เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
25/07/2006.
Advertisements

Drug Use Behavior พฤติกรรมการใช้ยา
วิจัย Routine to Research ( R2R )
Maesai Hospital GREE N. บริบทของพื้นที่และ ผู้รับบริการ.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
ประเด็น แหล่งทุน โครงการวิจัย ระบบการดูแลผู้สูงอายุ วช.
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
HON’s activities Care and Support Program
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา จังหวัดร้อยเอ็ด
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016.
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 MLP รายวิชาพื้นฐาน
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 MLP รายวิชาพื้นฐาน
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน ม.4/1 – ม.4/4
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการการป้องกันและการบริหารจัดการด้านเอดส์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 23-Jul-19.
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 MLP รายวิชาพื้นฐาน
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร) 30/03/2011 ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ผู้ป่วยเอดส์ คลินิกเพื่อนโนนไทย โรงพยาบาลโนนไทย เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)

1. ที่มา สถานการณ์ HIV/AIDS ในจังหวัดนครราชสีมา 30/03/2011 จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ทั้งสิ้น 8,205 ราย และมีผู้ป่วยเอดส์ที่เสียชีวิตแล้ว 1,483 ราย 1 6,835 (83%) ได้เข้ารับบริการการดูแลรักษาที่โรงพยาบาลชุมชน 27 แห่ง ในจังหวัดนครราชสีมา1 75% มีอายุ 20 – 44 ปี จากการใช้โปรแกรม HIVQUAL-T เพื่อประเมินคุณภาพในการดูแลผู้ป่วย ปี 2550 รพช. นม. QI Indicators ต่ำมาก2 ปี 2551 รพ.โนนไทย นม. QI Indicators ต่ำ ปี 2552, 53 รพ.โนนไทย นม. QI Indicators Nakhon Ratchasima Provincial Health Office, 2009 Khanidtha,2008

2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย   2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 30/03/2011 เพื่อวัดระดับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ คลินิก เพื่อนโนนไทย เพื่อพิจารณาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่รับการรักษาที่คลินิกเพื่อนโนนไทย 3. สมมติฐานการวิจัย สุขภาพและการรักษา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ คุณภาพชีวิต พฤติกรรมการดูแลตนเอง มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ คุณภาพชีวิต การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ คุณภาพชีวิต

4. กรอบแนวคิดการวิจัย

5. ระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มตัวอย่าง การวิจัยเชิงบรรยายแบบภาคตัดขวาง ( Cross-sectional descriptive study) กลุ่มตัวอย่าง ผู้ที่รับยาต้านไวรัสเอดส์ ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีช่วงอายุระหว่าง 20-44 ปี ที่มารับบริการที่คลินิกเพื่อนโนนไทย แผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา ก่อนเดือนตุลาคม 2553 จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 180 คน 5

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย part Questionnaires 1 ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์ ประกอบด้วย อายุ, เพศ, สถานภาพ, ระดับ การศึกษา,อาชีพ, รายได้, การเปิดเผยตัว ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบและเติมคำ 2 ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา ประกอบด้วย Disease and treatment Simplified Medication Adherence Questionnaire (SMAQ) HIV-related symptoms questionnaire 3 พฤติกรรมการดูแลตนเอง จำนวน 30 ข้อ ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบ 4 แรงสนับสนุนทางสังคม จำนวน 25 ข้อ ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบ 5 คุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI) จำนวน 26 ข้อ ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบ 6

6. ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไป ลักษณะคุณภาพชีวิตโดยรวม และ คุณภาพชีวิตในแต่ละด้าน Model ทำนายคุณภาพชีวิตโดยรวม ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตโดยรวม ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตแต่ละด้าน

สถานภาพ = 60%คู่อยู่ด้วยกัน รายได้เฉลี่ยของครอบครัว 6.1 ข้อมูลทั่วไป อายุเฉลี่ย = 35.5 yo. ญ =56.4%, ช =43.6% สถานภาพ = 60%คู่อยู่ด้วยกัน การศึกษา = 70%ประถม อาชีพ = 55%รับจ้าง รายได้เฉลี่ยของครอบครัว = 750บาทต่อเดือน 96.2% เปิดเผยตัว 6.1.1 ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์

6.1.2 ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา 6.1 ข้อมูลทั่วไป 30/03/2011 ระยะเวลาการติดเชื้อ = 5.4 y. ระยะเวลาการได้รับ ARV = 4.05 y. ระดับ CD4 =334.54 cells/mm3 61.9 % ไม่มีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสและโรคแทรกซ้อน Adherence = 94.5% อาการ(symptom score) = 13.5 points (min0-max80) การมีส่วนร่วมกิจกรรมของpt = 85% สมาชิก ร่วมกลุ่ม 6.1.2 ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา

6.1.3 ลักษณะพฤติกรรมการดูแลตนเอง 6.1.3 ลักษณะพฤติกรรมการดูแลตนเอง Mean (min-max) Level Cronbach คะแนนรวม 76.40 (41-85) ดี 0.82 1.การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป 35.45 (13-46) 0.80 2.การดูแลตนเองที่จำเป็นตามระยะพัฒนาการ 9.52 (4-12) 0.78 3.การดูแลตนเองที่จำเป็นในภาวะเบี่ยงเบนทางด้านสุขภาพ 28.43 (42-85)

6.1.4 ลักษณะแรงสนับสนุนทางสังคม = ปานกลาง Mean (min-max) Cronbach คะแนนรวม 97.85 (64-123) 0.84 1.ด้านความรักใคร่ผูกพัน 19.82 (11-24) 0.86 2.ความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง 14.65 (10-25) 0.85 3.ด้านการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม 18.50 (12-25) 0.89 4.ด้านการให้ความช่วยเหลือแก่บุคคลอื่น 18.55 (11-25) 0.78 5.ด้านการได้รับความช่วยเหลือในด้านต่างๆ 13.37 0.92

6.2 ลักษณะคุณภาพชีวิต คะแนนรวม (26 items) ดี สุขภาพร่างกาย (7 items) WHO-QOL-BREF Mean (min-max) Level Cronbach’s alpha คะแนนรวม (26 items) 93.25 (42-109) ดี 0.87 สุขภาพร่างกาย (7 items) 24.87 (7-35) ปานกลาง 0.89 จิตใจอารมณ์ (6 items) 18.33(7-32) 0.85 ความสัมพันธ์ทางสังคม (3items) 12.55 (3-13) 0.82 สิ่งแวดล้อม (8 items) 28.76 (10-40) 0.80 ความพึงพอใจทั่วไป (1 item) 3.78 (1-5) คุณภาพชีวิตภาพรวม (1 item) 3.32 (1-5)

6.3 Model ทำนายคุณภาพชีวิต Table 3: Model Summary 6.3 Model ทำนายคุณภาพชีวิต Model   R R2 Adjusted R2 Std. Error of the Estimate Change Statistics R2 Change F Change df1 df2 Sig. F Change 1 0.609 0.371 0.357 8.478 10.828 9 170 0.000 QOL total score = 15.882 + 0.413 social support overall score** - 0.324 symptom score** + 0.112 self-care behavior overall score*- 0.145 widowed/divorced/separated** - 0.054 pt. non-participated holistic center , non-club* * significant level at p<0.05 ** significant level at p<0.01

6.4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตโดยรวม 30/03/2011 6.4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตโดยรวม คุณภาพชีวิต ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ คลินิก เพื่อนโนนไทย ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์ หม้าย/หย่า/แยก ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา อาการที่สัมพันธ์กับ HIV การมีส่วนร่วมกิจกรรมของpt พฤติกรรมการดูแลตนเอง แรงสนับสนุนทางสังคม 2 3 5 1 4

6.5 ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตแต่ละด้าน 30/03/2011 ด้าน 6.5 ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตแต่ละด้าน 1. สุขภาพร่างกาย 1.1 แรงสนับสนุนทางสังคม 1.2 อาการHIV * 1.3 CD4 cell count 2. จิตใจอารมณ์ 2.1 แรงสนับสนุนทางสังคม 2.2 อาการHIV * 2.3 หม้าย/หย่า/แยก* 3. ความสัมพันธ์ทางสังคม 3.1 แรงสนับสนุนทางสังคม - 3.2 การเปิดเผยตัว 3.3 การเป็นแกนนำ 4. สิ่งแวดล้อม 4.1 แรงสนับสนุนทางสังคม 4.2 อาการ HIV * * negative correlation

7. สรุปผลการวิจัย 30/03/2011 คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ อยู่ในระดับ ดี ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ 1) ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์ สถานภาพ 2) ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา อาการที่สัมพันธ์กับ HIV การมีส่วนร่วมกิจกรรมของpt. 3) พฤติกรรมการดูแลตนเอง 4) แรงสนับสนุนทางสังคม

7. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจำ ทราบระดับคุณภาพชีวิต และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ช่วยสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านการดูแลผู้ป่วยแบบครบองค์รวม ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใช้เป็นข้อมูลในการประเมินระบบบริการ, การวางแผนเชิงนโยบาย หรือ กลยุทธ์ในการพัฒนาระบบบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ผู้ป่วยเอดส์ เนื่องจากคุณภาพชีวิต เป็นผลลัพธ์จากคุณภาพการให้บริการ นำเสนอผลงานเผยแพร่ให้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์แก่เครือข่ายผู้ทำงาน สามารถนำข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง และ แรงสนับสนุนทางสังคม มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสนับสนุนให้ปฏิบัติอย่างเหมาะสม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ต่อไป

8. บทเรียนที่ได้รับ 30/03/2011 ทีมสหสาขาวิชาชีพ ควรให้การสนับสนุนทางสังคม และส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่างเป็นรูปธรรมให้กับผู้ป่วยร่วมด้วย ให้คำปรึกษาแนะนำ หรือ จูงใจผู้ป่วยที่ไม่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ให้เห็นถึงความสำคัญและจำเป็น เพื่อจะได้รับการดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพแบบองค์รวม โดยเฉพาะ ผู้ป่วยที่มีสถานภาพหม้าย/ หย่า/ แยก หรือ อยู่โดยลำพัง และผู้ที่มีอาการที่สัมพันธ์กับ HIV ต่อยอดงานวิจัย โดยขอทุนสนับสนุนจาก สปสช. จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมปัจจัยสนับสนุนให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งสามารถนำไปสู่การพัฒนาระบบบริการต่อไป

โครงการพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาและศักยภาพเครือข่ายแกนนำ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในโรงพยาบาลชุมชน จ.นครราชสีมา ปี 2554

โครงการพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาและศักยภาพเครือข่ายแกนนำ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในโรงพยาบาลชุมชน จ.นครราชสีมา ปี 2554

โครงการพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาและศักยภาพเครือข่ายแกนนำ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในโรงพยาบาลชุมชน จ.นครราชสีมา ปี 2554

Thank you 30