ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Performance Management and appraisal systems
Advertisements

วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ธันวาคม 2558.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
การบรรยายพิเศษ สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย โครงการเตรียมความพร้อมสู่สหกิจศึกษานานาชาติ
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
Road to the Future - Future is Now
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
Health Promotion & Environmental Health
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
Techniques Administration
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
การผลิตและการจัดการการผลิต
จิตสำนึกคุณภาพ.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
The Association of Thai Professionals in European Region
แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP)
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
แนวทางการพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 สมชาย ชาญณรงค์กุล อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร 5 ตุลาคม 2559

มุมมอง : จุดแข็งการเกษตรไทย (1) พื้นฐานทรัพยากรธรรมชาติ เหมาะต่อการทำการเกษตร (2) ศักยภาพของเกษตรกร ผู้ประกอบการ ภาครัฐ และภาคเอกชนไทย ในด้าน R&D และการส่งเสริมทั้งมิติการผลิตและการตลาด (3) เกษตรกรและผู้ประกอบการมีการพัฒนาและปรับตัวอย่างต่อเนื่อง ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ และความต้องการของผู้บริโภค (4) สินค้าเกษตรและอาหารไทย มีอัตลักษณ์ มีวัฒนธรรม สามารถสร้างชื่อเสียงและจุดขายได้

แนวคิดพื้นฐาน : การส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ ประชากรไทย 67 ล้านคน (ปี 2558) ฐานะมั่งคั่ง 10% 48 % ฐานะปานกลาง เกษตรกรที่มีศักยภาพส่งออก 11.3 ล้านคน เกษตรกร 52 % 2/3 เกษตรกรที่ต้องพัฒนาศักยภาพ 22.5 ล้านคน

แนวคิดพื้นฐาน : การส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ (ต่อ) Commercial farming ระบบการเกษตร Farming System Semi commercial farming Subsistance farming

การส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ Agriculture Extension What? How? Life long education Non formal education Potential Area Physical, Biological, Economic, Social, Psychological Real needs/felt needs

การส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ Agriculture Extension What? How? Help them to help themselves / Self reliance Learning by doing Participation

พลวัตรของงานส่งเสริมการเกษตร นักวิจัยเฉพาะสาขา FEED BACK Subject matter specialist (SMS) On station research On farm research กลุ่มเป้าหมาย RELEASE ข้อค้นพบ Knowledge / Technology / Innovation

ใครทำหน้าที่ในงานส่งเสริมการเกษตรไทย? เจ้าหน้าที่รัฐ ผู้นำชุมชน/ปราชญ์ชาวบ้าน เจ้าหน้าที่เอกชน Supplier (sales , demonstrators , researcher, coordinator) NGO / NPO / Freelance

รูปแบบงานส่งเสริมการเกษตรที่เป็นทางการของไทย สำนักงานส่งเสริมการเกษตร ( 9 เขต) สำนักงานเกษตรจังหวัด (77 จังหวัด) สำนักงานเกษตรอำเภอ/เขต (882 อำเภอ/เขต) ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (อปท.) ศพก. (882 ศูนย์) แปลงใหญ่ เกษตรกร

ลักษณะงานส่งเสริมการเกษตรในไทย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การส่งเสริมแบบมีส่วนร่วม การส่งเสริมแบบตลาดนำการผลิต การส่งเสริมแบบให้การศึกษานอกระบบ

ลักษณะงานส่งเสริมการเกษตรในไทย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - เน้นเพิ่มคุณภาพผลผลิต ภายใต้เทคโนโลยีสมัยใหม่ - เขตชลประทาน : แหล่งผลิตพืชอาหาร - ความชำนาญ/ภูมิปัญญา : การผลิตเพื่อการค้า/การบริโภค - พื้นที่ภาคีเครือข่าย - Semi commercial farming

ลักษณะงานส่งเสริมการเกษตรในไทย การส่งเสริมแบบมีส่วนร่วม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมคิด วางแผน ตัดสินใจ ลงมือทำ ประเมิน และรับประโยชน์ เน้นการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ภายใต้การรักษาระบบนิเวศของชุมชน

ลักษณะงานส่งเสริมการเกษตรในไทย การส่งเสริมแบบตลาดนำการผลิต ส่งเสริมตามรายสินค้า ใช้นวัตกรรมและการตลาดนำ เอกชนให้คำแนะนำเกษตรกรระดับแนวหน้า เน้นตลาดส่งออกและตลาดบน มีเป้าหมายเพิ่มผลผลิต การแปรรูป และการบรรจุหีบห่อตามมาตรฐาน

ลักษณะงานส่งเสริมการเกษตรในไทย การส่งเสริมแบบให้การศึกษานอกระบบ - เน้นการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมกับเกษตรกรทุกขั้นตอน มีความยืดหยุ่นในการเรียนรู้มากกว่ากฎระเบียบ เน้นการผลิตแบบเกษตรยั่งยืน (ผู้ผลิต สิ่งแวดล้อม ผู้บริโภค) กลุ่มเป้าหมาย : เกษตรกรายย่อย / SME มีภาคีเครือข่ายในการทำงาน

ภารกิจหลักของนักส่งเสริมการเกษตร ถ่ายทอดเทคโนโลยี : Technology transfer ให้คำปรึกษาทางวิชาการ : Technical consultation เอื้ออำนวยให้เกิดการเรียนรู้: Knowledge Facilitator

บทบาทของนักส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ 2. วิทยากรขบวนการ 1. ครู/ที่ปรึกษา/วิทยากร 7. นักวิจัยและพัฒนา เกษตรกรเป้าหมาย (ผู้ร่วมเรียนรู้) เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (ผู้ร่วมงาน) ผู้นำชุมชน/ผู้นำทางความคิด 6. นักวิเคราะห์ 3. นักประสานงาน 5. ผู้ให้บริการ 4. นักจัดการ SMART OFFICER SMART FARMER SMART PRODUCT

ความรู้ที่จำเป็นของนักส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ 1.ความรู้ด้านการเกษตร 2. ความรู้ด้านสังคม/ชุมชน/เกษตรกร องค์กรชุมชน 6.ความรู้ด้าน ICT 7.ความรู้ด้านการตลาดสินค้าเกษตร 3. ความรู้ด้านการจัดการ/การสร้างการเรียนรู้ 8.ความรู้ด้านกฎระเบียบข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง 4.ความรู้ด้านการบริหารจัดการ 9.ความรู้ด้านวิชาการเฉพาะด้าน 5.ความรู้ด้านการสื่อสาร

แนวคิดการส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ การจัดการ องค์ความรู้ คน 1. การทำงานเชิงระบบ : Holistic thinking / Systemic thinking 2. โซ่อุปทาน : Supply chain 3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : Stakeholders 4. การผสมผสานความรู้เทคโนโลยีและภูมิปัญญา : Technology and local wisdom 5. การมีส่วนร่วม : Participation 6. หลักเศรษฐกิจพอเพียง : Self sufficiency economy concept

นักส่งเสริมการเกษตรสมัยใหม่ต้องรู้อะไร Knowledge Based Economy Industrial Economy Bio Economy E- Economy Globalization Accountability Competition & Opportunity Development สถานการณ์ & การเปลี่ยนแปลงของโลก Climate change Center of International Cooperation Global New Rules Food & Energy Security Ageing Society การถ่ายทอดเทคโนโลยีสมัยใหม่ เงื่อนไขการผลิต เพื่อความยั่งยืน Matrix analysis SWOT analysis Participation approach CIPP technique RLBR technique ABCD technique MRCF technique Green Product Food safety Environment friendly Community Participation Sufficiency economy Standardization Place Price Product Promotion Traceability Accountability Diversity เงื่อนไขการตลาดสมัยใหม่ To make what you can sell? To sell what you can make?

กรมส่งเสริมการเกษตร หน่วยหลักในการนำการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงด้านการเกษตร ประสานเพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามนโยบาย มุ่งพัฒนาศักยภาพของบุคลากร จัดระบบการทำงานที่ชัดเจน

เป้าหมายการดำเนินงานส่งเสริม (ต่อ) ปี 2560 HiGH QUALITY HIGH STANDARD HIGH PRICE HIGH RETURN FOR BETTER LIFE

เป้าหมายการดำเนินงานส่งเสริม เกษตรกร : ผู้ประกอบการเกษตรมืออาชีพ แผนการผลิตของเกษตรกรรายบุคคล : Individual Farm Production Plan (IFPP) 2. จัดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน - Smart farmer - สินค้าเฉพาะ - ทั่วไป 3. กลุ่มที่ต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลง กิจกรรมการเกษตร เสริม เติม เพิ่ม เทคโนโลยี และการจัดการ แผนการขับเคลื่อนไปพร้อมกันตลอด Supply chain : ผลิต รวบรวม แปรรูป จำหน่าย

การส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ 1. ขับเคลื่อนในลักษณะ Production Unit 2. ต่อเนื่องแปลงเดิม (650 แปลง) – ขยายแปลงใหม่ (350 แปลง) 3. กิจกรรม 3.1 แปลงเดิม : วิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาเป็นรายแปลง : ใช้เครื่องมือ IFPP : ประเมินผลกับเป้าหมาย : ประเด็นนโยบาย : ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต : ขับเคลื่อนตามเป้าหมายและแผน : กลุ่ม รายบุคคล : จัดระบบตลอด Supply chain : นักส่งเสริมการเกษตร : Facilitator / Connector

การส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ (ต่อ) 3. กิจกรรม (ต่อ) 3.2 แปลงใหม่ : ประสานและดำเนินการให้เกิดแปลงใหม่ตามเป้าหมาย : จัดกลุ่มพืช /กิจกรรม เป้าหมายการผลิต IFPP : ใส่ Input ที่ถูกต้อง ตามความต้องการและจำเป็น : ดำเนินการตลอด supply chain : นำตลาดท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม : สนับสนุนและร่วมขับเคลื่อนในรูปองค์กรความร่วมมือ : นักส่งเสริมการเกษตร : Facilitator / Connector

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) - ศูนย์กลางดำเนินการกิจกรรมภาคการเกษตรทั้งหมดของอำเภอในส่วนของภาคประชาชน - สร้างบทบาทในการชี้นำ สนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทุกสาขา-แขนง - สถานที่ประสานการดำเนินงานของทุกส่วนราชการ ในนามองค์กรภาคประชาชน - จุดเปลี่ยนพฤติกรรมเกษตรสมัยใหม่

เครือข่าย เครือข่าย เครือข่าย เครือข่าย เกษตรแปลงใหญ่ เกษตรแปลงใหญ่

INPUT PROCESS OUTPUT เทคโนโลยีการพัฒนา ระบบการตลาด

งานส่งเสริมการเกษตร : บทบาท - เน้นการดำเนินงานที่เป็นระบบชัดเจน ทุกระดับ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - ปรับปรุงระบบการส่งเสริมการเกษตรให้เหมาะสมกับสถานการณ์ - พัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรให้มีจิตสำนึกในการพัฒนาและมีความรอบรู้ในสาขาวิชาการเกษตร - สร้าง Content ทั้งราย Commodity และ Discipline

งานส่งเสริมการเกษตร : บทบาท (ต่อ) - ส่งเสริมระบบการคุณธรรม และ ความรับผิดชอบต่อความสำเร็จของงาน - สร้างภาพลักษณ์และความน่าเชื่อถือของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม - เน้นการสร้าง “งาน” ไม่ใช่การทำ “โครงการ” - วางน้ำหนักของการทำงานให้เหมาะสม ระหว่าง “งานส่งเสริมการเกษตร” กับ “งานสงเคราะห์การเกษตร”

กลไกและเครื่องมือ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่มีศักยภาพ : พัฒนาองค์ความรู้ จิตสำนึก ความรับผิดชอบ - องค์กรภาคประชาชน : กลุ่มธรรมชาติ วิสาหกิจ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ยุวเกษตรกร - โครงการส่งเสริมการเกษตรเฉพาะพื้นที - เครือข่ายการส่งเสริมการเกษตร : ราชการ เอกชน ประชาชน

มาตรการดำเนินการ : 3 มาตรการหลัก องค์กรแห่งการเรียนรู้สมัยใหม่ : Smart Officers lead smart organization to be modernization DOAE เครือข่ายงานส่งเสริมการเกษตรเข้มแข็ง Supply chain management system : All for One แผนการผลิตเฉพาะราย Strengthen farming plan to optimize specific needs

องค์กรแห่งการเรียนรู้สมัยใหม่ : Smart Officers lead smart organization to be modernization DOAE 5 มาตรการสนับสนุน แผนพัฒนานักวิชาการส่งเสริมการเกษตร - ปิดจุดอ่อน เสริมสร้างจุดแข็ง Knowledge Tank - พัฒนาฐานข้อมูลความรู้ด้านการเกษตรและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง - สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา 3. เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญงานส่งเสริมการเกษตร - on the job training - ถาม-ตอบปัญหาวิชาการ

5 มาตรการสนับสนุน (ต่อ) องค์กรแห่งการเรียนรู้สมัยใหม่ : Smart Officers lead smart organization to be modernization DOAE 5 มาตรการสนับสนุน (ต่อ) 4. เครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประยุกต์ พัฒนา 5. Smart Officer News Lines - ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร - ข้อมูลเตือนภัยการระบาดของศัตรูพืช - ข้อมูลการตลาดสินค้าเกษตร/ปัจจัยการผลิต - ข้อมูลเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเกษตร

5 มาตรการสนับสนุน 1. การตลาดนำการผลิต : ประชารัฐ เครือข่ายงานส่งเสริมการเกษตรเข้มแข็ง Supply chain management system : All for One 5 มาตรการสนับสนุน 1. การตลาดนำการผลิต : ประชารัฐ - เอกชน-ราชการ-เกษตรกร 2. เทคโนโลยีการผลิตเข้มแข็ง - ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักวิชาการ - ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มโอกาสการแข่งขัน 3. ปัจจัยการผลิตคุณภาพ - เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช - วัสดุ/อุปกรณ์ทางการเกษตร

5 มาตรการสนับสนุน (ต่อ) เครือข่ายงานส่งเสริมการเกษตรเข้มแข็ง Supply chain management system : All for One 5 มาตรการสนับสนุน (ต่อ) 4. การผลิตเพื่อตลาดเฉพาะ - เกษตรอินทรีย์ สินค้าเกษตรปลอดภัย สินค้า GI 5. การพัฒนาช่องทางการจำหน่าย - ตลาดเกษตรดิจิทัล ตลาดเกษตรกร

5 มาตรการสนับสนุน 1. ข้อมูลทะเบียนเกษตรกร - วิเคราะห์ตัวตน แผนการผลิตเฉพาะราย Strengthen farming plan to optimize specific needs 5 มาตรการสนับสนุน 1. ข้อมูลทะเบียนเกษตรกร - วิเคราะห์ตัวตน - รูปแบบการทำการเกษตรตามความประสงค์และเหมาะสม 2. พัฒนาสู่ระบบกลุ่ม - สร้างพลังกลุ่มจากพลังเดี่ยว - จัดกลุ่มส่งเสริมตลอด supply chain 3. เรียนรู้เทคโนโลยี ปรับใช้ให้เหมาะสม - เทคโนโลยีเฉพาะพื้นที่

5 มาตรการสนับสนุน (ต่อ) แผนการผลิตเฉพาะราย Strengthen farming plan to optimize specific needs 5 มาตรการสนับสนุน (ต่อ) 4. เพิ่มประสิทธิภาพแผนการผลิต - วางแผน ทดสอบ ปรับปรุงเทคโนโลยีและการจัดการที่เหมาะสม 5. เชื่อมโยงเครือข่าย แผนการผลิต - สร้างเครือข่ายแผนการผลิตขนาดใหญ่ ให้รองรับตลอดฤดูการผลิต

ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 ให้ทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ทุกระดับทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้เข้าใจตรงกัน เชื่อมโยงการทำงานอย่างเป็นระบบ และติดตามตรวจสอบการดำเนินงาน

ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) จัดทำแผนที่การทำการเกษตร ในระดับตำบล อำเภอ จังหวัด ภาค และประเทศ เพื่อทำ Road Map การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร โดยใช้ Agri Map สนับสนุนการจัดทำ เพื่อให้เห็นภาพรวมการทำการเกษตรและแนวทางการพัฒนาของพื้นที่ที่รับผิดชอบ

นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาใช้ในการทำการเกษตร ให้เป็นการเกษตร 4.0 ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาใช้ในการทำการเกษตร ให้เป็นการเกษตร 4.0

ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) ศึกษาแผนการปฏิรูปการเกษตรของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยให้นำสาระจากแผนดังกล่าวมาปรับใช้ให้เหมาะสม กำหนดกรอบเวลาและรายละเอียดให้ชัดเจน

ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) แปลงใหญ่-ศพก. ให้เดินหน้าเต็มที่ เป็นเครื่องมือที่ดี เกษตรอำเภอทำงานคู่กับ ศพก. โดยให้ SC กำกับดูแล ทำให้ ศพก. เข้มแข็ง

สนับสนุนการทำการเกษตรผสมผสานและการทำการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) สนับสนุนการทำการเกษตรผสมผสานและการทำการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่

ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) ให้ดำเนินกิจกรรม Agro-Tourism โดยปี 2560 ให้นำเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ ศพก. ที่มีศักยภาพ จะทำให้เกิดตลาดสินค้าเกษตรในรูปแบบใหม่ (ผู้ซื้อไปหาผู้ผลิต)

มาตรการทั้งหมดต้องขับเคลื่อนไปพร้อมกัน ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) มาตรการทั้งหมดต้องขับเคลื่อนไปพร้อมกัน ทำให้ทุกคนรับรู้และนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลโดยเร็ว

ข้อสั่งการเพิ่มเติมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) วันที่ 2 ตุลาคม 2559 (ต่อ) The Must!!!! เกิดเหตุใดขึ้นเกี่ยวกับการเกษตรในพื้นที่ เกษตรตำบล/เกษตรอำเภอเจ้าของพื้นที่ต้องรู้ก่อนสื่อ แก้ปัญหาอย่างไร - สังคมต้องช่วยกันอย่างไร - สังคมต้องรู้ว่าเรากำลังทำอะไร 3. ต้องสร้าง S-curve ให้ได้ 4. War room สถานการณ์การเกษตร – เชื่อมโยงทุกคน เราเป็น Master

Today’s work, tomorrow’s heritage!