การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Advertisements

ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
Health Promotion & Environmental Health
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
เขตสุขภาพ ที่11.
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการจัดทำคำของบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การบริหารและขับเคลื่อน
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
Public Health Nursing/Community Health Nursing
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559 วันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2559 เวลา 09.00 - 14.00 น. ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ

ระเบียบวาระการประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559 เอกสารหมายเลข 4 ระเบียบวาระการประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559 ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมฯ ครั้งที่ 3/2559 2.1 รายงานการประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันอังคารที่ 24 พฤษภาคม 2559 (เอกสารหมายเลข 1) ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหาร สำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ...... (เอกสารหมายเลข 2) 3.2. ความก้าวหน้ากฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (เอกสารหมายเลข 3) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 (เอกสารหมายเลข 4) ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)

ระเบียบวาระที่ 4.1 (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 (เอกสารหมายเลข 4)

วิสัยทัศน์กรมอนามัย H = Health Model (เป็นต้นแบบสุขภาพ) พันธกิจ ค่านิยม H = Health Model (เป็นต้นแบบสุขภาพ) E = Ethics (มีจริยธรรม) A = Achievement (มุ่งผลสัมฤทธิ์) L = Learning (เรียนรู้ ร่วมกัน) T = Trust (เคารพและเชื่อมั่น) H = Harmony (เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน) ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพประชาชน

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues) 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล

แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 วิสัยทัศน์กรมฯ “กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพประชาชน” มิติที่ 1 ประชาชน  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น   1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุ ไทยเพื่อเป็นหลักชัย ของสังคม เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ   เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงาน หุ่นดี สุขภาพดี เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป้าประสงค์ที่1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เป้าประสงค์ที่ 3 อายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน มิติที่ 2 คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายประชารัฐร่วมดำเนินการสามารถนำสินค้าและบริการ (Product) ของกรมอนามัยไปใช้อย่างเหมาะสม มิติที่ 3 กระบวนการภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรสมรรถนะสูง (HPO) มิติที่ 4 การเติบโตนวัตกรรมและศักยภาพ เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์ ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 1) อัตราส่วนมารดาตาย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน - ไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาการบริหารจัดการที่ดีเพื่อลดการตายมารดาผ่าน MCH Board ระดับเขต/จังหวัด มาตรการ 1.1 สร้างความเข้มแข็งของMCH Boardระดับเขต/จังหวัด 1.2 โรงพยาบาลให้บริการตามนโยบายฝากท้องทุกที่ฟรีทุกสิทธิ์ 1.3 เน้นให้รพ.ใช้ถุงตวงเลือด มีคลังเลือด มียา3ตัว oxytocin Methagincytotec ระบบส่งต่อ 1.4 ผลิตต้นแบบโปสเตอร์การจัดการภาวะตกเลือดและความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวังการตายมารดา 2.1 เฝ้าระวังการตายมารดา 2.2 สำรวจการตายมารดา ข้อเสนอแนะ กลยุทธ์ 1 - ให้มีผลักดัน Service Plan แม่และเด็ก เพิ่มกลไก MCH Board ด้านการจัดการให้ปฏิบัติได้จริง เพิ่ม มาตรการสำคัญ 2 เรื่อง ได้แก่ 1)พัฒนาห้องคลอดคุณภาพ และ 2) พัฒนาระบบการส่งต่อ

เป้าประสงค์ ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย มาตรการ 3.1 พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด ให้เกิด Obstetric Fast Tract(OFT) ภายใน 30 นาที กลยุทธ์ที่ 4 สนับสนุนให้สถานบริการจัดบริการอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน 4.1 ประเมินรับรองมาตรฐานบริการ (ANC, LR, WCC, DCC) 4.2 สุ่มประเมินเพื่อกำกับ ติดตามการดำเนินงาน คัดกรองหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง (RM) คัดกรองพัฒนาการเด็ก และส่งต่อแก้ไขพัฒนาการล่าช้า 4.3 บริการชุดสิทธิประโยชน์เข้าถึง เท่าเทียมเน้นTriferdine 4.4 ประชุมวิชาการและประกาศเกียรติคุณโรงพยาบาลผ่านมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาระบบสารสนเทศงานแม่และเด็ก 5.1 จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านอนามัยแม่และเด็ก

เป้าประสงค์ ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 2) เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย - ร้อยละ 80 กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมบทบาทผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มาตรการ 1.1 สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมบทบาทผู้ปกครองด้านพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็ก 1.2 สร้างชุดความรู้การส่งเสริมบทบาทผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 1.3 สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองกับศูนย์เลี้ยงดูเด็กในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพครูพี่เลี้ยง/พี่เลี้ยงเด็กให้สามารถใช้เครื่องมือคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2.1 สนับสนุนองค์ความรู้การใช้เครื่องมือคัดกรองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็ก 2.2 ผลักดันให้มีการจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็ก 2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็ก ข้อเสนอแนะ - เพิ่มด้านโภชนาการ - พัฒนาการเด็กขึ้นอยู่กับศูนย์เด็กเล็ก ครอบครัว และชุมชน - มอบกผ. ปรับมาตรการให้ชัดเจน โดยประสานงานกับ Cluster

เป้าประสงค์ ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มาตรการ 3.1 สร้างข้อแนะนำการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 3.2 ผลักดันให้มีข้อกำหนดจัดสรรพื้นที่ในสวนสาธารณะสำหรับส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 3.3 ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดมุมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในสถานที่ทำงานและสถานประกอบการ กลยุทธ์ที่ 4 ผลักดันการติดตามเด็กที่สงสัยล่าช้า 4.1 สร้างระบบติดตามการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่สงสัยล่าช้า (4 กระทรวงบูรณาการ) 4.2 กำหนดกลไกการขับเคลื่อนระบบติดตามการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่สงสัยล่าช้า 4.3 สร้างความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย

เป้าประสงค์ ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ชาย เท่ากับ 113 ซม. หญิง เท่ากับ 112 ซม. กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน มาตรการ 1.1 ผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายโภชนาการ 1,000 วันแรก และนโยบายดื่มนมแห่งชาติ 1.2 ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน 1.3 สร้างทักษะการจัดอาหารและเฝ้าระวังทางโภชนาการด้วยตนเองแก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และพ่อ แม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัวและศูนย์เด็กเล็ก 1.4 พัฒนาคุณภาพการให้บริการด้านโภชนาการ ใน ANC และ WCC โดยขับเคลื่อนผ่าน MCH Board 1.5 นิเทศติดตามและประเมินผล ข้อเสนอแนะ - ปรับมาตรการเพิ่ม Physical Activity การนอน

เป้าประสงค์ ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 2 สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปีสูงดีสมส่วน มาตรการ 2.1 ส่งเสริมการสื่อสารสาธารณะและสร้างกระแสสังคมเพื่อส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน โดยผ่าน social marketing, social media และ national product champion 2.2 พัฒนาศักยภาพการส่งเสริมเด็กไทยสูงดีสมส่วนแก่บุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่าย 2.3 เพิ่มบทบาทของครอบครัว ชุมชน และอสม.ส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 2.4 ยกระดับคุณภาพการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กในหมู่บ้านและศูนย์เด็กเล็ก 2.5 ศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน

เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 4) เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ - ส่วนสูงเฉลี่ยเด็กอายุ 14 ปี ชาย 166 ซม. หญิง 159 ซม.   5) เด็กวัยเรียน (ม.1) มีสมรรถภาพทางกายระดับผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 6) เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (เพิ่ม) - พฤติกรรมการบริโภค - ออกกำลังกาย - สุขอนามัยส่วนบุคคล - ทันตสุขภาพ - สุขภาพจิต - สุขอนามัยทางเพศ - อนามัยสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะ เสนอให้วิจัย พัฒนา NuPETHS ก่อน คัดเลือก Proxy 3 พฤติกรรมที่พึงประสงค์

เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน มาตรการ 1.1 ผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายระดับชาติ 1.2 ผลักดันให้ภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่มีแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างเป็นรูปธรรม 1.3 บูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างเป็นระบบ 1.4 สร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายประชารัฐเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาองค์ความรู้และวิจัย 2.1 พัฒนาชุดความรู้การดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบองค์รวม NuPETHS 2.2 พัฒนา ผลิต และเผยแพร่องค์ความรู้/ นวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบบูรณาการ (Holistic Package) 2.3 ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนางานวิจัยการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนที่มีคุณภาพและปริมาณเพิ่มขึ้น 2.4 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขและนักวิจัยหน้าใหม่ด้านการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างต่อเนื่อง ให้จัดลำดับความสำคัญกลยุทธใหม่ โดยให้ประเด็น ลดเวลาเรียนฯ, รร.ส่งเสริมสุขภาพ ไว้เป็นอันดับต้นๆ ปรับปรุงกระบวนการทำงานในรร.ส่งเสริมสุขภาพ มอบสำนักส่งเสริมสุขภาพพิจารณากระบวนการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเด็กวัยเรียน มาตรการ 3.1 ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผ่านกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 3.2 ผลักดันการจัดบริการสุขภาพนักเรียนตามชุดกิจกรรมบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้ระบบ ประกันสุขภาพแห่งชาติ 3.3 ปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็กวัยเรียน ผ่านการจัดกิจกรรมนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ด้านสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบข้อมูลและติดตามประเมินผล 4.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างเป็นระบบ มีความเชื่อมโยงกับ service plan และเป็นปัจจุบัน 4.2 ส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อนำมาพัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบองค์รวม 4.3 สร้างแรงจูงใจผู้ปฏิบัติงานส่งเสริม สุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างต่อเนื่อง 4.4 กำกับ ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง 4.5 ประเมินผลการดำเนินงานแบบบูรณาการ 3.1 ปรับปรุงกระบวนการการทำงานในรร.ส่งเสริมสุขภาพให้เกิดการจูงใจ ให้ครู นักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา อยากเข้ามามีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น และส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ให้เกิด..... 3.3 ขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาเรียน เพื่อ...................

ไม่เกิน 34 ต่อประชากรหญิงอายุ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 7) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน - ไม่เกิน 34 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน 8) วัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ - สูงสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 - ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี ชาย เท่ากับ 174 ซม. และหญิง เท่ากับ 160 ซม.

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เร่งรัดการออกกฎกระทรวง แนวปฏิบัติ และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ปรับ เร่งรัดการบริหารและขับเคลื่อนกฎหมาย มาตรการ 1.1 เร่งรัดให้กระทรวงที่เกี่ยวข้องออกกฎกระทรวง หรืออนุบัญญัติอื่นภายใต้ พรบ. การป้องกันและแก้ปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 1.2 ผลักดันให้ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2560-2569 ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 1.3 ผลักดันการบังคับใช้กฎหมายสู่การปฏิบัติตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย (5 กระทรวงหลัก) กลยุทธ์ที่ 2 สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและพัฒนาต่อยอดให้กลายเป็นการทำงานในลักษณะของ Partnership มากขึ้น 2.1 แสวงหาและสร้างพันธมิตรร่วมดำเนินงาน 2.2 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพให้ภาคีเครือข่าย 2.3 กำหนดเป้าหมายการทำงานร่วมกัน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) ให้มากขึ้น มาตรการ 3.1 ผลิตสื่อที่ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 3.2 เพิ่มช่องทางในการสื่อสารให้มีความหลากหลายและเหมาะสม กลยุทธ์ที่ 4 สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ ภายใต้ พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 4.1 สนับสนุนการดำเนินงานโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS) เพื่อการเข้าถึงบริการสุขภาพที่เป็นมิตรทั้งเชิงรับและเชิงรุก 4.2 เร่งรัดการจัดบริการคุมกำเนิดด้วยเวชภัณฑ์คุมกำเนิดกึ่งถาวร 4.3 สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 4.4 พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ พรบ. การป้องกันและแก้ปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559

เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 9) ร้อยละของวัยทำงาน ช่วงอายุ 15-29, 30-44, และ 45-49 ปี มี BMI ปกติ ร้อยละ 36.5 ร้อยละ 37 ร้อยละ 38 ร้อยละ 39 ร้อยละ 40 10) ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ตามหลัก 5อ 2ส 1ฟ 1น (เพิ่ม) *ให้วิจัย พัฒนาก่อน เลือก 1 บริโภค 2 กิจกรรมทางกาย และ 3นอน - ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของกลุ่มวัยทำงาน มาตรการ (ปรับมาตรการให้ชัดเจน เพิ่ม Active living ตาม setting และ Healthy Eating) 1.1 จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติดำเนินงานรวมถึงบูรณาการให้เกิดความร่วมมือระหว่างกระทรวงและภาคีเครือข่าย3ที่เกี่ยวข้อง 1.2 ผลักดันให้เกิดข้อตกลงหรือมาตรการทางสังคม หรือนโยบาย ระดับองค์กร ระดับท้องถิ่น และระดับประเทศ ในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.3 สื่อสารนโยบายหรือถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง 1.4 ติดตามและประเมินผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

เป้าประสงค์ที่ 1.6 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 1.6 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกระดับในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (Health Leader) มาตรการ 2.1 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.2 พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมประชากรวัยทำงาน 2.2 สร้างแกนนำด้านสุขภาพ (Health Leader)4ที่มีศักยภาพในสถานที่ทำงาน5และชุมชน6 2.4 สนับสนุนบทบาทและศักยภาพแกนนำในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมประชากรวัยทำงาน กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและช่องทางการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (Health Data Center) 3.1 พัฒนาและเชื่อมโยงการจัดเก็บข้อมูลกับฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3.2 พัฒนาชุดข้อมูล ความรู้ ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมประชากรวัยทำงาน 3.3 พัฒนาเทคโนโลยีและช่องทางการสื่อสารข้อมูล ความรู้ สู่ประชาชน ที่เหมาะสมและทันสมัย *เพิ่มกลยุทธ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (เริ่มอายุ 50-59 ปี )

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีดี ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 11) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) - ไม่น้อยกว่า 69 ปี (ภายใน 5ปี)

เตรียมความพร้อมระบบสนับสนุนและคนในการ เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ กลยุทธ์ เตรียมความพร้อมระบบสนับสนุนและคนในการ เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Social มีส่วนร่วมในสังคม) พัฒนาระบบ การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Strong : Healthy มีสุขภาพดี) พัฒนาระบบบริหารจัดการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อผู้สูงอายุ สู่ความยั่งยืน (Secure) มาตรการ 1.ส่งเสริมสนับสนุนการ รวมกลุ่มเพื่อสร้างความ เข้มแข็งของชมรม ผู้สูงอายุ 2.ส่งเสริมสนับสนุน Brain Bank ในทุกองค์กร 3.ส่งเสริมสนับสนุนการ สื่อสารสาธารณะที่เอื้อ ต่อผู้สูงอายุ และเข้าถึง ได้ง่าย 4. สร้าง/พัฒนาโรงเรียน ผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 4. ปรับให้ชัดเจนมากขึ้น ต่อยอดจากโครงการเดิม สามารถตัดไปต่อจากมาตรการที่ 1ได้ ปรับมาตรการ   สร้างความรู้ ตระหนักและทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองของ ประชาชน ครอบครัว ชุมชน ปรับ ให้ชัดเจนมากขึ้น เช่น สร้าง/พัฒนา ระบบเฝ้าระวังด้านสุขภาพ 2. พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพ และบริการการดูแล ผู้สูงอายุใน ชุมชน 3.พัฒนาระบบ Intermediate Care ในชุมชน 4. สร้าง Ageing friendly Community 1.พัฒนาระบบบริการสุขภาพและ สังคม รวมทั้งระบบ Long Term Care 2.ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีที่อยู่อาศัย และ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม 3.พัฒนาระบบสวัสดิการแบบ ประชารัฐ “ชุดสิทธิประโยชน์ ธรรมนูญชุมชน”

ประเด็นยุทธศาสตร์ :ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) - 1.ส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งของ ชมรมผู้สูงอายุ 2.ส่งเสริมสนับสนุน Brain Bank ในทุกองค์กร 3.ส่งเสริมสนับสนุนการสื่อสารสาธารณะที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ และเข้าถึงได้ง่าย 4. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม ที่เหมาะสม 5. สร้าง/พัฒนาโรงเรียนผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 6. ส่งเสริม Ageing friendly Community - ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองพึ่งตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 80 ปี ยังแจ๋ว คุณภาพการ ให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิ ภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล 1.พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาฐานข้อมูล - ส่งเสริมให้มีการใช้ฐานข้อมูล สารสนเทศ - พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผล และ เฝ้าระวัง 2.พัฒนาบุคลากร - พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ - พัฒนาบุคลากรด้านวิชาการ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.พัฒนาบรรยากาศให้เอื้อต่อการทำงาน -ส่งเสริมการทำงานแบบบูรณาการ -สร้างแรงจูงใจในการทำงาน / การทำงานแบบระบบพี่ลี้ยง 1.พัฒนาองค์ความรู้ /คู่มือ/แนวทางในการ พัฒนาทักษะดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ครอบครัว และ ชุมชน 2.พัฒนาระบบการให้บริการที่สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงง่าย ดูแลเชิงรุกถึงบ้านและชุมชน 3.พัฒนาระบบ Intermediate Care ใน โรงพยาบาลชุมชน 4.พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและสังคม รวมทั้ง ระบบ Long Term Care 7

ร้อยละ 100 ของตำบล มีชุมชนที่มีศักยภาพตามเกณฑ์ฯ (7,255 ตำบล) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 12) ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน - ร้อยละ 100 ของตำบล มีชุมชนที่มีศักยภาพตามเกณฑ์ฯ (7,255 ตำบล) ร้อยละ 100 ของตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพ ตามเกณฑ์ฯ แล้วเมื่อปี 2560-2562 มีนวัตกรรมชุมชนการจัดการ อวล.ชุมชน (7,255 ตำบล)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมประชาชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรการ 1.1 สร้างความตระหนักรู้ เท่าทันข้อมูล ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1.2 สนับสนุนบทบาทและศักยภาพชุมชนในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับชุมชน 1.3 พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมทุกระดับ กลยุทธ์ที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ได้มาตรฐานและตามที่กฎหมายกำหนด มาตรการ 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 2.2 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อปท.ในการแก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ (เช่น ขยะ และปฏิกูล พื้นที่เสี่ยงมลพิษ)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 ขับเคลื่อนกลไกการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข มาตรการ 3.1 ส่งเสริมบทบาท อสธจ. ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่อย่างบูรณาการ ปรับ สร้างความเข้มแข็งของกลไกระดับจังหวัดและอำเภอ 3.2 พัฒนากฎหมายระดับอนุบัญญัติและส่งเสริมการบังคับใช้ 3.3 พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานสาธารณสุขทุกระดับ ปรับ พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานสาธารณสุขทุกระดับทั้งระดับภูมิภาคและท้องถิ่น 3.4 กำกับ ติดตาม การบังคับใช้กฎหมาย กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการบริหาร 4.1 จัดทำข้อเสนอและผลักดันเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติดำเนินงาน เพื่อการขับเคลื่อนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 4.2 พัฒนาวิชาการ องค์ความรู้ 4.3 พัฒนาชุดข้อมูล อวล. ระบบเฝ้าระวัง 4.4 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมร่วมกับ 4.5 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามและประเมินผลอย่างเป็นระบบ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายประชารัฐผนึกกำลังอย่างมีเอกภาพ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product) ของกรมอนามัยไปใช้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 13) ร้อยละของภาคีเครือข่ายประชารัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product) ของกรมอนามัยไปใช้ ร้อยละ 80 14) ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายประชารัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ *ตัวชี้วัดที่ 1 ให้ระบุกลุ่มเป้าหมายให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งว่าจะวัดเครือข่ายใด โดยให้เลือก Proxy ที่สะท้อนบทบาทหลักของกรมอนามัย(Core Business) แต่ควรอยู่ใกล้ End User - ปรับค่าเป้าหมายแต่ละปี โดยต้องรวบรวมข้อมูล Baseline Data ของหน่วยงานกรมอนามัยก่อนเพื่อดูภาพรวม - มอบ กผ.+ทีม Change หารืออธิบดี

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายประชารัฐผนึกกำลังอย่างมีเอกภาพ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product) ของกรมอนามัยไปใช้อย่างเหมาะสม กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เร่งรัดการสร้างหุ้นส่วน (Partnership) ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน มาตรการ: บริหารความสัมพันธ์ 1.1 วิเคราะห์พันธมิตร (Stakeholder Analysis) ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยตามแผนยุทธศาสตร์ 1.2 ออกแบบและวางแผนการประสานงาน สร้างความร่วมมือ กำกับดูแลและช่วยเหลือพันธมิตร 1.3 สร้างพันธสัญญา/ข้อตกลงในการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการของกรมอนามัย มาตรการ: พัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ (Product and Service Model Development) ของกรมอนามัย 2.1 จัดเวทีส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ 2.2 เร่งรัดให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการโดยใช้กระบวนงานหลักของกรมอนามัย (Core business Process) 2.3 ส่งเสริมการนำไปใช้โดยใช้กระบวนการสื่อสารเพื่อสังคม (Social Marketing) 2.4 สร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสมรรถนะของพันธมิตรผ่านระบบออนไลน์ กลยุทธ์ที่ 3 สนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของหุ้นส่วนการทำงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม (Partnership capacity building) มาตรการ ส่งเสริมแนวคิดด้านสุขภาพและการใช้สินค้าและบริการของกรมอนามัย 3.1 เสริมสร้างขีดความสามารถพันธมิตรและภาคีโดยใช้ระบบสอนงานและระบบพี่เลี้ยงให้ครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ 3.2 สร้างแนวคิดและมุมมองเชิงยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขให้กับพันธมิตรในการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมด้านสุขภาพในทุกมิติ (Health in All Policies)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (จากบุคคลสู่กลุ่มคนสู่องค์กร) ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 15) จำนวนนวัตกรรมที่เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ชิ้นต่อ 1 หน่วยงาน 16) ร้อยละของนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ของนวัตกรรมที่มีอยู่ 17) จำนวนงานวิจัยที่เพิ่มขึ้น 18) ร้อยละของงานวิจัยที่ถูกนำไปใช้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ของงานวิจัยที่มีอยู่ *ให้นิยาม คำว่า นวัตกรรม และ ถูกนำไปใช้ หมายถึงอะไร *ให้กผ. รวบรวมข้อมูลวิจัยและนวัตกรรมของกรมอนามัย โดยประสานงานกับสำนักคกก.ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงให้คาดการณ์เป้าหมายในปี 64 ว่าเป็นกี่เท่าของข้อมูลปัจจุบัน และ Cascade เป้าหมาย

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 19) การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ได้รับ Thailand Quality Award ปรับเป้าหมาย เช่น ปี 59 ทำ 3 หมวด และปี 60 ทุกหมวด เป็นต้น เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีคุณธรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 20) ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของกรมอนามัย หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยผ่านเกณฑ์ ITA ร้อยละ 50 หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยผ่านเกณฑ์ ITA ร้อยละ100

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล กลยุทธ์/มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนองค์กรสู่การเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล มาตรการ 1.1 เร่งรัดการดำเนินงานตามกระบวนการ PMQA นำไปสู่การปรับปรุงกระบวนงานใหม่อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ 1.2 เร่งรัดให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม 1.3 ยกระดับการบริหารและพัฒนากำลังคนกรมอนามัย (วางแผน พัฒนา รักษากำลังคน) 1.4 ผลักดันงานประจำให้เป็นงานวิจัย (R2R) 1.5 เร่งรัดให้เกิดคลังข้อมูล ความรู้ เทคโนโลยีและสารสนเทศของระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับการขับเคลื่อนการดำเนินงาน 1.6 พัฒนามาตรฐานการบริหารงานตามเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของกรมอนามัย 1.7 พัฒนากลไกการกำกับ ติดตาม และประเมินผล ในลักษณะช่วยเหลือและสนับสนุน *ปรับ กลยุทธ์ให้สอดคล้องกับเป้าประสงค์ เป็น 3 กลยุทธ์/3 เป้าประสงค์ และ 1 กลยุทธ์ มีมาตรการไม่เกิน 3 มาตรการ

แนวทางการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ DOH Strategy Implementation Process Functions ส่วนกลาง Strategic communication Action plan Project risk management Strategy Cascade Strategic communication 6 Clusters + 3 Supporting Groups Health & Envi. Health Committee DOH Strategic Plan Implementation Monitoring & Evaluation ส่วนภูมิภาค Area strategic plan/Action plan Project risk management Strategy cascade Strategic communication Strategic review

กลุ่มสนับสนุน (Cluster Scorecard) กรอบแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมอนามัยสู่ระดับ Cluster ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล หน่วยงาน (Division Scorecard) กลุ่มงาน/บุคคล (Individual Scorecard) เป้าประสงค์ของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่และภารกิจของหน่วยงานที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับ Cluster บทบาทหน้าที่และภารกิจในงานประจำของหน่วยงาน งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ เป้าประสงค์ระดับบุคคล บทบาทหน้าที่ของบุคคลที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่งานของบุคคล (Job Description) กลไกการถ่ายทอด 6 Clusters และ 3 กลุ่มสนับสนุน (Cluster Scorecard) เป้าประสงค์ของ 6 Clusters และ 3 กลุ่มสนับสนุน บทบาทหน้าที่ของ Cluster และกลุ่มสนับสนุน ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับกรม กรมอนามัย (Department Scorecard) เป้าประสงค์ของกรม นโยบายระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับกรม ภารกิจ และพันธกิจตามกฎหมาย จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง กรมกับกระทรวง ประเมินผลการปฏิบัติงาน จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง Cluster กับกรม จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง หน่วยงานกับ Cluster จัดทำใบมอบหมายงาน ระหว่างหกลุ่มงาน/บุคคล กับหน่วยงาน

แนวทางการติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผล กรมอนามัย การติดตาม (Monitoring) การประเมินผล (Evaluation) การรายงาน การประชุม การตรวจราชการและนิเทศงาน ศึกษาวิจัย สำรวจ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเมินความ พึงพอใจ ประเมินโครงการตามที่กำหนด ประเมินโดย ตนเอง หน่วยงานภายนอก ตามความเหมาะสมของงาน ประเมินแผนยุทธศาสตร์ e-report Manual ประชุมรองอธิบดี ประชุมหน่วยงานส่วนกลาง ประชุมกรมอนามัย ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ประชุมยุทธศาสตร์ ประชุมติดตามผลรอบ 6 และ 12 เดือน ระดับกระทรวง - KPI กระทรวง ระดับกรม KPI กรม โครงการสำคัญ การใช้จ่ายงบประมาณ DOC Data Center GFMIS โครงการตามที่กำหนด ประเมินประจำปี ประเมินระยะกลางแผน ประเมินระยะสิ้นสุดแผน รายเดือน รายไตรมาส รายสัปดาห์ 2 ครั้ง/ปี 2 ครั้ง/ปี รายไตรมาส

ข้อเสนอในการทำประชาพิจารณ์ เชิญผู้เกี่ยวข้อง ไม่เกิน 40-60 คน ประกอบด้วย 1.1 หน่วยงานภายนอก ดังนี้ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงแรงงาน 1.2 ผู้แทนกรมต่างๆ ในกระทรวงสาธารณสุข 1.3 ผู้บริหารกรมอนามัย จัดขึ้นในวันที่ 28 กรกฎาคม 2559 รูปแบบ อธิบดีกรมอนามัย เป็นประธาน และมีรองอธิบดีกรมอนามัย ผู้ทรงคุณวุฒิกรมอนามัย เข้าร่วมประชุม ผู้อำนวยการกองแผนงานเป็นผู้นำเสนอ

ขอบคุณครับ