การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
การนำเสนอผลงานการวิจัย
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในสูตร Tenofovir regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน ภญ.อรวรรณ ครองยุทธ โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ยาที่มีผลต่อตับ การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มี ประสิทธิภาพสูง (HAART) ปัจจัยเสี่ยง คำสำคัญ ค่าปกติสูงสุด การเกิดพิษต่อตับจากการใช้ยาต้านเอชไอวี อุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับที่เกิดในระยะยาว อุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับ อุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับที่เกิดในระยะสั้น

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน สรุปผลงานโดยย่อ การศึกษานี้จะเป็นประโยชน์และสามารถใช้เป็นแนวทางในการเลือกใช้ การปรับเปลี่ยนสูตรยาต้านไวรัสพร้อมทั้งวางแผนการรักษาได้ และ เพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดพิษต่อตับ ดังนั้นการติดตามการทำงานของตับเป็นประจำยังมีความจำเป็น แม้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์นั้นจะได้รับยาต้านไวรัสสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นระยะเวลานาน ผลการศึกษา พบว่า เมื่อพิจารณาตามระยะเวลาที่เกิดพิษต่อตับ พบอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับระยะสั้น และระยะยาวหลังเริ่มรับยา คือ 39.8 และ 3.3 ต่อ 100 คน-ปี ตามลำดับ เมื่อพิจารณาตามสูตรยาที่ได้รับ พบว่าอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับค่อนข้างสูงในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม NNRTI (11.8 ต่อ 100 คน-ปี และเกิดในระดับที่รุนแรง 1.9 คน 100 คน-ปี) สูงกว่าผู้ติดเชื้อที่ได้รับยากลุ่ม PIs ในส่วนของปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับระหว่างที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง ได้แก่ เพศชาย , การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีร่วม , การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีร่วม และการได้รับยาต้านไวรัสสูตร HAART ที่มียา NVP และยา EFV เป็นส่วนประกอบ Company Logo

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน องค์กรต้นสังกัด : กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี e สมาชิกทีม : ภญ.นิจวรรณ ชื่นไมตรี ตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการ วุฒิการศึกษา : ปริญญาเภสัชศาสตตร์บัณฑิตมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี : ประกาศนียบัตรอบรมระยะสั้นบริบาลในผู้ป่วยติดเชื้อ HIV และเอดส์ Company Logo

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ที่มาและความสำคัญ

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน วัตถุประสงค์/เป้าหมาย เพื่อศึกษาอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อ การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน การเกิดพิษต่อตับในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสสูตร HAART กรอบแนวคิดการวิจัย เพศ ,ใช้ยากลุ่ม NNRTIยาที่มีพิษต่อตับ จำนวน CD4ก่อน เริ่มยา HAART Hepatitis status,ประวัติการได้รับยาต้าน อายุ, ระดับ ALT ก่อนเริ่มยาHAART ตัวแปรเชิงกลุ่ม (category variable) ตัวแปรต่อเนื่อง (continuous variable)

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน คำถามการวิจัย ความแตกต่างของอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเป็นอย่างไร ปัจจัยเสี่ยงใดบ้างที่มีผลต่อ การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน เครื่องมือที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากร/การเก็บข้อมูล ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง อายุตั้งแต่ 20 ปี จำนวน 842 คน เดือนตุลาคม 2557 ถึง เดือนมีนาคม 2558 (6เดือน) แบบบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง จากเวชระเบียน ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย : สถิติเชิงพรรณนา อัตราอุบัติการณ์ : incident rate ( t test/man whitney U test/chi square test) ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับ : cox proportional hazard model ระเบียบวิธีการวิจัย

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน กิจกรรมการพัฒนา แบบบันทึกข้อมูลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงศึกษาปัจจัย ได้แก่ เพศ อายุ โรคประจำตัว ประวัติทางสังคม สูตรยาต้านที่ได้รับ การติดตามผลการรักษา ข้อมูลการใช้ยาต้านระยะสั้น/ระยะยาว ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการเกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์ แบบสอบถาม Company Logo

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล *ทดสอบด้วย chi-square,t test p-value<0.05

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ระยะสั้น พบอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับที่สูงกว่าระยะยาว การเกิดพิษต่อตับมักระดับรุนแรงทั้งระยะสั้นและยาว เพศชาย การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีร่วม การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีร่วม การได้รับบยาสูตร NNRTIs based ระยะเวลา/ อุบัติการณ์ สรุปผลการวิจัย ปัจจัยเสี่ยง

การนำไปใช้ประโยชน์ สามารถใช้เป็นแนวทางในการเลือกใช้ การปรับเปลี่ยนสูตรยาต้านไวรัสพร้อมทั้งวางแผนการรักษาได้ และ เพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดพิษต่อตับ ดังนั้นการติดตามการทำงานของตับเป็นประจำยังมีความจำเป็น แม้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์นั้นจะได้รับยาต้านไวรัสสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นระยะเวลานาน Company Logo

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ Title สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางในการเลือก ปรับเปลี่ยนสูตรยาต้านไวรัส และวางแผนการรักษาได้ เพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านและ มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดพิษต่อตับ

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน ข้อเสนอแนะ เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง อาจเก็บข้อมูลไม่สมบูรณ์ 1 ไม่สามารถทราบจุดเวลาการเกิดติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี/ซีที่แน่ชัด 2 แบบแผนการตรวจระดับ ALT ของผู้ที่รับยาสูตร NNRTIs และ PIs ต่างกัน 3 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยาสูตร PIs มีจำนวนน้อย มักจะได้รับยาสูตร NNRTIs มาก่อน 4

อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน การติดต่อทีมงาน ภญ.นิจวรรณ ชื่นไมตรี ตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี โทร: 089-4808830 E-mail: nidjawanchuenmaitree@gmail.com Company Logo