การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)เขตสุขภาพที่ 10 โดย นพ.ประพนธ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 วันจันทร์ที่ 27 พฤศจิกายน 2560
ระบบสุขภาพ คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิต ระบบสาธารณสุข ระบบบริการ ทางการแพทย์ คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิต
วาระ 2030 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมาย 169 เป้าประสงค์ 241 ตัวชี้วัด
มีความมั่นคงและปลอดภัยในทุกมิติ ร่างกรอบของยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) วิสัยทัศน์: ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความมั่นคงและปลอดภัยในทุกมิติ (ประเทศ สังคม ประชาชน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง) “มั่นคง” การขยายตัว ทางเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจ มีความสามารถ ในการแข่งขันสูง ความสมบูรณ์ในทุน ที่จะสามารถสร้าง การพัฒนาต่อเนื่อง “มั่งคั่ง” ตลาดแรงงาน มีประสิทธิภาพ ทุนมนุษย์ การพัฒนาที่สร้างความเจริญและคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วนยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “ยั่งยืน”
PP&P
คำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2561
คำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2561
นโยบายการทำงานของนายแพทย์ประพนธ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 1. ตอบสนองนโยบายรัฐบาล กระทรวงสาธารณสุข หวังผลสัมฤทธิ์ไปถึงประชาชน 2. เสริมสร้างความรัก - สามัคคี ทำงานเป็นทีม ร่วมกันขับเคลื่อนด้วยความเป็นพี่น้อง 3. ทำงานเชิงบูรณาการ ไม่แยกส่วน ผสมผสาน ทั้งภายในและภายนอกกระทรวงฯ 4. มองภาพให้กว้าง เชื่อมโยง ต่อเนื่องเป็นระบบ 5. ธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ ปราศจากทุจริต งบลงทุนต้องทันต่อเวลา 6. โรงพยาบาลเน้น Service Plan, IC, RDU, TB, ECS 7. พื้นที่เน้น PCC, PP&P 8. ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ การส่งต่อไร้รอยต่อ 9. เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ Resource Sharing 10. Value-based Health Care 4.0 in Region 10
รูปธรรม แนวคิด กลไก ผลลัพธ์ การคืนความสุขให้คนในชาติ การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ แนวคิด “คนไทย ใส่ใจดูแลกัน” Thailand 4.0 Caring Society เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำ โดยการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน “ช่วยเหลือ-ไม่ทอดทิ้ง-แบ่งปัน-ห่วงใยกัน” เป้าหมาย 2559 2560 2561 ใช้อำเภอเป็นฐาน START ทำงานอย่างมีส่วนร่วม ตามแนวคิด ประชารัฐ 200 878 73 พื้นที่ อำเภอ ประชาชน เป็นศูนย์กลาง กลไก คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (DHB) “ประชารัฐภาคสังคม” บูรณาการการทำงานร่วมกัน ภาครัฐ + ภาคประชาชน + ภาคเอกชน กำหนดความต้องการของพื้นที่ แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประธาน: นายอำเภอ รองประธาน: ผอ.รพ. เลขานุการ: สาธารณสุขอำเภอ ผู้สูงอายุ – ผู้พิการ – ผู้ยากไร้ เด็กปฐมวัย โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิต ลดอุบัติเหตุทางถนน สิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัย ฯลฯ ผลลัพธ์ ประชาชนคุณภาพชีวิตดี สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมที่ดี สร้างสังคมที่ดี นำสู่เศรษฐกิจดี สังคมเอื้ออาทรกัน
กลไกการสนับสนุน การบริหารจัดการ: ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีรองรับ DHB การดำเนินการ การขับเคลื่อนเชิงพื้นที่ ภายใต้แนวคิด “Thailand 4.0 Caring and Sharing Society” เช่น ประเด็นผู้สูงอายุ อุบัติเหตุ เด็กปฐมวัย ฯลฯ การแสวงหาความร่วมมือ การให้ความสำคัญเชิงนโยบาย: DHB เป็น KPI ของกระทรวงฯ, เขต, จังหวัด
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) องค์ประกอบ 21 คน (โดยตำแหน่ง 2 คน / คัดเลือก 19 คน) ประธาน: นายอำเภอ เลขานุการ: สสอ. ภาครัฐ 6 คน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ 6 คน ประชาสังคม 7 คน กำหนดแผนยุทธศาสตร์ ประสานหน่วยงาน/ภาคี บูรณาการทรัพยากร สนับสนุนการมีส่วนร่วม ของท้องถิ่น/ชุมชน ให้คำปรึกษาหน่วยงาน ติดตามประเมินผล
พชอ. กองทุนสุขภาพตำบล กองทุน LTC
การดำเนินงาน พชอ.ในระดับอำเภอ Quick Win
การดำเนินงาน พชอ.ในระดับอำเภอ แต่งตั้งคณะกรรมการ พชอ. อย่างมีประสิทธิภาพ ประชุมอย่างมีส่วนร่วม กำหนดประเด็นปัญหาร่วม ตามบริบทพื้นที่ อย่างน้อย 2 เรื่อง มีคณะทำงาน ติดตามการทำงานที่ต่อเนื่องและบูรณาการ สรุปการดำเนินงาน พชอ. เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด
บทบาทในการดำเนินงาน พชอ. กระทรวงสาธารณสุข มอบนโยบาย พชอ. สนับสนุนงบ พชอ. แห่งละ 10,000 บาท พัฒนาศักยภาพทีมเลขาฯ อำเภอละ 4 คน สนับสนุนงบ PPA for SMART KID สนับสนุนงบ PPA กับ พชอ. ระดับอำเภอ นิเทศติดตาม/เยี่ยมเสริมพลัง เขตสุขภาพที่ 10 จังหวัด ประสาน ผวจ.เป็นที่ปรึกษา พชอ. นิเทศติดตาม/เยี่ยมเสริมพลัง พชอ. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด อำเภอ ประสานนายอำเภอ แต่งตั้งคณะกรรมการ พชอ. ประชุมจัดทำแผน/กำหนดวาระอำเภอ > 2 เรื่อง ประสานภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนวาระอำเภอร่วมกับตำบล ตำบล ขับเคลื่อนวาระอำเภอ/ตำบล ผ่านกองทุนสุขภาพ ตำบล /กองทุน Long term Care /แหล่งทุนใน พื้นที่/จิตอาสา