วิธีการศึกษากฎหมายกับสังคม นิติสำนึก Legal Consciousness วัฒนธรรมทางกฎหมาย Legal Culture กฎหมายกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม Law and Social Change กฎหมายในฐานะวิศวกรสังคม Law as Social Engineering กฎหมายที่มีชีวิต Living Law Legal Cosciousness
นิติสำนึกทางกฎหมาย การใช้กฎหมาย Law Implementation vs. Law Enforcement Enforcement – the authority who legally enforce the law Implementation – anyone can be a subject to apply the law Empirical Study Socio-Legal Studies Legal Cosciousness
Outline: นิติสำนึกคืออะไร การศึกษาถึงนิติสำนึกมีประโยชน์อย่างไร เราจะค้นหา/วิเคราะห์นิติสำนึกได้อย่างไร Legal Cosciousness
นิติสำนึกคืออะไร Susan Silbey, New Oxford Companion to Law, 2008 http://web.mit.edu/ssilbey/www/pdf/Legal_consciousnes s.pdf นิติสำนึกคือ การใช้กฎหมาย หรือการมอง กฎหมาย (ทัศนคติ perception) รูปแบบของการใช้กฎหมายของบุคคล การ มองกฎหมายของบุคคล จะก่อให้เกิด โครงสร้างในการใช้กฎหมายของคนใน สังคม (ordinary people) Legal Cosciousness
เวปไซด์ สำหรับเอกสารอ่านประกอบ False consciousness http://sayachai.blogspot.com/2011/02/marxism-neo- marxism.html http://s3930201.blogspot.com/2014/06/false- consciousness.html The Common Place of Law: Stories from Everyday Life โดย Patricia Ewick, Susan S. Silbey (1998) Legal Cosciousness
เอกสารอ่านเพิ่มเติม ศิรินภา อภิญญาวัชรคุณ “นิติสำนึกของ เกษตรกรผู้ซื้อและขายที่ดิน สปก. 4-01 ใน ต.บ้านช้าง อ.แม่แตง จ. เชียงใหม่ อ่านเพื่อตอบคำถาม อะไรคือนิติสำนึก ผู้วิจัยมีวิธีการค้นหานิติสำนึกได้อย่างไร? http://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/laws20754sa_ch1.pdf https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/64588/52982 Legal Cosciousness
วิธีการศึกษานิติสำนึกทางกฎหมาย จะค้นหานิติสำนึกได้อย่างไร? เมื่อพบ จะวิเคราะห์/อธิบายปรากฏการณ์นั้น อย่างไร? อย่าคาดเดาว่าจะพบอะไร เปิดใจในสิ่งที่พบ พยายามทำความเข้าใจ อย่าตัดสิน Legal Cosciousness
Legal Consciousness David M. Engel อาจารย์ทางด้านกฎหมาย SUNY at Buffalo (UB) 2010 – Tort, Custom, and Karma: Globalization and Legal Consciousness in Thailand ศึกษาการใช้กฎหมายของคนในสังคมต่างๆ เช่น การฟ้องคดีละเมิด เมื่อชาวบ้านประสบอุบัติเหตุ เขาคิดอย่างไร เกี่ยวกับเรื่องที่เกิดขึ้น และจะดำเนินคดีทางกฎหมายหรือไม่ เก็บข้อมูลจากสถิติ และการสัมภาษณ์เชิงลึก ใช้แนวคิด นิติสำนึก (Legal Consciousness) Legal Cosciousness
Legal Consciousness Frank Munger อาจารย์ทางด้านกฎหมาย New York Law School Engel & Munger, 2003 – Rights of Inclusion: Law and Identity in the Lives of Americans with Disabilities เป็นการศึกษาโดย เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผู้พิการ 60 คน เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน ที่ได้รับการปฏิบัติ และมุมมองของคนเหล่านี้ต่อการเข้าไปใช้สวัสดิการจากกฎหมายคนพิการ (Americans with Disability Act) Legal Cosciousness
นิติสำนึกของนักกฎหมายไทย Frank Munger ศึกษาว่านักกฎหมาย 3 รุ่น สมชาย หอมลออ สุรชัย ตรงงาม เดือน วงษา ทำไมจึงมาทำงานทนายความด้านสิทธิ? เขาจบจากที่ไหน เขาคิดอย่างไร ทำไมเขา จึงทำงานอย่างนั้น Legal Cosciousness