การสัมมนาระดมความคิดเห็น CIO ระดับกระทรวง วันอังคารที่ 26 ธันวาคม 2549 ณ ห้องประชุม ICT3
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1 9.30-10.00 ลงทะเบียน 10.00-10.05 กล่าววัตถุประสงค์ และต้อนรับ โดย คุณอนุกูล แต้มประเสริฐ นายกสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย 10.05-10.15 ประธานกล่าวเปิดการประชุม โดย คุณธานีรัตน์ ศิริปะชะนะ ผู้ตรวจฯ MICT 10.15-11.00 นำเสนอกรอบนโยบายเพื่อการจัดทำแผนแม่บทฯฉบับที่ 2 - กรอบ IT2010 - แผนแม่บทฯ 1 - นโยบายรัฐบาล/นโยบาย รมว. ICT - แผนพัฒนาฯ ฉบับ 10 โดย ดร. ปานใจ ธารทัศนวงศ์ 11.00-12.00 ระดมสมองจาก CIO กระทรวงต่างๆ
แนวทางในการจัดทำแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 IT-2010: กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 (2001-2010) ของประเทศไทย 1 แผนแม่บท ICI ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2545-2549 (2002-2006) ของประเทศไทย 2 นโยบายรัฐบาล พ.ศ.2549/2550 3 ข้อคิดเห็นจากสมาคม/ ผู้ที่เกี่ยวข้อง/GURU ในแวดวง ICT แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) 4 แผนแม่บท ICI ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550-2554 (2002-2006) ของประเทศไทย 5
Strengthen Information Infrastructure & Industry IT2010: นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาประเทศไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เป้าหมายของนโยบาย IT2010 ในปี 2553 พัฒนาด้าน IT ให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพในการเป็นผู้นำ (potential leaders) คือ มีการลงทุนในการพัฒนาทักษะกำลังคน มีการกระจายเทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างกว้างขวาง จำนวนแรงงานความรู้ของไทยจะมี 30% ของแรงงานในประเทศทั้งหมด สัดส่วนของอุตสาหกรรมบนฐานความรู้จะเพิ่มเป็น 50% ของ GDP กรอบนโยบาย Knowledge- based Economy Build Human Capital Promote Innovation พัฒนาทักษะของข้าราชการ (E-government) พัฒนาบุคลากรและนักเรียน/นักศึกษา (E-Education) ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (E-Society) พัฒนาบุคลากรให้เป็นแรงงานความรู้ (E-industry & commerce) Strengthen Information Infrastructure & Industry การเปลี่ยนแปลงในระบบบริหารและบริการภาครัฐ (E-govt) ความสามารถเชิงสร้างสรรค์ของเยาวชนไทยในภาค การศึกษา(E-education) การถ่ายทอดภูมิปัญญา ท้องถิ่น (E-society) R&D และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในภาคเศรษฐกิจ (E-industry & commerce) พัฒนาเครือข่ายและระบบบริหารจัดการ IT ภาครัฐ (E-government) พัฒนาเครือข่ายการศึกษาและตลาดการศึกษา (E-Education) พัฒนาเครือข่ายสารสนเทศท้องถิ่นและชนบท (E-Society) พัฒนา Supply Chain และอุตสาหกรรม Electronic (E-industry) พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรม Software (E- commerce)
เป้าหมายในแต่ละยุทธศาสตร์ IT 2010: ยุทธศาสตร์ IT 2010 Flagships เป้าหมายในแต่ละยุทธศาสตร์ ลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ (digital divide) ของสังคมในยุคสารสนเทศ และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี e-Society พัฒนาและเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ในทุกระดับของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาสู่การเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ e-Education ส่งเสริมและพัฒนาการใช้และการผลิต IT ในภาคเอกชนในปี 53 เพื่อมุ่งสู่การเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ความรู้เป็นฐานในการผลิต e-Industry เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย โดยเน้น e-commerce เพื่อการส่งออก การค้า บริการ และภายในประเทศ e-Commerce ใช้ IT ในระบบบริหาร (back office) ครบวงจรในปี 47 ให้บริการผ่านระบบ E ได้ร้อยละ 70 ในปี 48 และครบทุกขั้นตอน ในปี 53 e-Government
แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 1 วิสัยทัศน์ ผู้ประกอบการและประชาชนส่วนใหญ่เข้าถึงข้อมูลจากระบบบริการ อย่างทั่วถึงและยุติธรรม สอดคล้องกับเป้าหมายใน IT2010 1. ในการพัฒนาสู่ potential Leader 2. การเพิ่มแรงงานความรู้ และ อุตสาหกรรมบนฐานความรู้ เป้าหมาย พัฒนา/ยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศโดยใช้ ICT ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยเพิ่มการประยุกต์ใช้ ICT ด้านการศึกษา และฝึกอบรม สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในชนบทเพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ 7 ด้าน การพัฒนาอุตสาหกรรม ICTให้เป็นผู้นำในภูมิภาค (10 แผนงาน) การใช้ ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทยและสังคมไทย ( 9 แผนงาน) การปฏิรูปและสร้างศักยภาพ R&D ด้าน ICT (7 แผนงาน) ยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต (4 แผนงาน) การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยายตลาดต่างประเทศ (4 แผนงาน) การส่งเสริม SMEs ใช้ ICT (8 แผนงาน) การนำ ICT มาใช้ในการบริหารและบริการภาครัฐ (7 แผน)
ประเมินแผนแม่บทฯฉบับที่ 1ผ่านการวิเคราะห์งบประมาณ ? ? มีข้อสังเกตว่ายุทธศาสตร์ที่ 3 --เรื่อง R&D และยุทธศาสตร์ที่ 5 & 6 -- เรื่องการพัฒนาและ ส่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการไม่ได้รัอนุมัติงบประมาณ อาจจะเนื่องมาจากเป็นเรื่องค่อนข้างไกลตัว ไม่เหมือนยุทธศาสตร์ที่ 7 ที่ค่อนข้างชัดในการนำ ICT มาใช้ในภาครัฐ จึงได้รับงบประมาณมากที่สุด นัยเชิงนโยบาย => เน้นการจัดทำยุทธศาสตร์ที่ชี้ให้เห็นผลกระทบ/ประโยชน์ที่ชัดเจนขึ้น
นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับ ICT โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ - การบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ โปร่งใส - วางรากฐานการทำงานอย่างเป็นระบบที่ดี เน้นการลงทุนประเภทที่ จะเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่าย โครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา - จัดทำแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา เพื่อเร่งรัดให้มีการ สร้างปัญญาในสังคม สนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียง และสร้าง ความสามารถของประเทศอย่างยั่งยืน - สนับสนุนให้ภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกันสร้างนวัตกรรม
นโยบาย รมว. ICT แผนแม่บทที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ แผนแม่บทเป็นเครื่องมือที่ชี้ให้เห็นจุดอ่อน และมีข้อเสนอแนะในการแก้ไขจุดอ่อน ชี้ให้เห็นว่าโครงสร้างโทรคมนาคมมีปัญหาอะไร ปัญหาการถูกครอบงำทางการเมือง =>การได้/เสียเปรียบ การจัดตั้ง กสช. ที่ยังตั้งไม่ได้ ปัญหาประสิทธิภาพ=> การลงทุนซ้ำซ้อน ไม่เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ชี้ให้เห็นว่า TOT & CAT ใน 5 ปีข้างหน้า จะต้องรวมกันและทำหน้าที่เป็น บริษัทที่ประกอบกิจการ Core Network ของประเทศ และเป็นของรัฐบาลไทย บจ.ไปรษณีย์ไทย ให้กลับมาเป็นไปรษณีย์ไทย เหมือนเดิม เสนอวิธีการแก้ไขปัญหาที่เป็นกลาง เช่น การแก้ไขปัญหาระบบโทรคมนาคม การขอสัมปทาน การต่ออายุสัมปทาน รวมถึงการขจัดปัญหาเก่าที่ทำให้ ICT ไม่พัฒนา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกับ ICT ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ - การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศมีมากขึ้น คนไทยมีคอมพิวเตอร์ใช้ ๕๗ เครื่องต่อ ประชากรพันคน การเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ๑๑๖.๗ คนต่อประชากรพันคน แต่ ยังคงต่ำกว่าอีกหลายประเทศมาก => เร่งขยายพื้นที่สารสนเทศให้เด็กและเยาวชน ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน - ภาคบริการมีฐานที่กว้างขึ้นจากความก้าวหน้าของบริการด้านโทรคมนาคมและการ สื่อสาร - มีปัจจัยสนับสนุนจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น - พัฒนาโครงข่ายและบริการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึง ความคุ้มค่าในการลงทุนและมุ่งเน้นให้มีการแข่งขันด้านการให้บริการอย่างเสรี เพื่อสนับสนุนภาคการผลิต ภาคธุรกิจ และบริการ รองรับการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็คทรอนิคส์ สำหรับให้บริการแก่ประชาชน และภาคธุรกิจ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกับ ICT (ต่อ) การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ - การจัดหาคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนอย่างทั่วถึง - การลงทุนเพื่อพัฒนาบริการภาครัฐ พัฒนาโครงข่าย IT ภาครัฐ และระบบ e- Government เช่น e- Health e-Education และ e-Services เป็นต้น - การลงทุนเพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานที่สมดุลและเป็นธรรม - ขยายโครงข่ายการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมให้ครอบคลุมพื้นที่ชนบท - การลงทุนด้าน IT ในโรงเรียนและชุมชน สร้างโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และพัฒนาความรู้ของนักเรียนและประชาชนในชนบท - สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลในทุกระดับและการเชื่อมโยงโครงข่ายข้อมูล ข่าวสาร ระหว่างหน่วยงานระดับนโยบาย ตลอดจนระดับพื้นที่และท้องถิ่น - ดำเนินโครงการปรับปรุงกฎ ระเบียบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศ
สรุปข้อคิดเห็นในการจัดทำแผนแม่บทฯ จาก ATSI ประเด็นด้านทรัพยากรบุคคล ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้าน IT management ให้ความสำคัญกับการผลิตบุคลากรด้าน ICT หลักสูตรการศึกษาควรจะสัมพันธ์กับความต้องการบุคลากรในภาคอุตฯ ประเด็นภาพรวมเชิงนโยบาย - ภาครัฐ เน้น citizen centric พัฒนาการบริการของรัฐให้ เป็นแบบ One stop services - ปรับปรุง government procurement ให้เอื้อต่อผู้ประกอบการไทยทั้ง HW, SW, Services - ให้ความสำคัญกับความสามารถในการนำ ICT ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ - ส่งเสริม Internet Services และ E-Commerce - คำนึงถึงความต้องการในภาคอุตสาหกรรม - เน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม - ส่งเสริมการสร้าง cluster ในกลุ่มอุตสาหกรรม Software ประเด็นด้านการบริหารจัดการ การสร้างกรอบการพัฒนา ICT เพื่อให้มีทิศทางเดียวกัน มีแผนปฏิบัติการ ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างองค์กร และมาตรฐานของระบบที่แตกต่างกัน มีคณะทำงาน/กรรมการร่วม (ภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการ) พัฒนามาตรฐานของอุตสาหกรรม IT เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ และบุคลากร IT สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้ IT โดยพัฒนาระบบความปลอดภัย รณรงค์และให้ความรู้แก่สาธารณะมากขึ้นเกี่ยวกับ ICT และสมาคมที่เกี่ยวข้อง ประเด็นด้าน Innovation ควรให้สิทธิประโยชน์แก่บริษัทของไทยที่สามารถคิดค้น software product (เช่น สิทธิประโยชน์ทางภาษี) ส่งเสริม IPR เพื่อให้เป็นประโยชน์กับผู้ผลิต ผู้คิดค้น และผู้ใช้ ส่งเสริม R&D โดยจัดตั้งกองทุนร่วมภาครัฐ-เอกชน
สรุปข้อคิดเห็นในการจัดทำแผนแม่บทฯจาก ATCI ประเด็นภาพรวมเชิงนโยบาย เร่งสร้าง Demand ของตลาดในประเทศ โดยมีรัฐและ SME เป็นผู้นำในการใช้ ICT สนับสนุนอุตสาหกรรม ICT ให้เติบโตแข็งแรง ควบคู่ไปกับการใช้เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประเด็นด้านทรัพยากรบุคคล พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ประเด็นด้านการบริหารจัดการ - จัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อรับผิดชอบการบริหารแผนให้บรรลุผล (~IDA) - สนับสนุนให้เอกชนมีส่วนร่วมในโครงการ/แผนงานของรัฐ เพื่อลดต้นทุน ประเด็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน เร่งพัฒนาเครือข่ายโทคมนาคมให้มี คุณภาพ ทั่วถึง และราคาถูก
สรุปข้อคิดเห็นในการจัดทำแผนแม่บทฯจาก TCT ประเด็นภาพรวมเชิงนโยบาย การจัดตั้ง กสช. สัญญาสัมปทานของ TOT & CAT การเข้าถึงบริการสื่อสารโทรคมนาคมของไทย ประเด็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน แนวโน้มความต้องการบริการสื่อสาร โทรคมนาคม โครงข่ายสาย (Wireless Network การบริการ broadband แบบด้วย สาย การบริการ broadband แบบไร้สาย ความจำเป็นที่จะต้องมี Submarine Cable Gateway สำหรับ ICT Hub ภูมิภาค
สรุปแนวทางในการจัดทำแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 สานต่อกรอบนโยบาย IT2010 => e-Industry, e-Commerce, e-Government e-Education, e-Society พิจารณาทบทวนแผนแม่บทฯ ICT #1 => ส่งเสริม/พัฒนาต่อเนื่อง -แผนงาน/โครงการที่ลงทุนไปมากแล้ว เช่น e-Government -แผนงาน/โครงการทีเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการพัฒนา ICT เช่น HR, Infrastructure => ผลักดันต่อ/ยกเลิก - แผนงาน/โครงการที่ไม่ได้/ได้งบประมาณน้อย พิจารณาความเหมาะสม กับสถานการณ์ใน 5 ปีข้างหน้า และความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล/ แผนฯ 10
สรุปแนวทางในการจัดทำแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล => เน้นการใช้ ICT ในการสร้างเครือข่ายและการเรียนรู้ รวมถึงการสร้างนวัตกรรม ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 => เน้นการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน => การพัฒนาฐานข้อมูล => การให้ความสำคัญกับ ICT เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่าง ทั่วถึง และพัฒนาบริการภาครัฐ ที่จะนำไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพ/ลด ต้นทุนภาคเอกชน ให้ความสำคัญกับประเด็นเชิงนโยบายที่สมาคม/ผู้ที่เกี่ยวข้องนำเสนอ
กรอบในการระดมความคิดเห็น การใช้ ICT ในภาคเศรษฐกิจ (e-Industry, e-Commerce) การใช้ ICT ในภาคสังคม (e-Education, e-Society) e - G O V E R N M T ปัญหาอุปสรรคในการ Implement แผนงาน/โครงการตามแผนฯแม่บท#1 เช่น ข้อจำกัดด้านงบประมาณในการส่งเสริมผู้ประกอบการใช้ ICT ในการขยายตลาดต่างประเทศ และส่งเสริม SME หรือข้อจำกัดด้านกฎหมายในการพัฒนา e-services เป็นต้น แผนงาน/โครงการที่เห็นควรดำเนินการต่อเนื่อง ยกเลิก มีโครงการใหม่ จากแผนแม่บทฯ 1 ทิศทางการส่งเสริมการพัฒนา ICT ในภาคเศรษฐกิจ ในมุมมอง CIO ของกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าน่าจะมีความจำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนา ICT ในระยะ 5 ปีข้างหน้า ปัญหาอุปสรรคในการ Implement แผนงาน/โครงการตามแผนฯแม่บท#1 เช่น ข้อจำกัดด้านความรู้ความสามารถของบุคลากรในการนำแผนงาน/โครงการไปปฏิบัติ การขยายโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ เป็นต้น แผนงาน/โครงการที่เห็นควรดำเนินการต่อเนื่อง ยกเลิก มีโครงการใหม่ จากแผนแม่บทฯ 1 ทิศทางการส่งเสริมการพัฒนา ICT ในภาคสังคม ในมุมมองของ CIO ของกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าน่าจะมีความจำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนา ICT ในระยะ 5 ปีข้างหน้า
www.ictplan.su.ac.th
ประเด็นขอความเห็นจาก CIO ต่างๆ มุมมองเกี่ยวกับทิศทาง ICT โดยเฉพาะ E-Government ใน 5 ปีข้างหน้า ที่เห็นว่าเป็นประเด็นสำคัญสำหรับประเทศไทย ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนา E-Government และข้อเสนอแนะ ยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ 5 ลำดับแรกที่ต้องการผลักดันให้เกิดขึ้นใน 5 ปีข้างหน้า เรียงลำดับความสำคัญ (ระยะเร่งด่วนใน 1 ปี,......... 5 ปี เป็นต้น) ปัจจัยสนับสนุนที่จะเอื้อต่อการพัฒนา E-Government ใน 5 ปีข้างหน้า ข้อคิดเห็นอื่นๆ