รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แมกนีเซียม (Magnesium).
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
โครเมี่ยม (Cr).
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
ระดับความเสี่ยง (QQR)
Nutritional Biochemistry
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ขดลวดพยุงสายยาง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care บทที่ 3 การวินิจฉัยโรคจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการ รักษาโรคเบื้องต้น วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ภาคการศึกษา ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ อ.สุกัญญา บุญวรสถิต B.N.S, M.N.S.(Community Health Nurse Practitioner)

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาจะมีความรู้ความสามารถดังนี้ 1. บอกความสำคัญของการตรวจทางห้องปฏิบัติการได้ 2. บอกถึงการแปลผล และวินิจฉัยโรคจากผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติได้ 2.1 บอกถึงการให้การรักษาโรคเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยที่มี ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการผิดปกติได้ถูกต้อง

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญ ช่วยให้การ วินิจฉัยโรคได้แม่นยำ ติดตามผลการรักษา การพยากรณ์โรค ได้ ดังนั้นการทราบวิธีการเก็บสิ่งตรวจที่ถูกต้อง การแปลผล การตรวจทางห้อง ปฏิบัติการได้ถูกต้อง จะนำไปสู่การให้ การพยาบาลแก่ผู้ป่วยที่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ ผิดปกติได้ถูกต้องเหมาะสมต่อไป

พยาบาลสามารถเก็บสิ่งส่งตรวจ และแปลผลได้ ดังนี้ การตรวจเกี่ยวกับเลือด - Complete blood count (CBC) Red blood cell (RBC) ถ้าค่า ลดลงมักหมายถึง anemia ประวัติการรับประทานอาหาร ประเมิน การเจ็บป่วยเรื้อรังหรือติดเชื้อ ซึ่งอาจมีผล ซึ่งอาจมีผลทำให้ RBC ลดลงประเมินการตกเลือกแยบพลัน - Hematocrit (Hct) เป็นปริมาตรของ RBC อัดแน่นต่อปริมาณ หนึ่งของเลือด คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ถ้าปริมาณเลือดเปลี่ยนแปลง จะ มีผลต่อ Hct เช่นขาดน้ำ ค่า Hct จะเพิ่ม ดังนั้นต้องประเมินอาการ ขาดน้ำของ Pt. ถ้าค่าต่ำแสดงถึง anemia

การมี Hgb และ Hct เพิ่มขึ้นอาจเกิดจาก ค่าปกติ ผู้ชาย 40 – 54 % ผู้หญิง 37 – 47 % หรือประมาณค่าจาก Hct = Hgb x 3 หรือ Hct = RBC (millions) x 9 การมี Hgb และ Hct เพิ่มขึ้นอาจเกิดจาก - Polycythemia - Dehydration - Heart disease - High altitude - Heavy smokers - Prolong tourniquest stasis

การมี Hgb และ Hct ลดลงเกิดได้จาก - Anemia ( iron deficiency, megaloblastic, sickle cell ) - Volume overload ( hemodilution ) - Blood loss ( hemorrhage ) - Hemolysis - Alcohol - Pregnancy

White Blood Cell Count ค่าปกติ ( total ) 4 – 11 x 103 cell/mm3 การแปลผล - ถ้ามากกว่า 11,000/ mm3 เป็นภาวะ Leukocytosis พบ ได้ใน Acute infections, Uremia, steroid, Hemorrhage, Leukemia - ถ้าน้อยกว่า 4,000/ mm3 เป็นภาวะ Leukopenia พบได้ ใน ผู้ที่ได้รับการฉายรังสี, A plastic anemia, Infectious mononucleosis, Septicemia, Compromise host

Differential count เป็นการนับแยกชนิดของเม็ดเลือดขาว ค่าปกติ Neutrophils 50 – 70 % Lymphocytes 20 – 40 % Monocytes 0 – 7 % Basophils 0 – 1 % Eosinophils 0 – 5 %

สังเกต - บันทึกอาการการติดเชื้อป้องกันผู้ป่วยไม่ให้ติดเชื้อ สอนผู้ป่วยที่มีเม็ดเลือดขาวต่ำ ให้ล้างมืออย่างถูกต้อง และ สังเกตอาการติดเชื้อของตน ผู้ที่มีค่า Eosinophil เปลี่ยนแปลง ควรสังเกตอาการ และบันทึกอาการติดเชื้อ หรืออาการแพ้ สอบถามประวัติการแพ้ การติดเชื้อหรือความ ผิดปกติอื่นๆ ถ้าค่า Neutrophil สูงหมายถึง ติดเชื้อ bacteria ถ้าต่ำ หมายถึง เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ถ้าค่า Monocyte สูง หมายถึง ติดเชื้อเรื้อรัง ถ้าค่า Eosinophil สูง พบในภูมิแพ้หรือมีพยาธิ

Platelets counts เป็นการนับจำนวนเกร็ดเลือด เกร็ดเลือดถูกสร้างจากไขกระดูก มีอายุประมาณ 7 วัน จำนวน 2 ใน 3 จะ อยู่ในกระแสเลือด ส่วนที่เหลือจะอยู่ในม้าม ค่าปกติ 150,000 – 400,000/mm3 ถ้ามี Platelets น้อยกว่า 100,000/ mm3 คือภาวะ Thrombocytopenia ถ้ามี Platelets น้อยกว่า 50,000/ mm3 มีแนวโน้มที่จะเกิดเลือดออกหยุด ยากในการผ่าตัด ถ้ามี Platelets น้อยกว่า 20,000/ mm3 จะพบ Spontaneous bleeding ถ้ามี Platelets น้อยกว่า 10,000/ mm3 จะเกิดเลือดออกอย่างรุนแรง

Platelet ถ้าค่าลดลง : ระวังเลือดออกง่าย หยุดช้า ระวังการฟกช้ำ ถ้าค่าลดลง : ระวังเลือดออกง่าย หยุดช้า ระวังการฟกช้ำ ถ้าค่าสูงขึ้น : อาจมีลิ่มเลือดในหลอดเลือด ระวังการมีเลือดออกได้ทั้งหลอดเลือดดำ และหลอดเลือดแดง

ภาวะที่มี Platelets มากกว่าปกติ เรียก Thrombocytosis พบใน Postsurgery or postsplenectomy Malignancy Rheumatoid arthritis ( RA ) Iron deficiency anemia Trauma -Acute hemorrhage

Reticulocyte count Reticulocyte เป็นเม็ดเลือดแดงที่ยังเจริญไม่เต็มที่ ค่าปกติ ประมาณ 1% (0.2 – 2.0 %) พบเพิ่มขึ้นในภาวะที่ต้องการ เม็ดเลือดแดงมากขึ้น มีการสร้างเม็ดเลือดแดงมากขึ้น พบใน ภาวะ Bleeding, Hemolysis, การพยายามแก้ไขภาวะขาด Iron, Folate หรือ B12 พบ Reticulocyte count น้อยลงใน ภาวะที่ได้รับ Transfusion หรือ Aplastic anemia

Sodium(Na) ค่าปกติ 136-145 mEq/L Blood Chemistry Test ตรวจดู Electrolyte การทำงานของไต และระดับน้ำตาลในเลือด (Blood glucose) Electrolyte เป็นค่าปริมาณสารต่าง ๆ ในกระแสเลือด เช่น Sodium(Na) ค่าปกติ 136-145 mEq/L การแปลผล Hypernatremia โซเดียมสูงกว่าปกติ พบในภาวะ Dehydration, Glycosuria, Diabetes insipidus, Cushing’s syndrome, Excessive sweating อาการ กระหายน้ำ ผิวตามตัวแดง กระสับกระส่าย HR เพิ่มขึ้น อาจชัก : จำกัดอาหารเค็ม ให้รสจืด ให้น้ำเพิ่ม (ระวังในผู้ป่วยโรคหัวใจและไต) record I/O, สังเกตอาการขาดน้ำ หรือน้ำเกิน ชั่งน้ำหนัก OD วัด BP

Hyponatremia โซเดียมต่ำกว่าปกติ พบในภาวะ Diuretic use, Congestive Heart Failure, Renal failure, Vomiting, diarrhea, Liver failure, Nephritic syndrome , Hyperlipidemia, Multiple Myeloma : อาการ อ่อนแรง สับสน เกร็งผิดปกติ BP ต่ำลง Hypo Na : ให้ Na ทางปาก หรือ IV, ระวังการให้น้ำดื่มเพราะทำให้ค่ายิ่งต่ำ, สังเกต อาการขากน้ำหรือน้ำเกินชั่งน้ำหนัก OD วัด BP

Chloride(Cl) ค่าปกติ 95-108 mEq/L การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ dehydration, metabolic acidosis, diarrhea, diabetes insipidus, aldosterone deficiency ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ จะพบในภาวะ vomiting, excessive sweating, congestive heart failure, chronic renal failure

Potassium (K) ค่าปกติ 3.5-5.2 mEq/L การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ Hemolysis, Dehydration, Renal failure, Acidosis, Addison’s disease ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ จะพบในภาวะ Diuretic, Vomiting, Alkalosis, Mineralocorticoid excess, Nasogastric suctioning

Hyperkalemia อาการกล้ามเนื้อหดตัวอย่างรุนแรง อ่อนแรง หัวใจเต้นช้า มี VF, apnea ปัสสาวะลดลง Hyper K : ถ้าค่า >5 รานงาน แพทย์ทันที เพราะหัวใจอาจหยุดเต้นได้ ตรวจ EKG เป็น ระยะ, record I/O, จำกัดอาหารที่มี K สูง เช่นเนื้อสัตว์ กล้วย ส้ม แอปปริคอท มันฝรั่ง, ให้ Ca เพื่อช่วยต้านฤทธิ์ของ K ต่อ หัวใจ, ให้ NaHCO3 เพื่อให้ K ที่อยู่นอกเซลล์ กลับเข้าใน เซลล์, ให้ K exalate เพื่อขับ K ออกทางระบบทางเดินอาหาร

Hypokalemia อาการ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ ไตลดความสามารถ Hypo K : ถ้าให้ K ทาง IV ต้องเจือจางก่อนให้ไม่เกิน 20 mEq/hr และ ประเมินอาการ hyper K, EKG, กระตุ้นการรับประทาน อาหารที่มี K จับ pulse เพราะ K ต่ำ อาจเกิดพิษต่อหัวใจได้

Bicarbonate (HCO3) ค่าปกติ 24-30 mEq/L การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ dehydration, vomiting, respiratory acidosis ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ จะพบในภาวะ metabolic acidosis, respiratory alkalosis, renal failure, diarrhea

Anion gap คือสารที่ไม่ได้ตรวจหาในเลือด เช่น ฟอสเฟต, ซัลเฟต, โปรตีน, creatinine และกรดอินทรีย์ต่าง ๆ ใช้ค่าบัฟเฟอร์ในการตรวจหา anion ดูภาวะความดุล ของกรด-เบส คำนวณจาก Anion gap= Na+ - ( Cl- + HCO3) ค่าปกติ 8-12 mEq/L การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ renal failure, lactic acidosis, ketoacidosis ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ จะพบในภาวะ disseminated intravascular coagulation, multiple myeloma

การตรวจการทำงานของไต Creatinine (Cr) ค่าปกติ 0.7-1.4 mg/dl การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ renal failure, muscle disease ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ อาจพบได้ในคนท้อง

- Creatinine ถ้าค่า >12 mg/dl ผู้ป่วยอาจไม่รู้สึกตัว หรือไม่รู้ เวลา สถานที่ บุคคล ชั่งน้ำหนัก OD ประเมิน Cr เป็นระยะ จำกัดอาหารประเภทโปรตีน เพื่อป้องกันการเกิดของเสียจาก โปรตีนคั่ง BUN สูง จะสับสน disoriented ประเมินการรู้สติ ของผู้ป่วย คันตามผิวหนัง แนะนำการดูแลสุขอนามัย ผู้ป่วย โรคไต มักมี BUN สูง และมีน้ำเกิน ควรจำกัดน้ำ และจัดท่า ให้หายใจได้สะดวก Record I/O ถ้าปัสสาวะน้อยค่า BUN จะเพิ่ม ถ้า<30 cc/hr notify จำกัดโปรตีน

Uric acid ถ้าค่าสูงจะมีอาการปวด ให้ใช้ Acetaminophen แทน aspirin เพราะ ASA จะเพิ่มความเป็นกรดของร่างกาย ทำ ให้การรักษา Uric ด้วยยาไม่ได้ผล ในผู้ที่เป็น Gout ให้ลด อาหารที่มี Purine สูง

Renal function Blood urea nitrogen (BUN) ค่าปกติ 6-20 mg/dl การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ renal failure, dehydration, GI bleeding, increased protein catabolism ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ จะพบในภาวะ liver damage, protein deficiency, starvation, overhydration

Blood glucose ค่าปกติ 65-110 mg/dl การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ diabetes mellitus, stress, hyperthyroidism, pregnancy, Cushing’s syndrome ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ จะพบในภาวะ pancreatitis, starvation, liver disease, hypo-thyroidism, Addison’s disease การตรวจการทำงานของต่อมไร้ท่อ Glucose / FBS / BS บางตำรา < 100 mg/dl normal 100 - 125 เริ่มผิดปกติ ≥ 126 (ถ้าไม่ NPO ≥ 200) DM

Glycosylated hemoglobin หรือ HgbAlc ค่าปกติ 6-7 % ของ total Hgb ใช้ตรวจดูการรักษาเบาหวาน แสดงระดับและช่วงเวลาที่เม็ด เลือดแดงได้รับน้ำตาล glucose และแสดงค่าเฉลี่ยน้ำตาล ในช่วง 2 - 4 เดือนที่ผ่านมา

การตรวจการทำงานของระบบทางเดินอาหาร : Total protein / Albumin / Globulin TP : ต่ำใน malnutrition, hemorrhage, malabsorption, severe burn, open wound TP : สูงอาจมาจาก hemoconcentration จากขาดน้ำ, severe fluid volume loss ช่วงสั้นๆจากการเกิดแผล burn - Albumin ต่ำ โรคที่เกี่ยวกับตับ ถ้าสูงเกิดจากการเสียโปรตีนหรือน้ำ โดยไม่ทราบสาเหตุ - Globulin สูง cirrhosis, ติดเชื้อเรื้อรัง - Serum amylase เป็น Enz. ย่อยแป้ง หลั่งจากตับอ่อน ถ้าสูง บ่งบอก acute pancreatitis

การตรวจการทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด Cholesterol Triglyceride HDL LDL เป็น Key parameter ในการ วินิจฉัย และติดตามการรักษา Total cholesterol (TC) ไขมัน cholesterol ร้อยละ30 มาจากอาหาร ส่วนที่เหลือร้อยละ70ผลิตโดยตับ ค่าTC จะสูงขึ้นก็แต่โดยการเพิ่มขึ้น ของ LDL และ/หรือ TG เท่านั้น ส่วน HDL นั้น หากมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อใด ค่า LDL และ TG นั้นจะลดค่าลง ในสัดส่วนที่มากจนน่าพอใจยิ่งกว่า สรุปก็คือ HDL เพิ่มขึ้นมากเมื่อใด ไม่ช้าไม่นาน TC จะลดลงมาเอง

ค่าปกติของไขมันในเลือด ค่า cholesterol รวม: TC น้อยกว่า 200 mg/dL สูงปานกลาง 201- 240 mg/dL สูงเมื่อค่ามากกว่า 240 mg/dL

ค่า HDL ("good cholesterol") ค่ายิ่งสูงยิ่งดี เป็นไขมันที่ดีป้องกันเสียเลือดตีบคือ HDL จะเป็นตัวพา LDL ออกจากพนังหลอดเลือด ฉะนั้น ยิ่งมีค่าสูงขึ้นมากเท่าใด ยิ่งดีมากเท่านั้น มากกว่า HDL 60 mg/dL สามารถป้องกันโรคหัวใจ ค่า HDL อยู่ระหว่าง 40-59 mg/dL ค่าปกติ น้อยกว่า 40 mg/dL ค่าจะต่ำเกินไปเป็นความเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหัวใจ

ค่า LDL ("bad cholesterol") ค่ายิ่งต่ำยิ่งดี เป็นไขมันที่ไม่ดี หากมีสูงจะทำให้หลอดเลือดตีบ ค่าที่ต้องการต้องน้อยกว่า 100 mg/dL ค่าอยู่ระหว่า 100 - 129 mg/dL ค่าปกติ ค่าระหว่าง 130 - 159 mg/dLสูงเล็กน้อย ค่าระหว่าง 160 - 189 mg/dLสูง มากกว่า 190 mg/dLสูงมาก

การแปลผลไขมันในเลือดจะต้องดูอัตราส่วนTC:HDL ratio – คือนำค่า TC หารด้วยค่า HDL-C อัตราส่วนที่มากกว่า 6 จะมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสูง สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจต่างกัน ค่า LDLเป้าหมายก็จะต่างกันดังนี้ ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจสูง หรือเป็นโรคหัวใจเป้าหมาย LDL ต้องน้อย กว่า 70 mg/dL สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจปานกลางถึงสูงเป้าหมาย LDL ต้องน้อยกว่า 130 mg/dL สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจต่ำเป้าหมายl LDL น้อยกว่า 160 mg/dL.

Triglycerides TG เป็นไขมันในเลือดที่เกิดจากอาหารแท้ ๆ ทั้งจากอาหารไขมัน โดยตรง และอาหารคาร์โบไฮเดรต ดังนั้น การจะลด TG ต้องลดปริมาณอาหารลง หรือ ต้องลดการบริโภคจำนวนแคลอรี่ในแต่ละมื้อและ แต่ละวันลง

การตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ (Urian alysis) ข้อมูลที่ได้จากการตรวจ 1. Color สีปกติมีสีเหลืองอ่อนใส หากสีแตกต่างจากนี้ไปก็จะมีภาวะ ผิดปกติหลาย ๆ รูปแบบเช่น urobilinogen, pus, bacteria 2. Appearance ปกติ : clear หากลักษณะแตกต่างจากนี้ไปก็จะมีภาวะ ผิดปกติหลาย ๆ รูป แบบเช่นมี phosphate, carbonate,uric acid, red cell, bacteria,pus 3. pH ค่าปกติ 4.5-8 หากเป็นกรด อาจจะเกิดจากภาวะ respiratory acidosis, severe diarrhea, dehydration หากเป็นด่าง อาจจะเกิดจาก ภาวะ acute or chronic renal failure, respiratory alkalosis ,ติดเชื้อ proteus

4. Specific gravity ค่าปกติ 1.001-1.035 การแปลผล ถ้าค่าสูงกว่าปกติ จะพบในภาวะ dehydration ถ้าค่าต่ำกว่าปกติ จะพบในภาวะ diabetes insipidus, renal failure 5. Blood หรือ hemoglobin แสดงว่ามี stone, trauma, tumor, infection 6. Glucose ประมาณ10-30 mg/dl มักพบในผู้ป่วย diabetes mellitus, pancreatitis, shock 7. Bilirubin มีภาวะ hepatitis, obstructive jaundice 8. Protien มีภาวะ fever, hypertension, nephritic syndrome, myeloma 9. Nitrite แสดงว่ามี infection 10. Ketone แสดงว่ามี uncontrol diabetes mellitus , starvation, vomiting, diarrhea

11. Microscopic - RBC มากกว่า 20-30 cell/HPF แสดงว่ามี infection - WBC มากกว่าปกติคือ มากกว่า 1-24 cell/HPF แสดงว่ามี การติดเชื้อ - Crystal เป็นผลึกที่พบในปัสสาวะ เช่น calcium carbonate - Casts เป็นโปรตีนที่ตกตะกอนรวมกันเป็นผลึกอยู่ใน renal tubule สามารถใช้เป็นตัวบ่งบอกถึงความผิดปกติของ tubular disease หรือการมี stone

การตรวจอุจจาระ (Stool examination) Fecal occult blood Stool culture for bacteria and viruses Examination for ova and parasites

Liver function ตับมีหน้าที่ในการสร้างสารหลายอย่าง เช่น albumin, protein, fibrinogen, prothrombin, bile, enzyme หลายชนิด ซึ่งสารเหล่านี้ใช้ดู การทำงานของตับได้ 1.Total protein ค่าปกติ Total protein 6.0 - 8.5 gm% Albumin 3.5 - 5.0 gm% Globulin 2.5 - 3.5 gm%

Serum albumin ลดลง บ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างเรื้อรังของตับ และสามารถพบได้ในสภาวะ starvation, hyperthyroidism, leukemia, nephritic syndrome α1-globulin ต่ำเมื่อเนื้อตับถูกทำลาย α2- และ ß-globulin จะสูงในภาวะน้ำดีคั่ง และจะมีระดับต่ำในรายที่มี ตับอักเสบอย่างรุนแรง γ-globulinจะสูงในรายที่มีตับแข็ง Total protein จะเพิ่มใน multiple myeloma, dehydration, sarcoidosis และจะลดลงในภาวะ liver failure, starvation, inflammatory bowel disease

2. Alkaline phosphatase เป็น isoenzyme ที่ถูกสร้างจาก cell รอบ ๆ น้ำดี, กระดูก ,ลำไส้ และรก ค่าปกติ 30-115 units/L ค่าจะสูงขึ้นในภาวะ biliary tract obstruction, Paget’s disease, hyperparathyroidism, osteolytic bone tumor ค่าจะลดต่ำลงในภาวะ hypophosphatasia, hypothyroidism, malnutrition

3. Bilirubin ค่าปกติ Total bilirubin 0.2 - 1.0 mg/dL เกิดจากการสลายตัวของ hemoglobin และ myoglobin ใน plasma จะจับกับ albumin เกิดเป็น unconjugated bilirubin และจะถูก conjugate โดย microsomal enzyme เป็น conjugated bilirubin จะถูกส่งไปในท่อน้ำดี เรียกว่า direct bilirubin ค่าปกติ Total bilirubin 0.2 - 1.0 mg/dL Unconjugate bilirubin 0.2 - 0.8 mg/dL Conjugate bilirubin 0 - 0.2 mg/dL Total bilirubin จะเพิ่ม ในภาวะ acute และ chronic hepatitis, cirrhosis, biliary tract obstruction, hemolysis, fasting Conjugate bilirubin เพิ่มในภาวะ obstructive liver disease, hepatitis, drug induced cholestasis Unconjugate bilirubin เพิ่มในภาวะ hemolytic anemia,hepatocellular liver disease

4. Transaminase enzyme ประกอบด้วย Serumglutamic-Oxaloacetic transaminase (SGOT) หรือ aspatate aminotransferase (AST) และ Serum glutamic-pyruvic transaminase (SGPT) หรือ alanine aminotransferase (ALT) ค่าปกติ AST 3 – 35 units/L ALT 7 – 33 units/L จะพบ AST เพิ่มขึ้นใน liver disease,acute myocardial infarction, pancreatitis, muscle trauma, congestive heart failure, hemolysis ALT จะเพิ่มขึ้นใน liver disease (specific กว่า AST), pancreatitis, biliary tract obstruction

5. Cholesterol ค่าปกติ 140 - 260 mg/dL ค่าเพิ่มขึ้นใน hypercholesterolemia - hyperlipidemia, biliary tract obstruction, pancreatitis, hypothyroidism, diabetes mellitus ค่าลดใน starvation, chronic disease, hyperthyroidism, liver disease, steroid therapy

6. Gamma glutamyl transpeptidase (GGTP) พบในเนื้อเยื่อทั่วไป ค่าปกติ ชาย 0 - 32 unit/L หญิง 0 - 13 unit/L จะพบสูงในโรคตับทุกชนิด สูงมากใน Biliary tract obstruction โดยสูงกว่าปกติ 5-30 เท่า

Blood coagulation 1.Bleeding time ตรวจสอบหน้าที่ของหลอดเลือดและเกล็ดเลือด ตรวจปฏิกิริยาของเกล็ดเลือด ที่มีต่อผนังหลอดเลือดที่ฉีกขาดและการอุดหลอดเลือด และความสามารถใน การหดตัวของเส้นเลือด มีวิธีการตรวจ 2 วิธี 1. Duke method เจาะที่ติ่งหู บันทึกเวลาจนเลือดหยุด ค่าปกติ 0 - 6 นาที 2. Ivy method เจาะบริเวณท้องแขนด้านใน โดยใช้เครื่องวัดความดันรัดต้นแขน ปรับความดันที่ 40 mmHg บันทึกเวลาจนเลือดหยุด ค่าปกติ 0 - 8 นาที Bleeding time นาน นึกถึง thrombocytopenia, aspirin therapy, abnormal platelet function, vitamin correspond deficiency

2.Clotting time เวลาตั้งแต่เลือดออกจนกระทั่งแข็งตัว ค่าปกติ 6 - 7 นาที ค่าสูงกว่าปกติแสดงว่าได้รับ heparin หรือ clotting factor deficiency

3.Prothrombin time(PT) เป็นการหาความผิดปกติในระบบการแข็งตัวของเลือด ค่าปกติ 12 - 14 วินาที PT นานขึ้นพบในผู้ป่วยที่ได้รับยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด เช่น coumadin, vitamin K deficiency, liver disease, DIC, รัด tourniquet ก่อน เจาะเลือดนานเกินไป,ผู้ป่วยขาด extrinsic coagulation factor INR (International normalized ratio) เปรียบเทียบระหว่าง PT ของผู้ป่วยกับ PT ของ lab ใช้ตรวจในกรณีที่ได้รับ coumadin เป็นเวลานาน ค่าปกติ 1 – 1.5

4. Partial thromboplastin time (PTT) หาความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด เกี่ยวกับ intrinsic factor ค่าปกติ 25 - 45 วินาที ถ้าสูงกว่าปกติพบในผู้ป่วยที่ได้รับ heparin มีความผิดปกติของ intrinsic coagulating factor, hemophilia A, B, รัด tourniquet นาน ก่อนเจาะเลือด 5. Thrombin time ศึกษาเวลาที่ thrombin เปลี่ยน fibrinogen ไปเป็น fibrin ค่าปกติ 10 - 14 วินาที ค่า thrombin time จะนานขึ้นในผู้ป่วยที่ได้รับ heparin, DIC, fibrinogen deficiency

การตรวจชิ้นเนื้อ เป็นการตรวจทางพยาธิสภาพที่ได้จากการผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อในช่องปากใช้ยาชา เฉพาะที่ก็เพียงพอ แต่ถ้าอยู่ลึกอาจใช้ยาสลบทั่วไป 1. Aspiration biopsy ใช้ตรวจก้อนที่อยู่ใต้ผิวหนัง หรือ radiolucent lesionในกระดูก 2. Excisional biopsy เป็นการตัดชิ้นเนื้อออกทั้งหมด ใช้กรณีรอยโรคไม่ใหญ่ ลักษณะ ทางคลินิกไม่บ่งบอกว่าเป็นเนื้องอกร้ายแรง 3. Incisional biopsy เป็นการตัดเอาเนื้องอกเฉพาะบางส่วน เหมาะสำหรับเนื้องอก ขนาดใหญ่ โดยตัดเอาเนื้องอกที่ดีและมีพยาธิสภาพ เลี่ยงการตัดกลางก้อนที่มีการ ตายของเนื้อเยื่อ หรือมีการติดเชื้อ ควรตัดให้ลึก ชิ้นเนื้อที่ได้แช่ในสารละลาย ฟอร์มาลิน 10% แล้วจึงส่งให้พยาธิแพทย์ ในบางกรณีต้องการทราบผลเร็ว อาจทำ frozen section คือ นำชิ้นเนื้อทำให้เย็นจัด แล้วตัดมาดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ทราบผลใน 10 - 30 นาที

1. ในการตรวจเลือดถ้าพบมีเม็ดเลือดแดงมากเกินกว่าค่าปกติ เรียกว่าอยู่ในภาวะ ก. Polychromacia ข. Polycythemia ค. Hyperglycemia ง. Hyperchromic จ. ไม่มีข้อใดถูก

2. ถ้าตรวจ white blood cell count ได้ 7,500 cell/mm3 แสดงว่าผล lab …. ก. ปกติ ข. มีการติดเชื้ออย่างฉับพลัน ค. เป็น leukemia ง. Aplastic anemia จ. Septicemia

3. ข้อใดผิด ก. Hemoglobin เป็นส่วนประกอบของเม็ดเลือดแดง ข. Hemoglobin บอกถึงความสามารถในการนำ oxygen ของ เลือด ค. ค่า hemoglobin concentration ของผู้ชายจะสูงกว่าผู้หญิง ง. จะพบ hemoglobin concentration ลดลงในภาวะ dehydration จ. ภาวะ anemia จะตรวจพบ hemoglobin concentration ลดลง

Computerized tomography scan CT head and neck ช่วยวินิจฉัย • Trauma ตรวจ bleeding , contusion ของสมองและ fracture ของกะโหลกศีรษะ • Salivary gland ใช้ตรวจ tumor • Tumor ใช้ประเมินขนาด , invasion • TMJ ตรวจดูโครงสร้างกระดูก

สรุป การตรวจทางห้องปฏิบัติการมีความสำคัญสำหรับงาน พยาบาลหลายประการ และผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการก็เป็นข้อมูลที่สำคัญเช่นกัน ช่วยในการ วินิจฉัยโรค ช่วยในการพยากรณ์โรค ช่วยในการ ตรวจคัดกรองในกลุ่มประชากรที่ไม่มีอาการ ช่วยใน การติดตามผลการรักษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

สวัสดี