmental Health
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
GROUP ‘2’ slide to unlock.
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
ประเทศไทย 4.0 โมเดลการขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
The Association of Thai Professionals in European Region
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
13 October 2007
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
สรุปผลงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การเขียนย่อหน้า.
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
การสวัสดิการกองทัพเรือ
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสัมมนาระดมความคิดเห็น CIO ระดับกระทรวง วันอังคารที่ 26 ธันวาคม 2549 ณ ห้องประชุม ICT3

กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1 9.30-10.00 ลงทะเบียน 10.00-10.05 กล่าววัตถุประสงค์ และต้อนรับ โดย คุณอนุกูล แต้มประเสริฐ นายกสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย 10.05-10.15 ประธานกล่าวเปิดการประชุม โดย คุณธานีรัตน์ ศิริปะชะนะ ผู้ตรวจฯ MICT 10.15-11.00 นำเสนอกรอบนโยบายเพื่อการจัดทำแผนแม่บทฯฉบับที่ 2 - กรอบ IT2010 - แผนแม่บทฯ 1 - นโยบายรัฐบาล/นโยบาย รมว. ICT - แผนพัฒนาฯ ฉบับ 10 โดย ดร. ปานใจ ธารทัศนวงศ์ 11.00-12.00 ระดมสมองจาก CIO กระทรวงต่างๆ

แนวทางในการจัดทำแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 IT-2010: กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 (2001-2010) ของประเทศไทย 1 แผนแม่บท ICI ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2545-2549 (2002-2006) ของประเทศไทย 2 นโยบายรัฐบาล พ.ศ.2549/2550 3 ข้อคิดเห็นจากสมาคม/ ผู้ที่เกี่ยวข้อง/GURU ในแวดวง ICT แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) 4 แผนแม่บท ICI ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550-2554 (2002-2006) ของประเทศไทย 5

Strengthen Information Infrastructure & Industry IT2010: นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาประเทศไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เป้าหมายของนโยบาย IT2010 ในปี 2553 พัฒนาด้าน IT ให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพในการเป็นผู้นำ (potential leaders) คือ มีการลงทุนในการพัฒนาทักษะกำลังคน มีการกระจายเทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างกว้างขวาง จำนวนแรงงานความรู้ของไทยจะมี 30% ของแรงงานในประเทศทั้งหมด สัดส่วนของอุตสาหกรรมบนฐานความรู้จะเพิ่มเป็น 50% ของ GDP กรอบนโยบาย Knowledge- based Economy Build Human Capital Promote Innovation พัฒนาทักษะของข้าราชการ (E-government) พัฒนาบุคลากรและนักเรียน/นักศึกษา (E-Education) ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (E-Society) พัฒนาบุคลากรให้เป็นแรงงานความรู้ (E-industry & commerce) Strengthen Information Infrastructure & Industry การเปลี่ยนแปลงในระบบบริหารและบริการภาครัฐ (E-govt) ความสามารถเชิงสร้างสรรค์ของเยาวชนไทยในภาค การศึกษา(E-education) การถ่ายทอดภูมิปัญญา ท้องถิ่น (E-society) R&D และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในภาคเศรษฐกิจ (E-industry & commerce) พัฒนาเครือข่ายและระบบบริหารจัดการ IT ภาครัฐ (E-government) พัฒนาเครือข่ายการศึกษาและตลาดการศึกษา (E-Education) พัฒนาเครือข่ายสารสนเทศท้องถิ่นและชนบท (E-Society) พัฒนา Supply Chain และอุตสาหกรรม Electronic (E-industry) พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรม Software (E- commerce)

เป้าหมายในแต่ละยุทธศาสตร์ IT 2010: ยุทธศาสตร์ IT 2010 Flagships เป้าหมายในแต่ละยุทธศาสตร์ ลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ (digital divide) ของสังคมในยุคสารสนเทศ และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี e-Society พัฒนาและเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ในทุกระดับของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาสู่การเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ e-Education ส่งเสริมและพัฒนาการใช้และการผลิต IT ในภาคเอกชนในปี 53 เพื่อมุ่งสู่การเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ความรู้เป็นฐานในการผลิต e-Industry เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย โดยเน้น e-commerce เพื่อการส่งออก การค้า บริการ และภายในประเทศ e-Commerce ใช้ IT ในระบบบริหาร (back office) ครบวงจรในปี 47 ให้บริการผ่านระบบ E ได้ร้อยละ 70 ในปี 48 และครบทุกขั้นตอน ในปี 53 e-Government

แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 1 วิสัยทัศน์ ผู้ประกอบการและประชาชนส่วนใหญ่เข้าถึงข้อมูลจากระบบบริการ อย่างทั่วถึงและยุติธรรม สอดคล้องกับเป้าหมายใน IT2010 1. ในการพัฒนาสู่ potential Leader 2. การเพิ่มแรงงานความรู้ และ อุตสาหกรรมบนฐานความรู้ เป้าหมาย พัฒนา/ยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศโดยใช้ ICT ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยเพิ่มการประยุกต์ใช้ ICT ด้านการศึกษา และฝึกอบรม สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในชนบทเพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ 7 ด้าน การพัฒนาอุตสาหกรรม ICTให้เป็นผู้นำในภูมิภาค (10 แผนงาน) การใช้ ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทยและสังคมไทย ( 9 แผนงาน) การปฏิรูปและสร้างศักยภาพ R&D ด้าน ICT (7 แผนงาน) ยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต (4 แผนงาน) การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยายตลาดต่างประเทศ (4 แผนงาน) การส่งเสริม SMEs ใช้ ICT (8 แผนงาน) การนำ ICT มาใช้ในการบริหารและบริการภาครัฐ (7 แผน)

ประเมินแผนแม่บทฯฉบับที่ 1ผ่านการวิเคราะห์งบประมาณ ? ? มีข้อสังเกตว่ายุทธศาสตร์ที่ 3 --เรื่อง R&D และยุทธศาสตร์ที่ 5 & 6 -- เรื่องการพัฒนาและ ส่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการไม่ได้รัอนุมัติงบประมาณ อาจจะเนื่องมาจากเป็นเรื่องค่อนข้างไกลตัว ไม่เหมือนยุทธศาสตร์ที่ 7 ที่ค่อนข้างชัดในการนำ ICT มาใช้ในภาครัฐ จึงได้รับงบประมาณมากที่สุด นัยเชิงนโยบาย => เน้นการจัดทำยุทธศาสตร์ที่ชี้ให้เห็นผลกระทบ/ประโยชน์ที่ชัดเจนขึ้น

นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับ ICT โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ - การบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ โปร่งใส - วางรากฐานการทำงานอย่างเป็นระบบที่ดี เน้นการลงทุนประเภทที่ จะเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่าย โครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา - จัดทำแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา เพื่อเร่งรัดให้มีการ สร้างปัญญาในสังคม สนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียง และสร้าง ความสามารถของประเทศอย่างยั่งยืน - สนับสนุนให้ภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกันสร้างนวัตกรรม

นโยบาย รมว. ICT แผนแม่บทที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ แผนแม่บทเป็นเครื่องมือที่ชี้ให้เห็นจุดอ่อน และมีข้อเสนอแนะในการแก้ไขจุดอ่อน ชี้ให้เห็นว่าโครงสร้างโทรคมนาคมมีปัญหาอะไร ปัญหาการถูกครอบงำทางการเมือง =>การได้/เสียเปรียบ การจัดตั้ง กสช. ที่ยังตั้งไม่ได้ ปัญหาประสิทธิภาพ=> การลงทุนซ้ำซ้อน ไม่เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ชี้ให้เห็นว่า TOT & CAT ใน 5 ปีข้างหน้า จะต้องรวมกันและทำหน้าที่เป็น บริษัทที่ประกอบกิจการ Core Network ของประเทศ และเป็นของรัฐบาลไทย บจ.ไปรษณีย์ไทย ให้กลับมาเป็นไปรษณีย์ไทย เหมือนเดิม เสนอวิธีการแก้ไขปัญหาที่เป็นกลาง เช่น การแก้ไขปัญหาระบบโทรคมนาคม การขอสัมปทาน การต่ออายุสัมปทาน รวมถึงการขจัดปัญหาเก่าที่ทำให้ ICT ไม่พัฒนา

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกับ ICT ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ - การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศมีมากขึ้น คนไทยมีคอมพิวเตอร์ใช้ ๕๗ เครื่องต่อ ประชากรพันคน การเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ๑๑๖.๗ คนต่อประชากรพันคน แต่ ยังคงต่ำกว่าอีกหลายประเทศมาก => เร่งขยายพื้นที่สารสนเทศให้เด็กและเยาวชน ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน - ภาคบริการมีฐานที่กว้างขึ้นจากความก้าวหน้าของบริการด้านโทรคมนาคมและการ สื่อสาร - มีปัจจัยสนับสนุนจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น - พัฒนาโครงข่ายและบริการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึง ความคุ้มค่าในการลงทุนและมุ่งเน้นให้มีการแข่งขันด้านการให้บริการอย่างเสรี เพื่อสนับสนุนภาคการผลิต ภาคธุรกิจ และบริการ รองรับการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็คทรอนิคส์ สำหรับให้บริการแก่ประชาชน และภาคธุรกิจ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกับ ICT (ต่อ) การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ - การจัดหาคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนอย่างทั่วถึง - การลงทุนเพื่อพัฒนาบริการภาครัฐ พัฒนาโครงข่าย IT ภาครัฐ และระบบ e- Government เช่น e- Health e-Education และ e-Services เป็นต้น - การลงทุนเพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานที่สมดุลและเป็นธรรม - ขยายโครงข่ายการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมให้ครอบคลุมพื้นที่ชนบท - การลงทุนด้าน IT ในโรงเรียนและชุมชน สร้างโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และพัฒนาความรู้ของนักเรียนและประชาชนในชนบท - สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลในทุกระดับและการเชื่อมโยงโครงข่ายข้อมูล ข่าวสาร ระหว่างหน่วยงานระดับนโยบาย ตลอดจนระดับพื้นที่และท้องถิ่น - ดำเนินโครงการปรับปรุงกฎ ระเบียบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศ

สรุปข้อคิดเห็นในการจัดทำแผนแม่บทฯ จาก ATSI ประเด็นด้านทรัพยากรบุคคล ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้าน IT management ให้ความสำคัญกับการผลิตบุคลากรด้าน ICT หลักสูตรการศึกษาควรจะสัมพันธ์กับความต้องการบุคลากรในภาคอุตฯ ประเด็นภาพรวมเชิงนโยบาย - ภาครัฐ เน้น citizen centric พัฒนาการบริการของรัฐให้ เป็นแบบ One stop services - ปรับปรุง government procurement ให้เอื้อต่อผู้ประกอบการไทยทั้ง HW, SW, Services - ให้ความสำคัญกับความสามารถในการนำ ICT ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ - ส่งเสริม Internet Services และ E-Commerce - คำนึงถึงความต้องการในภาคอุตสาหกรรม - เน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม - ส่งเสริมการสร้าง cluster ในกลุ่มอุตสาหกรรม Software ประเด็นด้านการบริหารจัดการ การสร้างกรอบการพัฒนา ICT เพื่อให้มีทิศทางเดียวกัน มีแผนปฏิบัติการ ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างองค์กร และมาตรฐานของระบบที่แตกต่างกัน มีคณะทำงาน/กรรมการร่วม (ภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการ) พัฒนามาตรฐานของอุตสาหกรรม IT เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ และบุคลากร IT สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้ IT โดยพัฒนาระบบความปลอดภัย รณรงค์และให้ความรู้แก่สาธารณะมากขึ้นเกี่ยวกับ ICT และสมาคมที่เกี่ยวข้อง ประเด็นด้าน Innovation ควรให้สิทธิประโยชน์แก่บริษัทของไทยที่สามารถคิดค้น software product (เช่น สิทธิประโยชน์ทางภาษี) ส่งเสริม IPR เพื่อให้เป็นประโยชน์กับผู้ผลิต ผู้คิดค้น และผู้ใช้ ส่งเสริม R&D โดยจัดตั้งกองทุนร่วมภาครัฐ-เอกชน

สรุปข้อคิดเห็นในการจัดทำแผนแม่บทฯจาก ATCI ประเด็นภาพรวมเชิงนโยบาย เร่งสร้าง Demand ของตลาดในประเทศ โดยมีรัฐและ SME เป็นผู้นำในการใช้ ICT สนับสนุนอุตสาหกรรม ICT ให้เติบโตแข็งแรง ควบคู่ไปกับการใช้เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประเด็นด้านทรัพยากรบุคคล พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ประเด็นด้านการบริหารจัดการ - จัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อรับผิดชอบการบริหารแผนให้บรรลุผล (~IDA) - สนับสนุนให้เอกชนมีส่วนร่วมในโครงการ/แผนงานของรัฐ เพื่อลดต้นทุน ประเด็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน เร่งพัฒนาเครือข่ายโทคมนาคมให้มี คุณภาพ ทั่วถึง และราคาถูก

สรุปข้อคิดเห็นในการจัดทำแผนแม่บทฯจาก TCT ประเด็นภาพรวมเชิงนโยบาย การจัดตั้ง กสช. สัญญาสัมปทานของ TOT & CAT การเข้าถึงบริการสื่อสารโทรคมนาคมของไทย ประเด็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน แนวโน้มความต้องการบริการสื่อสาร โทรคมนาคม โครงข่ายสาย (Wireless Network การบริการ broadband แบบด้วย สาย การบริการ broadband แบบไร้สาย ความจำเป็นที่จะต้องมี Submarine Cable Gateway สำหรับ ICT Hub ภูมิภาค

สรุปแนวทางในการจัดทำแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 สานต่อกรอบนโยบาย IT2010 => e-Industry, e-Commerce, e-Government e-Education, e-Society พิจารณาทบทวนแผนแม่บทฯ ICT #1 => ส่งเสริม/พัฒนาต่อเนื่อง -แผนงาน/โครงการที่ลงทุนไปมากแล้ว เช่น e-Government -แผนงาน/โครงการทีเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการพัฒนา ICT เช่น HR, Infrastructure => ผลักดันต่อ/ยกเลิก - แผนงาน/โครงการที่ไม่ได้/ได้งบประมาณน้อย พิจารณาความเหมาะสม กับสถานการณ์ใน 5 ปีข้างหน้า และความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล/ แผนฯ 10

สรุปแนวทางในการจัดทำแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล => เน้นการใช้ ICT ในการสร้างเครือข่ายและการเรียนรู้ รวมถึงการสร้างนวัตกรรม ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 => เน้นการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน => การพัฒนาฐานข้อมูล => การให้ความสำคัญกับ ICT เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่าง ทั่วถึง และพัฒนาบริการภาครัฐ ที่จะนำไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพ/ลด ต้นทุนภาคเอกชน ให้ความสำคัญกับประเด็นเชิงนโยบายที่สมาคม/ผู้ที่เกี่ยวข้องนำเสนอ

กรอบในการระดมความคิดเห็น การใช้ ICT ในภาคเศรษฐกิจ (e-Industry, e-Commerce) การใช้ ICT ในภาคสังคม (e-Education, e-Society) e - G O V E R N M T ปัญหาอุปสรรคในการ Implement แผนงาน/โครงการตามแผนฯแม่บท#1 เช่น ข้อจำกัดด้านงบประมาณในการส่งเสริมผู้ประกอบการใช้ ICT ในการขยายตลาดต่างประเทศ และส่งเสริม SME หรือข้อจำกัดด้านกฎหมายในการพัฒนา e-services เป็นต้น แผนงาน/โครงการที่เห็นควรดำเนินการต่อเนื่อง ยกเลิก มีโครงการใหม่ จากแผนแม่บทฯ 1 ทิศทางการส่งเสริมการพัฒนา ICT ในภาคเศรษฐกิจ ในมุมมอง CIO ของกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าน่าจะมีความจำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนา ICT ในระยะ 5 ปีข้างหน้า ปัญหาอุปสรรคในการ Implement แผนงาน/โครงการตามแผนฯแม่บท#1 เช่น ข้อจำกัดด้านความรู้ความสามารถของบุคลากรในการนำแผนงาน/โครงการไปปฏิบัติ การขยายโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ เป็นต้น แผนงาน/โครงการที่เห็นควรดำเนินการต่อเนื่อง ยกเลิก มีโครงการใหม่ จากแผนแม่บทฯ 1 ทิศทางการส่งเสริมการพัฒนา ICT ในภาคสังคม ในมุมมองของ CIO ของกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าน่าจะมีความจำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนา ICT ในระยะ 5 ปีข้างหน้า

www.ictplan.su.ac.th

ประเด็นขอความเห็นจาก CIO ต่างๆ มุมมองเกี่ยวกับทิศทาง ICT โดยเฉพาะ E-Government ใน 5 ปีข้างหน้า ที่เห็นว่าเป็นประเด็นสำคัญสำหรับประเทศไทย ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนา E-Government และข้อเสนอแนะ ยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ 5 ลำดับแรกที่ต้องการผลักดันให้เกิดขึ้นใน 5 ปีข้างหน้า เรียงลำดับความสำคัญ (ระยะเร่งด่วนใน 1 ปี,......... 5 ปี เป็นต้น) ปัจจัยสนับสนุนที่จะเอื้อต่อการพัฒนา E-Government ใน 5 ปีข้างหน้า ข้อคิดเห็นอื่นๆ