การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2561 นางวนิดา สมภูงา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 4 ธันวาคม 2560
CA DPAC SERVIC PLAN โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บุหรี่ สุรา อุบัติเหตุ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด SERVIC PLAN โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง DM HT CKD STROKE MI/STEMI COPD ASTMA นิ่ว DPAC CA ทีมงาน 10 คน (จนท. 6 คน/ พกส 3 คน/ ลูกจ้าง 1คน) OSCC อุบัติเหตุ RTI EMS จมน้ำ ยาเสพติด บุหรี่ สุรา ผู้พิการ TO BE NUMBER ONE สุขภาพจิต
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด นางสาวสุธัชสรา ปิ่นลออ 1. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ DM HT CKD STROKE MI/STEMI COPD ASTMA นิ่ว หัวใจพิการแต่กำเนิด นางมะลิ สุปัตติ 2. มะเร็ง ได้แก่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี มะเร็งลำไส้ มะเร็งปอด มะเร็งอื่น ๆ นางฐิติมา เสนาะ นางสาวสุธัชสรา ปิ่นลออ 3. DAPC องค์กรไร้พุง นายกิตติพงษ์ ระหาร ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 4. ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 5. การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน นางนงคราญไชยวัฒน์ นางสาววะนิดา เปรมทา 6. การป้องกันการจมน้ำ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 7. งานสุขภาพจิต -งานสุขภาพจิตในเด็ก -งานสุขภาพจิตในผู้ใหญ่ นางจันทราทร พละศักดิ์ 8. งานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ นางบุญช่วย ชมบุตรศรี 9. งานป้องกันควบคุมบุหรี่ สุรา 10. งาน OSCC 11. งานป้องกัน บำบัด รักษา ฟื้นฟู ยาเสพติด ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 นางจุฑารัศม์ กิ่งมณี 12. TO BE NUMBER ONE นางวนิดา สมภูงา และทีม 13. งาน SERVIC PLAN
งานป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง นางวนิดา สมภูงา นางสาวฐิติมา เสนาะ ,นางสาวสุธัชสรา ปิ่นละออ 1.มะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี 2. มะเร็งปากมดลูก 3. มะเร็งเต้านม 4. มะเร็งลำไส้ 5. มะเร็งปอด 5. มะเร็งอื่น ๆ 6. SERVIC PLAN
ร้อยละโรคมะเร็งที่พบบ่อยในเพศชาย จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2558 ร้อยละโรคมะเร็งที่พบบ่อยในเพศหญิง จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2558 ที่มา : ข้อมูลทะเบียนมะเร็ง โรงพยาบาลศรีสะเกษ
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ไม่ผ่าน 1. ร้อยละของประชากร กลุ่มเสี่ยงได้รับการ ตรวจคัดกรองมะเร็ง ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 80 80 60.06 ไม่ผ่าน 2.ร้อยละของผู้ที่มี ผลตรวจคัดกรอง มะเร็งท่อน้ำดี ผิดปกติได้รับการ รักษาต่อ 100 ผ่าน
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด KPI เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ไม่ผ่าน 3. ร้อยละของประชาชน สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการคัดกรอง มะเร็งเต้านม 90 79.65 ไม่ผ่าน 4. ร้อยละสะสมความ ครอบคลุมการ คัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกใน ประชาชนสตรี อายุ 30-60 ปี (2558-2560) 60 45.76 เดิม56.76
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ ผลงาน (ต.ค.-ส.ค.60) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 5.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการ รักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 80 93.54 ผ่าน 6.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการ รักษาด้วยเคมีบำบัด ภายในระยะเวลา 6สัปดาห์ 92.31
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 7.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการ รักษาด้วยรังสีรักษา ภายใน 6 สัปดาห์ 80 76.66 ไม่ผ่าน 8. อัตราการเสียชีวิต ด้วยโรคมะเร็งตับ/ มะเร็งท่อน้ำดี ไม่เกิน 23.5 ต่อแสนประชากร 23.5 47.34
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ ผลงาน (ตค.-ส.ค.59) ผ่าน/ ไม่ผ่าน 9. อัตราการเสียชีวิต ด้วยโรคมะเร็งปอด ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร 18 4.75 ผ่าน
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านม ประชากรอายุ 30-70 ปี ปี 2560 ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านม ประชากรอายุ 30-70 ปี ปี 2560 ลำดับ ที่ อำเภอ เป้าหมาย สตรีอายุ 30-70 ปี ผลงาน ร้อยละ 1 เมืองศรีสะเกษ 31,599 13,794 43.65 2 ยางชุมน้อย 7,299 4,267 58.46 3 กันทรารมย์ 18,413 14,751 80.11 4 กันทรลักษ์ 43,372 36,490 84.13 5 ขุขันธ์ 28,397 22,824 80.37 6 ไพรบึง 8,713 7,674 88.08 7 ปรางค์กู่ 12,148 9,592 78.96 8 ขุนหาญ 22,445 17,599 78.41 9 ราษีไศล 15,093 13,565 89.88 10 อุทุมพรพิสัย 18,791 17,108 91.04 11 บึงบูรพ์ 2,281 2,043 89.57
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านม ประชากรอายุ 30-70 ปี ปี 2560 ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านม ประชากรอายุ 30-70 ปี ปี 2560 ลำดับ ที่ อำเภอ เป้าหมาย สตรีอายุ 30-70 ปี ผลงาน ร้อยละ 12 ห้วยทับทัน 7,003 5,902 84.28 13 โนนคูณ 7,674 5,542 72.22 14 ศรีรัตนะ 9,398 8,370 89.06 15 น้ำเกลี้ยง 8,825 6,778 76.80 16 วังหิน 10,166 8,726 85.84 17 ภูสิงห์ 9,167 7,826 85.37 18 เมืองจันทร์ 3,308 2,985 90.24 19 เบญจลักษ์ 6,793 6,128 90.21 20 พยุห์ 6,607 3,747 56.71 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ 4,009 3,364 83.91 22 ศิลาลาด 3,783 2,834 74.91 รวม 285,284 221,909 79.65
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ประชากรอายุ 30-60 ปี สะสม (ปี 2558-2560) ที่ อำเภอ ประชากรเป้าหมาย ผลการดำเนินงานสะสม ปีงบประมาณ ๒๕๕๘-๒๕๖๐ ผลงาน (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี ๒๕๖๑ (ร้อยละ) 1. เมืองศรีสะเกษ 25,811 5,825 22.57 57.43 14,824 2. ยางชุมน้อย 5,841 2,392 40.26 39.74 2,361 3. กันทรารมย์ 14,895 7,220 48.47 31.53 4,696 4. กันทรลักษ์ 36,042 19,656 54.54 25.46 9,178 5. ขุขันธ์ 22,858 12,609 55.16 24.84 5,677 6. ไพรบึง 6,907 3,237 46.87 33.13 2,289 7. ปรางค์กู่ 9,731 5,189 53.32 26.68 2,596 8. ขุนหาญ 18,466 7,102 38.46 41.54 7,671 9. ราษีไศล 11,924 4,896 41.06 38.94 4,643 10. อุทุมพรพิสัย 14,641 7,955 54.33 25.67 3,758 11. บึงบูรพ์ 1,839 725 39.42 40.58 746
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ประชากรอายุ 30-60 ปี สะสม (ปี 2558-2560) ที่ อำเภอ ประชากรเป้าหมาย ผลการดำเนินงานสะสม ปีงบประมาณ ๒๕๕๘-๒๕๖๐ ผลงาน (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี ๒๕๖๑ (ร้อยละ) 12. ห้วยทับทัน 5,582 2,506 44.89 35.11 1,960 13. โนนคูณ 6,250 3,217 51.47 28.53 1,783 14. ศรีรัตนะ 7,746 4,370 56.43 23.57 1,826 15. น้ำเกลี้ยง 7,233 2,450 33.87 46.13 3,336 16. วังหิน 8,298 2,068 24.92 55.08 4,570 17. ภูสิงห์ 7,573 4,235 55.92 24.08 1,823 18. เมืองจันทร์ 2,563 973 37.96 42.04 1,077 19. เบญจลักษ์ 5,706 3,178 55.70 24.30 1,387 20. พยุห์ 5,260 ๑,๙๒๑ 36.52 43.48 2,287 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ 3,083 2,151 69.77 10.23 315 22. ศิลาลาด 3,002 1,346 44.84 35.16 1,056 รวม 231,351 105,222 45.76 34.24 79,859
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งตับมะเร็งท่อนำดีประชากรอายุ 40 ปีขึ้นไป ปี 2560 ที่ อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1 เมือง 1,603 505 31.50 2 ยางชุมน้อย 602 374 62.13 3 กันทรารมย์ 1,869 1,007 53.88 4 กันทรลักษ์ 3,398 1,851 54.47 5 ขุขันธ์ 2,106 1,635 77.64 6 ไพรบึง 256 192 75.00 7 ปรางคืกู่ 1,140 903 79.21 8 ขุนหาญ 1,692 866 51.18 9 ราษีไศล 576 406 70.49 10 อุทุมพรพิสัย 1,606 910 56.66 11 บึงบูรพ์ 162 46 28.40
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งตับมะเร็งท่อนำดีประชากรอายุ 40 ปีขึ้นไป ปี 2560 ที่ อำเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 12 ห้วยทับทัน 546 375 68.68 13 โนนคูณ 714 84 11.76 14 ศรีรัตนะ 1186 938 79.09 15 น้ำเกลี้ยง 484 204 42.15 16 วังหิน 595 343 57.65 17 ภูสิงห์ 1059 935 88.29 18 เมืองจันทร์ 81 50 61.73 19 เบญจลักษ์ 689 583 84.62 20 พยุห์ 461 301 65.29 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ 354 179 50.56 22 ศิลาลาด 215 148 68.84 รวม 21394 12835 59.99
อัตราตายด้วยโรคมะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 (เป้าหมาย <23.5/แสนประชากร)
ปัญหา โรคมะเร็ง 1.ผลการดำเนินงานยังไม่ได้ตามเป้าหมาย 1) ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมยังต่ำ ร้อยละ 79.65 (เกณฑ์ร้อยละ 90) 2) ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ร้อยละ 45.76 (เกณฑ์ร้อยละ 60) 3) ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 59.99 (เกณฑ์ร้อยละ 80) 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายยังไม่เข้าถึง ระบบระบบบริการการคัดกรอง 3. การจัดเก็บข้อมูลยังไม่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
แนวทางการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2561 1.ร้อยละของประชากรอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 (สะสมตั้งแต่ปี 2558-2561) 2. ร้อยละของประชากรอายุ 30-70 ปี ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90 3.ร้อยละของประชากรอายุ 40 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 100 (โครงการพระราชดำริ) 4.ร้อยละของประชากรอายุ 50-70 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ร้อยละ 80
KPI ปี 2561 9.อัตราตายจากมะเร็งปอด18/แสนประชากร กลุ่มงาน NCD 5.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85 6.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วย เคมีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85 7.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วย รังสีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85 8.อัตราตายจากมะเร็งปอด18/แสนประชากร 9.อัตราตายจากมะเร็งปอด18/แสนประชากร
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งเต้านม สำรวจรวบรวมข้อมูลประชากรเป้าหมาย คือสตรีอายุ 30-70 ปี ที่มีอยู่ในพื้นที่ 2. ตรวจคัดกรองประชากรเป้าหมายให้แล้ว เสร็จภายในไตรมาส 2 (เดือนมีนาคม 2561) 3. คีย์ข้อมูลในระบบ 43 แฟ้ม ตรวจคัดกรอง บันทึกรหัส Z12.3 4. สรุปวิเคราะห์ข้อมูลทุกเดือน (HDC)CA61\1CAเต้านม.docx
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งปากมดลูก 1. สำรวจรวบรวมข้อมูลประชากรเป้าหมาย คือสตรีอายุ 30-60 ปี ที่มีอยู่ในพื้นที่ 2. กำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาพื้นที่ 3. ตรวจคัดกรองประชากรเป้าหมายให้แล้ว เสร็จภายในไตรมาส 2 (เดือนมีนาคม 2561) 3. คีย์ข้อมูลในระบบ 43 แฟ้ม *ยังไม่ทราบผลตรวจบันทึก Special PPรหัส 1B0044 *ผลตรวจปกติบันทึก Special PPรหัส 1B30 *ผลตรวจผิดปกติ บันทึก Special PP รหัส 1B40 4. สรุปวิเคราะห์ข้อมูลทุกเดือน (HDC) 5. สำรวจตรวจสอบคุณภาพของแหล่งตรวจ Pap Smear ทุกอำเภอ ส่งข้อมูลให้จังหวัดภายในวันที่ 13 ธ.ค.2560
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี 1.สำรวจประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 40 ปีขึ้นไป -เคยตรวจพบพยาธิใบไม้ในตับ (OV) - บุคคลในครอบครัวที่มีประวัติเสียชีวิตด้วยมะเร็งตับ/ ท่อน้ำดี โดยนับสายตรง ๓ ชั้นได้แก่ พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ของผู้เสียชีวิต - ป่วยเป็นcase Hepatitis B หรือ Chronic Active Hepatitis-B - ผู้ป่วยกลุ่ม Alcoholic หรือ Cirrhosis 2. ตรวจอัลตร้าซาวด์กลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี 3.การลงบันทึกในฐานข้อมูล ๔๓ แฟ้ม โรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ดังนี้ - รหัสการวินิจฉัย Z128: Specific screening for CA - อัลตร้าซาวด์ รหัสหัตการการตรวจบันทึกใน ๔๓ แฟ้ม โรงพยาบาล หัตการ ๘๘๗๖ หรือบันทึกใน ๔๓ แฟ้ม ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หัตการ ๙๒๗๐๗๐๐ - กรณีผลการตรวจอัลตร้าซาวด์ พบสิ่งผิดปกติ มีรายละเอียดบันทึกตามแนวทาง
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี 4. การบันทึกข้อมูลการคัดกรองมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี 1) บันทึกข้อมูลในฐานโรงพยาบาลหรือฐานข้อมูล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (43แฟ้ม) 2) บันทึกข้อมูลในโปรแกรมการดำเนินงาน โครงการกำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศล (Isan Cohort) ในแบบ CCA 00 , CCA01 , CCA02 และสแกนใบยินยอม 3) ขอให้ตรวจสอบข้อมูลใน 43แฟ้ม และ Isan Cohort เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้ข้อมูลตรงกัน
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ 1. สำรวจ/รวบรวมข้อมูลประชากรเป้าหมาย อายุ ๕๐-๗๐ ปี ในพื้นที่ 2. ดำเนินกิจกรรมการคัดกรองโดยใช้แบบฟอร์ม ในกลุ่มเป้าหมายร่วมกับมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1) ถ่ายเป็นมูกเลือด หรือถ่ายกระปิดกระปรอย ติดต่อกันภายในปีนี้ 2) น้ำหนักลดลง ๑๐% โดยไม่ทราบสาเหตุ 3) มีภาวะซีดไม่ทราบสาเหตุ 4) ท้องผูกเรื้อรัง 5) มีประวัติญาติสายตรง เป็น CA Colon ได้แก่ พ่อ แม่ ลูก ปู่ ย่า ตา ยาย
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ 3. กลุ่มเสี่ยงจากแบบฟอร์ม ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตรวจ FIT test โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องที่ผ่านการอบรม การตรวจ FIT test จากเขตตรวจสุขภาพที่ ๑๐ 4. กรณีตรวจ FIT test ให้ผลบวก ให้ส่งต่อ พบแพทย์เพื่อทำการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (Colonoscopy) เพื่อการวินิจฉัย 5. กรณีวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ให้ส่งต่อ ผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษามาตรฐาน 6.จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยให้ครบถ้วน โดยบูรณาการกับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ปกติ
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ 7. มีการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน โดยคีย์ข้อมูลการคัดกรอง FIT test ใน ๔๓ แฟ้ม (Positive มีช่องให้ลงได้) รหัสการลง Screening คือ - 1B0060 = ปกติ - 1B0061 = ผิดปกติ - รหัสหัตถการใช้ ICD9 cm
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ ที่ อำเภอ ประชากร อายุ 50-70 ปี (คน) Fit tese (คน) 1 เมืองศรีสะเกษ 26,610 3,105 2 ยางชุมน้อย 6,761 789 3 กันทรารมย์ 17,856 2,084 4 กันทรลักษ์ 33,621 3,924 5 ขุขันธ์ 25,275 2,950 6 ไพรบึง 8,052 940 7 ปรางค์กู่ 11,602 1,354 8 ขุนหาญ 18,792 2,193 9 ราษีไศล 15,070 1,772 10 อุทุมพรพิสัย 18,709 2,206 11 บึงบูรพ์ 2,245 262
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ ที่ อำเภอ ประชากร อายุ 50-70 ปี (คน) Fit tese (คน) 12 ห้วยทับทัน 6,651 776 13 โนนคูณ 6,834 798 14 ศรีรัตนะ 8,611 1,005 15 น้ำเกลี้ยง 7,469 872 16 วังหิน 8,483 990 17 ภูสิงห์ 7,890 728 18 เมืองจันทร์ 3,212 375 19 เบญจลักษ์ 5,958 695 20 พยุห์ 6,348 741 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ 4,054 473 22 ศิลาลาด 3,806 444 รวม 253,909 29,640
มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี พื้นที่เร่งรัด ปี 2561 มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี ทุกอำเภอ งานใหม่เริ่มปี 2561 มะเร็งลำไส้ใหญ่
วางแผน.... งานใหม่เริ่มปี 2561 มะเร็งลำไส้ใหญ่ 1. คัดกรองให้แล้วเสร็จไตรมาสที่ 2 2. ประชากรเป้าหมาย -มะเร็งเต้านม 30-70 ปี -มะเร็งปากมดลูก 30-60 ปี -มะเร็งตับท่อน้ำดี 40 ปีขึ้นไป -มะเร็งลำไส้ 50-70 ปี งานใหม่เริ่มปี 2561 มะเร็งลำไส้ใหญ่
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม โยเครื่องเอ็กซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐ พื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 ได้แก่ 1. อำเภอศรีรัตนะ 2. อำเภอภูสิงห์ 3. อำเภอขุนหาญ 4. อำเภอราษีไศล
สรุปโครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม 1. พื้นที่ดำเนินการ ทุกอำเภอ 2.