ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Advertisements

การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Windows Update settings.  เพื่อช่วยให้ windows ของ pc นั้น มีปลอดภัยยิ่งกว่าเดิม และทำงานได้ราบรื่น และจะได้รับการปรับปรุงความ ปลอดภัย ( Security ) ล่าสุดและแก้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
1 Introduction to Number System วรวิทย์ พูลสวัสดิ์
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
หน่วยการเรียนรู้ การเขียน โปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง คำสั่ง HTML 5 การแทรก รูปภาพและการเชื่อมโยง รหัส รายวิชา ง การงาน อาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Number system (Review)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Virus Computer.
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
การศึกษาประเภทเสียงและความหมายของคำในกลุ่มภาษาต่างประเทศ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
Scene Design and Lighting Week1-3
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
SMS News Distribute Service
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
ผู้สอน ครูวัชระ วงษ์ดี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
Google Scholar คืออะไร
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2

ดิจิตอล เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ มีข้อมูล 0 และ 1 เท่านั้น ข้อมูลทุกอย่างอยู่ในรูปแบบของดิจิตอลหมด ไฟล์ข้อมูล,รูปภาพ,เสียง,โปรแกรม ดังนั้นข้อมูลต่างๆสามารถเชื่อมโยงกันได้ เช่นกล้องดิจิตอล,มือถือ,คอมพ์

บิท หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุด จำนวนของเลขฐานสอง ยกตัวอย่าง 00100 = 5 บิท ในทางอิเล็กทรอนิกส์จะแทนด้วยแรงดันไฟฟ้า สูง-ต่ำ 8 บิท = 1 ไบท์

เลขฐาน (digit) จำนวนหลักของตัวเลข เลขฐาน 2,8,10,16 ที่เราใช้เป็นปกติคือเลขฐาน 10 ในคอมพิวเตอร์เป็นเลขฐาน 2,8,16 แต่ที่เล็กที่สุดคือเลขฐาน 2

เลขฐาน 10 เราใช้กันในชีวิตประจำวัน เลข 0->9 เมื่อเลยไปก็ใช้การทดเช่น 10,11,..321, ไม่เหมาะกับคอมพิวเตอร์เพราะมีความเป็นอนาล็อก

การมองแบบเลขยกกำลัง 103 102 101 100 10-1 10-2 10-3 103 102 101 100 10-1 10-2 10-3 =1000 =100 =10 =1 . =0.1 =0.01 =0.001 Most Significant Digit Decimal point Least Significant Digit

เลขฐาน 2 เลข 0,1 เมื่อมีการทด 0,1,10,11,100,101,...เท่ากับ 0,1,2,3,4,5,6,.... จำนวนบิทเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

การมองแบบเลขยกกำลัง 23 22 21 20 2-1 2-2 2-3 23 22 21 20 2-1 2-2 2-3 =8 =4 =2 =1 . =1/2 =1/4 =1/8 Most Significant Bit Binary point Least Significant Bit

การนับของเลขฐาน 2

เลขฐาน 8 เลข 0,1,2,3,4,5,6,7 เมื่อมีการทด 0,1,2,3,4,5,6,7,10,11,....17,20,... ในการเขียนโปรแกรมนิยมใช้เลข 0 จำนวน 1 ตัวอยู่ด้านหน้าเช่น 023,01,045 เลขฐาน 8 จำนวน 1 ตัว สามารถสร้างได้จากเลขฐาน 2 จำนวน 3 ตัว

การมองแบบเลขยกกำลัง 83 82 81 80 8-1 8-2 8-3 83 82 81 80 8-1 8-2 8-3 =512 =64 =8 =1 . =1/8 =1/64 =1/512 Most Significant Digit Octal point Least Significant Digit

เลขฐาน 16 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E,F เมื่อมีการทด 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E,F,10,11,...1F,20,... ในการเขียนโปรแกรมนิยมใช้ 0x อยู่ด้านหน้าเช่น 0x34,0x5FC,0x864D เลขฐาน16 จำนวน 1 ตัวสามารถสร้างได้จากเลขฐาน 2 จำนวน 4 ตัว

การมองแบบเลขยกกำลัง 163 162 161 160 16-1 16-2 16-3 163 162 161 160 16-1 16-2 16-3 =4096 =256 =16 =1 . =1/16 =1/256 =1/4096 Most Significant Digit Hexadec. point Least Significant Digit

การแปลงระหว่างเลขฐาน 2 และ ฐาน 10 แปลงจากเลขฐาน 2 เป็นฐาน 10 นำ 1 หรือ 0 ไปคูณกับค่ากำลังของแต่ละหลัก เช่น หากเป็นหลักที่ 2 ก็คูณด้วย 2 ยกกำลัง 2 1 1 0 1 1 2 (binary) 24+23+0+21+20 = 16+8+0+2+1 = 2710 (decimal) 1 0 1 1 0 1 0 1 2 (binary) 27+0+25+24+0+22+0+20 = 128+0+32+16+0+4+0+1 = 18110 (decimal)

แปลงจากเลขฐาน 10 เป็นฐาน 2 45 10 = 32 + 0 + 8 + 4 +0 + 1 = 25+0+23+22+0+20 = 1 0 1 1 0 12 หาได้โดยการแยกตัวประกอบ ให้เข้ากับค่าในแต่ละหลัก

การแปลงเลขฐาน 10 เป็นฐาน 2 โดยการหารด้วย 2 ตลอด 25/ 2 = 12+ remainder of 1 1 (Least Significant Bit) 12/ 2 = 6 + remainder of 0 0 6 / 2 = 3 + remainder of 0 0 3 / 2 = 1 + remainder of 1 1 1 / 2 = 0 + remainder of 1 1 (Most Significant Bit) Result 2510 = 1 1 0 0 12

Flowchart ของการกระทำในหน้าที่แล้ว

การแปลงเลขฐาน 8 เป็นเลขฐาน 10 308 = 3 x (81) + 0 x (80) = 2410 24.68 = 2 x (81) + 4 x (80) + 6 x (8-1) = 20.7510 คล้ายกับการแปลงจากเลขฐาน 2 เป็นฐาน 10 แต่เปลี่ยนเลข 2 เป็นเลข 8 (ค่าของตัวฐาน) ในการแปลงจากเลขฐาน 10 เป็นเลขฐาน 8 จะทำอย่างไร ?

การแปลงระหว่างเลขฐาน 2 และ ฐาน 8 เปรียบเทียบค่า การแปลงเลขฐาน 2 เป็นเลขฐาน 8 สังเกตว่าจะแบ่งเลขฐาน 2 ออกเป็นกลุ่มๆละ 3 ตัว Octal Digit 0 1 2 3 4 5 6 7 Binary Equivalent 000 001 010 011 100 101 110 111 100 111 0102 = (100) (111) (010)2 = 4 7 28

การแปลงเลขฐาน 10 เป็นฐาน 8 โดยวิธีหาร 8 ตลอด 177/8 = 22+ remainder of 1 1 (Least Significant Bit) 22/ 8 = 2 + remainder of 6 6 2 / 8 = 0 + remainder of 2 (Most Significant Bit) Result 17710 = 2618 Convert to Binary = 0101100012 เมื่อแปลงเป็นเลขฐาน 2

การแปลงระหว่างเลขฐาน 16 และฐาน 2 Hexadecimal Digit 0 1 2 3 4 5 6 7 Binary Equivalent 0000 0001 0010 0011 0100 0101 0110 0111 Hexadecimal Digit 8 9 A B C D E F Binary Equivalent 1000 1001 1010 1011 1100 1101 1110 1111 ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 2 เป็นฐาน 16 1011 0010 11112 = (1011) (0010) (1111)2 = B 2 F16

แปลงจากเลขฐาน 16 เป็นฐาน 2 ใช้การแยกออกเป็นกลุ่มของเลขฐาน 2 (เลขฐาน 16 จำนวน 1 ตัว = 4 ตัว) 5A816 = 0101 1010 1000 (Binary) = 2 6 5 0 (Octal) หากแปลงต่อเป็นเลขฐาน 8 จะได้

การแปลงเลขฐาน 16 เป็นฐาน 10 แยกตัวประกอบ 2AF16 = 2 x (162) + 10 x (161) + 15 x (160) = 68710 ใช้การหาร 16 ตลอด 378/16 = 23+ remainder of 10 A (Least Significant Bit) 23/ 16 = 1 + remainder of 7 7 1 / 16 = 0 + remainder of 1 1 (Most Significant Bit) Result 37810 = 17A16

โจทย์ การบ้าน อาจารย์กำหนดโจทย์การแปลงค่าแบบต่างๆแล้วแปลงพร้อมๆกัน อาจารย์กำหนดโจทย์แล้วสุ่มชื่อ นศ. มาแก้โจทย์ การบ้าน ให้ นศ.