The Child with Musculoskeletal Dysfunction

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Conic Section.
Advertisements

ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง
ผศ.ณิชานันท์ ปัญญาเอก ชุติมณฑน์ พันศิริ ปริญญาพร มะธิปะโน BPI and BPD
Problem Oriented Medical Record
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
Pre hospital and emergency room management of head injury
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กันยายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
Neck.
The Multiple Document Interface (MDI) การประสานเอกสาร หลายรูปแบบ.
สอน สบน สอน AS-IS TIDTOR E- Filling ( มาตรา 9) อ.1 + เอกสาร แนบ กน. 9 กน. 10 ผู้ประกอ บการ กรม ศุลกากร License / Invoice Cert Gen อ. 2 TeDA Sign ( มาตรา.
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
Anaerobic culture methods
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
Cr อ.เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การเขียนจดหมายธุรกิจ
อาจารย์ ทรงศักดิ์ สุริโยธิน
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury
พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development)
Nerve injury Kaiwan Sriruanthong M.D. Nan Hospital.
ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
การถูกคุมขังในเมืองซีซารียา
Facilitator: Pawin Puapornpong
Welcome IS Team IS
สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
CAN I WALK ? CANNON.
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
การประเมิน ความผิดปกติทางภาษาและการพูดในเด็กออทิสติค
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
AFP surveillance การเฝ้าระวังผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
สัญลักษณ์.
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ICD 10 TM for PCU ศวลี โสภา เจ้าพนักงานเวชสถิติชำนาญงาน โรงพยาบาลสตูล.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน
การรับรู้สุนทรียภาพในงานศิลปะ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี
การประชุมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา รหัส 61
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นทางศิลปะ
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
Delirium in critical patient
NUR 2224 การประเมินภาวะสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ
Master of Nursing Science (Community Health Nurse Practitioner)
การประเมินและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ระดับพื้นฐาน
พรณิชา ชุณหคันธรส ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลดอยหล่อ อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่
NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
การปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉิน
ความรู้พื้นฐานโรคทางจิตเวช
การจัดการความเจ็บปวด
The Child with Renal Dysfunction
The Child with Renal Dysfunction
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
(กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ)
การบริหารกล้ามเนื้อปากและใบหน้า Oral – motor exercise
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์
World window.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The Child with Musculoskeletal Dysfunction อ.นภิสสรา ธีระเนตร

หัวข้อการเรียนการสอน 1. การประเมินอาการทางระบบประสาทในเด็ก 2. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูก สมองพิการ (Cerebral Palsy) 3. การพยาบาลเด็กโรคที่ต้องเข้าเฝือก

วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. อธิบายหลักและวิธีการประเมินเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทได้ 2. อธิบายการพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกได้ 3. นำองค์ความรู้ที่ได้ให้การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางกล้ามเนื้อกระดูกและครอบครัวได้

การประเมินเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท การประเมินด้านร่างกาย ประวัติ : การคลอด การเจ็บป่วยหลังคลอด ทางอารมณ์ของครอบครัว การเลี้ยงดู การตรวจร่างกาย : ลักษณะทั่วไป สัญญาณชีพ ศีรษะ ตา หู ปากและฟัน

การประเมินระบบประสาทและกล้ามเนื้อ Muscle tone การตรวจดูความตึงตัวของกล้ามเนื้อ ประเมินต้านต่อการเคลื่อนไหวที่ผู้ป่วยต้องออกแรง มีแรงต้านมากจนกล้ามเนื้อตึง (spasticity) แรงต้านลดลงกว่าปกติจนกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (flaccidity หรือ paralysis) ถ้ากล้ามเนื้อมีความตึงตัวพอดีถือว่าปกติ (normal)

Babinski’s sign ทดสอบโดยใช้อุปกรณ์ปลายทู่ เช่นกุญแจ ด้ามปากกา ขีดริมฝ่าเท้าตั้งต้นที่ส้นเท้าถึงนิ้วเท้า ถ้าผลบวกจะพบนิ้วเท้ากางออก ถ้านิ้วหัวแม่เท้ากระดกขึ้นในเด็กอายุ 1-2 ปี ถือว่าปกติ ถ้าอายุเกิน 2 ปีได้ผลบวกแสดงว่ามี upper motor neurone lesion

Brudzinski’s sign ให้เด็กนอนหงายใช้มือช้อนหลัง ศีรษะคางชิดอก ทำการทดสอบในเด็กที่มีการติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กจะทำไม่ได้ ถ้ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นแล้ว โดยคอแข็ง (stiff neck) และเด็กจะแสดงอาการเจ็บปวดโดยจะงอเข่าและสะโพกทันที ผลการตรวจจึงเป็น positive

Kernig’s sign ให้เด็กนอนหงายและงอเข่าทั้งสองข้าง ยกต้นขาให้ตั้งฉากกับลำตัวทีละข้างแล้วลองเหยียดขาข้างนั้นออก เด็กปกติจะสามารถยกขาตั้งฉากแล้วเหยียดเข่าตรงได้ แต่เด็กที่ติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองอักเสบจะทำไม่ได้เพราะมีอาการปวด ผลการตรวจจึงเป็น positive

Tendon reflex โดยใช้ไม้เคาะเข่าเอ็น เคาะตรงเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อให้ติดกับข้อกระดูกแล้วสังเกตดู reflex ที่เกิดจากการยึดกล้ามเนื้อต่างๆ โดยใช้ค้อนเคาะเอ็นเคาะตรงเหนือข้อพับแขน เหนือข้อศอก ส่วนกล้ามเนื้อขา และกล้ามเนื้อน่อง ซึ่งต้องใช้ไม้เอ็นเคาะ เคาะตรงใต้กระดูกสะบ้า และตรงเอ็นร้อยหวาย ค่าปกติคือ 2+ ถ้า reflex เร็วคือได้ 4+ แสดงว่ามีความผิดปกติของระบบประสาท

การประเมินระดับการรู้สติ ระดับการรู้สติ (Concious)มี 5 ระดับ Awake and alert Drowsy Stuporous Semi coma coma

Glasgow coma scale*

Cerebral Palsy (CP) หมายถึง ความบกพร่องของสมองส่วนที่ใช้ควบคุมกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทาง การทรงตัว การเคลื่อนไหว (motor disorders) ไม่จัดว่าเป็นโรค

สาเหตุ ระยะในครรภ์ ระยะคลอด ระยะแรกเกิดและระยะทารก การติดเชื้อ ภาวะทุพโภชนา รังสีเอ็กซ์ ,กัมมันตรังสี กรรมพันธุ์ 15% ระยะคลอด คลอดลำบาก ขาดออกซิเจน ระยะแรกเกิดและระยะทารก บาดเจ็บที่ศีรษะ ตกจากที่สูง

อาการและอาการแสดง -Spastic กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนกำลังและแข็งตึงได้มาก -Ataxia form ความสมดุลในการทรงตัวเสียไป -Athetosis มีการสั่นของกล้ามเนื้อ เคลื่อนไหวโดยไม่ตั้งใจ -Tremor มีอาการสั่นติดต่อกันและเป็นทั้งตัว -Rigidity มีอาการเกร็งของแขนขาจะต้านแรงเมื่องอหรือเหยียด -Mixed form คือมีอาการแสดงหลาย ๆ อย่างรวมกัน

Rigidity Ataxia form Athetosis

อาการและอาการแสดง (ต่อ)

การพยาบาล การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง 1. ดูแลเรื่องการเคลื่อนไหวของร่างกายที่บกพร่อง โดยการกระตุ้นให้เด็กนั่ง คลาน เดิน ตามวัยของเด็ก 2. จัดหาของเล่นที่จะกระตุ้นให้เด็กเกิดการเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหว นำของเล่นที่เขย่ามีเสียงไพเราะ 3. ช่วยเด็กในการใช้อุปกรณ์เสริมต่างๆ เช่นอุปกรณ์ช่วยเดินสำหรับเด็กที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เสริม 4. ส่งเด็กไปทำกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันความพิการอื่นๆ 5. ให้ยาคลายกล้ามเนื้อในเด็กที่มีอาการ

การพยาบาล (ต่อ) พร่องการดูแลตนเอง 1. กระตุ้นให้เด็กดูแลตนเองตามความสามารถ ถ้าเด็กทำไม่ได้ต้องช่วยเหลือให้เกิดความสุขสบาย 2. ระวังการเกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ ในเด็กที่มีน้ำลายหรือเสมหะมาก 3. ช่วยเหลือเด็กในการรับประทานอาหาร จัดอาหารที่มีแคลอรีสูงให้พอเพียง 4. แนะนำเรื่องการฝึกการขับถ่ายโดยใช้วิธีที่แตกต่างกันตามความสามารถของเด็ก

การพยาบาล (ต่อ) พัฒนาการช้ากว่าวัย 1. ส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านโดยใช้ของเล่นหรือกิจกรรมที่ให้เด็กได้และมีส่วนร่วมมากที่สุดตามความสามารถชองเด็ก 2. แนะนำบิดามารดา ญาติ หรือผู้ดูแลเด็กในการดูแลส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง 3. ติดตามและประเมินพัฒนาการเป็นระยะๆ