ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
Advertisements

แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
INTREGRATION H A & H P H.
Six building blocks Monitoring & Evaluation
Customer Relationship Management (CRM)
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
Gaps of Thai Elderly Health Care Services: Promotion, Prevention, & Delaying Dependency ช่องว่างบริการสุขภาพผู้สูงอายุไทย : ส่งเสริม ป้องกัน ชะลอภาวะพึ่งพิง.
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การจัดบริการอาชีวอนามัย สำหรับแรงงานสูงวัย
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
Health Promotion & Environmental Health
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
Techniques Administration
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การบริหารและขับเคลื่อน
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
อ.ดร.พิมพ์ใจอุ่นบ้าน MD.พยาบาลชุมชน เวชปฏิบัติ
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
Public Health Nursing/Community Health Nursing
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
Introduction to Structured System Analysis and Design
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 5 มีนาคม 2552

ผู้สูงอายุไทย ผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชาย และหญิง (ประชุมสมัชชาผู้สูงอายุโลก กรุงเวียนนา Austria 2525) Young old 60-69 ปี Medium old 70-79 ปี Old - old 80 ปี ขึ้นไป พระราชบัญญัติผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2546 บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย

สังคมผู้สูงอายุ Aging Society Aged Society : สังคมนั้นมีผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป 14% ประเทศไทยเป็น Aging Society ปี พ.ศ.2545 คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 8-10% ปี พ.ศ.2548 10.4% ปี พ.ศ.2550 10.8% (6.4 ล้านคน) ปี พ.ศ.2558 คาดการณ์ 13.4% ปี พ.ศ.2563 คาดการณ์ 19.5%

ช่องปาก ... ประตูสู่สุขภาพ

สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบ - มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกัน เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด - เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองตีบตัน (ischemic stroke) และภาวะสุขภาพจิต Ref: ศ.นพ.เทพ หิมะทองคำ “ปัญหาของผู้สูงอายุมีทั้งกายและใจ” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50 พญ.สิรินธร ฉันศิริกาญจน “สุขภาพช่องปากกับสุขภาพร่างกาย” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50

สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต การสูญเสียฟันและจำนวนฟันที่เหลือ - มีผลต่อการเคี้ยวอาหาร การเลือกชนิดอาหาร ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ - ลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร เลือกกินอาหารที่เคี้ยวง่าย ซึ่งมีไขมันสูง คอเลสเตอรอลสูง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกากใยซึ่งร่างกายจำเป็นต้องได้รับ - เป็นปัจจัยเสี่ยงของการมีน้ำหนักลดลง Ref: Petersen PE et al . Improving the oral health of older people : the approach of the WHO Global Oral Health Programme

สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต ความเจ็บปวด ไม่สบายจากฟัน มีผลต่อการพักผ่อน นอนหลับ การทำงาน และการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาจากการเคี้ยวอาหาร มีโอกาส underweight เป็น 3 เท่า ของผู้ที่ไม่มีปัญหา สุขภาพฟัน สัมพันธ์กับความสุข และประสิทธิภาพ การเคี้ยวอาหาร รวมทั้ง ความมั่นใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม Ref: พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ ทำไมต้องดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ในมหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50

แนวคิดการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

1. ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น Goals : Healthy People Healthy Environment พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ประชาชน รัฐ เอกชน Bangkok Charter In A Globalize World Build capacity Partner ออตตาวา เพิ่มความสามารถของชุมชน พัฒนาทักษะบุคคล สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ปรับระบบบริการสุขภพ สร้างนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ ประชาชน รัฐ Advocate Invest MEANs (ยุทธวิธี) - Planning - Allocate Resource - Target - Indicator - Monitoring - Report เอกชน Regulate and Legislate

Six Key Functions to High Performance Organization Organization Development Surveillances M & E Healthy People Thailand Consumer Protection Information Management Provider Support Knowledge Funder Alliance R & D M & E Human Resource Development

แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แพทย์/พยาบาล ฯลฯ บริการโรคเรื้อรัง สมรรถนะ ระบบส่งต่อ 3. ต้องพึ่งคนอื่น บริการทาง การแพทย์ ดูแล กาย ใจ สังคม กองทุนบำนาญ แห่งชาติ ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 1 มาตรฐาน พัฒนาสมรรถนะ ส่งเสริมสุขภาพ /คัดกรอง นโยบายที่ บูรณาการ ยุทธศาสตร์ ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ อาสาสมัคร 1.พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ สภา/ชมรม ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 2 มาตรฐาน พัฒนาศักยภาพ ระบบบริการ ทางการแพทย์ คุณภาพ 2. ดูแลตนเองได้บ้าง การดูแล ทาง กาย ใจ การดูแล ทางสังคม การดูแลที่บ้าน ศูนย์ดูแลกลางวัน การมีส่วนร่วม ของท้องถิ่น การดูแลในชุมชน อาสาสมัคร ชมรม เครือข่ายพระสงฆ์ วัดส่งเสริมสุขภาพ

2.มิติการดูแลผู้สูงอายุ (นพ.เกษม เวชสุทธานนท์: สำนักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ) ไม่ใช่เพียงแต่การวินิจฉัยโรคและให้การรักษาโรคเป็นครั้งๆ  พยายามลด ป้องกันโรค/ทุพพลภาพ  แก้ปัญหาสุขภาพในเชิงกว้าง ทั้งจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ  ให้สามารถพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด  มีความมั่นคงในชีวิต มีคุณค่าศักดิ์ศรี นำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี  ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ + ความร่วมมือจากบุคคล + องค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง

แนวคิดของการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุ การเข้าถึงบริการ(Accessibility) เน้นความสะดวก - รับบริการใกล้บ้าน - หรือเข้าไปในชุมชน โดยหน่วยเคลื่อนที่ เยี่ยมบ้าน จัดกิจกรรมร่วมกับชมรมผู้สูงอายุ การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Continuity of Care) การดูแลแบบองค์รวม(Holistic Care)

บริการแบบผสมผสาน (Integrated Care ) - รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพ - ครอบคลุมทั้งผู้สูงอายุ ผู้ดูแล ครอบครัว และชุมชน - ครอบคลุม home care, day care, chronic care, end of life care การประสานการดูแล (Co-ordination of Care) - คู่มือ/แนวทางการดูแล - ระบบส่งต่อ การให้คำปรึกษา - การเชื่อมระบบข้อมูล - ประสานกับภาคประชาชน ชุมชน วัด ท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

การเสริมพลังชุมชน (Community Empowerment) มีศักยภาพในการจัดการปัญหาผู้สูงอายุ - การเข้าถึง ข้อมูล องค์ความรู้ - การรวมกลุ่ม วางแผน จัดการภายใน ระดมทรัพยากร - ประสาน ดำเนินการ ติดตามการทำงานด้วยตนเอง กิจกรรมตัวอย่างได้แก่ ชมรม กองทุน จิตอาสา การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุของชุมชน และท้องถิ่น

3. สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ...2548 -2551  2547 - ผู้สูงอายุต้องการใส่ฟันเทียมเพื่อการเคี้ยวอาหาร  2548 - เริ่มพัฒนาการดูแลทันตสุขภาพผู้สูงอายุ - ความคาดหวัง ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี

สุขภาพช่องปากดี มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม ไม่มีโรคในช่องปาก มีโรคในช่องปาก แต่ ได้รับการรักษาแล้ว พฤติกรรม - รู้จักดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง หรือโดยผู้ดูแล - หลีกเลี่ยง หรือ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค - รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากทุกปี - รับบริการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูตามความจำเป็น

การจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง ป้องกันโรคในช่องปาก ตามชุดสิทธิประโยชน์ 167 หน่วยบริการ ผู้สูงอายุ มีฟันเคี้ยวอาหาร ได้อย่างเหมาะสม กลุ่มที่สูญเสียฟัน เฉพาะผู้ที่ใส่ฟันเทียม ปีละ30,000 ราย เพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง เฉพาะในชมรมผู้สูงอายุ 120 ชมรม

การพัฒนาระบบบริการและระบบสนับสนุน ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ สสจ. CUP PCU มีภูมิปัญญา มีความรู้ พร้อมจะทำงานเพื่อส่วนรวม เข้าใจผู้สูงวัยด้วยกัน ชมรม เกิดกิจกรรมโดยชมรม (สุขภาพช่องปาก) - ให้ความรู้ - Self care / การเลือกกินอาหาร - ข่าวสาร - อื่นๆ ผู้สูงอายุ

มีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สาธารณสุข ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ อบต./เทศบาล สสจ. CUP PCU ชมรมผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาล สมาชิกผู้สูงอายุ สพช. สภาฯ ผู้สูงอายุ อสม. +………..

4. สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม - ฟันแท้/เทียม 4 คู่สบ (survey รายปี) : 44% (ปี48) 49% (ปี 51) - ฟันแท้อย่างน้อย 20 ซี่ (survey รายปี) : 37% (ปี 51) - สูญเสียฟันอย่างน้อย 1 ซี่ 92%(43-44) 94% (50) - สูญเสียฟันทั้งปาก 8%(43-44) 10% (50)

สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน ไม่มีโรคในช่องปาก (น้อยมาก : 10 ยอดฟันดี วัย 80 ปี) มีโรคในช่องปาก แต่ได้รับการรักษาแล้ว (น้อยมาก) - ฟันผุ 96% / 55% ไม่ได้รักษา - รากฟันผุ 21% / รักษา 2% - ปริทันต์ pocket 4-5mm. 36%(43-44) 26%(50) pocket > 6mm. 15 %(43-44) 69% (50)

สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน พฤติกรรม - รู้จักดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง หรือโดยผู้ดูแล - หลีกเลี่ยง หรือ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค - รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากทุกปี - รับบริการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูตามความจำเป็น ผู้ที่มีฟัน : แปรงฟัน 74% แปรง+อุปกรณ์เสริม 7% ผู้ที่ไม่มีฟัน : แปรง 0.8% บ้วนปาก 1.4% ผู้ที่ใส่ฟันเทียม : แปรง 22% ล้างฟันเทียม 3 % สูบบุหรี่ 18% (7 มวน/วัน) เคี้ยวหมาก 17% ไม่เคยไปรับบริการทันตกรรม 67%

ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

เครือข่ายวัยทำงานและผู้สูงอายุในพื้นที่ ศูนย์เขตฯ รพ. PCU ชมรม สสจ. สาธารณสุข วัด กรม/กองส่วนกลาง สำนักตรวจฯ พื้นที่ ชุมชน ศูนย์ 3 วัยฯ องค์กรฯ ท้องถิ่น สถานประกอบการ คณะทันต หน่วยพระราชทาน

3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี 2. การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายตามบทบาทหน้าที่ พัฒนาทักษะ ทันตแพทย์ / ทันตบุคลากร / บุคลากรสาธารณสุข / ชมรมผู้สูงอายุ/ อสม. / อื่นๆ 4. ลดการสูญเสียฟันก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ - พัฒนางานส่งเสริม โดย อสม. - พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในสถานประกอบการ/ชุมชน 1. Reoriented Health Service โดยหน่วยบริการ - โครงการฟันเทียมพระราชทาน (ประมาณ 120,000 คน) - โครงการพัฒนางานทันตกรรมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ (21 จว. 167 หน่วยบริการ) โดยภาคประชาชน - โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 37 จว. 120 ชมรมฯ 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี 5. รณรงค์สร้างกระแส - โครงการฟันเทียมพระราชทาน ร่วมกับหน่วยฯ พระราชทาน และเอกชน - “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” และ “10 ยอดฟันดีวัย 80 ปี”

ระบบบริการทันตสุขภาพภาครัฐ - ภาคประชาชน 1. เมื่อเป็นผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ ช่องปากตนเอง การตรวจสุขภาพช่องปาก และให้คำแนะนำ การจัดบริการส่งเสริมป้องกัน การจัดบริการรักษา ควบคุมโรคและใส่ฟัน โดยชมรมผู้สูงอายุ โดยภาครัฐ โดยภาครัฐ โดยภาครัฐ -สร้างความเข้มแข็งให้ชมรม -ชมรมจัดกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ สร้างระบบการส่งต่อไป-กลับ มาตรการทางสังคม เฝ้าระวังด้านทันตสุขภาพ ตรวจสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะควบคุมคราบจุลินทรีย์ ฟลูออไรด์ ขูดหินน้ำลายและขัดฟัน จากชมรมผู้สูงอายุ จากคลินิกสูงอายุจากคลินิกทันตกรรม อื่น ๆ CUP/PCU/สอ./รพ.ตำบล สนับสนุน ให้คุณค่า สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและเครือข่าย 2. เตรียมก่อนเป็นผู้สูงอายุ

Care Provider / Case manager ให้บริการด้านสุขภาพ ด้านรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ ให้ข้อมูลทางวิชาการ โดยเน้นที่เจ้าหน้าที่เป็นคนดำเนินการหลัก(Key actor) - Case manager การสนับสนุน ต่อยอดสิ่งที่ทำดีอยู่แล้ว ประสาน เชื่อมโยงกับแหล่งบริการ หรือแหล่งทรัพยากรอื่น ให้เกิด การดูแล การจัดการที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพ อย่างต่อเนื่อง โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (stakeholder)

บทบาท : ผู้จัดการ ประสานการดูแล  Case manager บทบาท : ผู้จัดการ ประสานการดูแล ตั้งแต่หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาล ไปถึงที่บ้านและชุมชน หน้าที่ : Advocate and empowerment กระตุ้น สนับสนุน และ เสริมศักยภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้องให้มีบทบาท มีส่วนร่วมหลัก ในการดูแลและจัดการปัญหาผู้สูงอายุ

ดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุร่วมกัน งานส่งเสริมสุขภาพ - Long term care, Home health care - 3 โรค : เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม + การดูแลสุขภาพช่องปาก ??? งานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก - กลุ่มเสี่ยง - ชมรมผู้สูงอายุ - ฟันเทียมพระราชทาน + ค้นหากลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม ??? - ลดโรคและการสูญเสียฟันในวัยทำงาน ???

Oral and dental lesions in geriatric patients Teeth and periodontal tissue Jaw bones and TMJ Oral mucosae Salivary glands Neurological disorders

 จุดหมายเดียวกัน ไปได้หลายทาง  ใช้หลายยุทธวิธี เสริมผลกัน ผู้สูงอายุ = ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป - สภาพช่องปาก : 60-69 ปี,70-79 ปี, 80,90 ปีขึ้นไป ??? - สภาพร่างกาย : ดูแลตนเองได้ ช่วยสังคมได้ พอจะดูแลตนเองได้ ดูแลตนเองไม่ได้ ??? - เทคนิคการสื่อสารกับผู้สูงอายุ ??? - ความซับซ้อนของผู้สูงอายุ ??? อย่ายึดติดกับรูปแบบ  จุดหมายเดียวกัน ไปได้หลายทาง  ใช้หลายยุทธวิธี เสริมผลกัน

ขอบคุณครับ