การจัดองค์การเพื่อการผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ชุมชนปลอดภัย.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดองค์การเพื่อการผลิต อาจารย์วรันลักษณ์ ภักดิ์ใจดี

ความหมายขององค์การและการจัดการ การจัดองค์การ (Organizing) เป็นคำเรียกใช้มานาน แต่ปัจจุบัน เรียกชื่อใหม่ว่า การออกแบบองค์การ (Organization Design) มีผู้ให้ความหมายไว้หลายท่านพอสรุปได้ดังนี้ จอร์น เอ็ม. ฟิฟเนอร์ และแฟรงค์ พี. เชอร์วูด (John M. Pfiffner and Frank P. Sherwood) องค์การเป็นกระบวนการที่มีแบบแผน ประกอบด้วย บุคคลจำนวนมาก ปฏิบัติงานให้ได้ผลสำเร็จตามที่คาดหมายไว้ร่วมกัน

ความหมายขององค์การและการจัดการ (ต่อ) ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ ได้ให้ความหมายว่า กลุ่มของบุคคลที่ทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายเดียวกัน นักวิชาการหลายท่าน สรุปว่า องค์การ หมายถึง การรวมตัวกันของบุคคลเพื่อประกอบกิจการร่วมกัน โดยมีการกำหนดอำนาจหน้าที่อย่างชัดเจนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โรเบิร์ด ครีทเนอร์ (Robert Kreitner, 1995 : 297) การจัดองค์การ เป็นการทำโครงสร้างขึ้นในระบบร่วมมือกันทำงาน โดยมีสัมพันธภาพตามอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ด้วยการแสดงให้เห็นว่าใครทำอะไร รายงานต่อใคร

ความหมายขององค์การและการจัดการ (ต่อ) ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2542 : 261) การจัดองค์การ เป็นกระบวนการที่กำหนดกฎ ระเบียบ แบบแผน ในการปฏิบัติงานองค์การ รวมถึงวิธีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม เป็นความพยายามของผู้บริหารที่จะต้องหาบุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อที่จะมอบหมายงาน (Delegation) และอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงาน (Authority) โดยมีการใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างระมัดระวัง สรุปว่า การจัดองค์การเพื่อการผลิตเป็นการกำหนดระบบ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบ สายการบังคับบัญชา การจำแนกงาน เพื่อให้เกิดโครงสร้างขององค์การสำหรับงานอุตสาหกรรมที่ชัดเจน รวมทั้งการประสานงานระหว่างงานต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานอุตสาหกรรมมีรูปแบบที่เป็นระบบอย่างมีประสิทธิภาพ

แนวคิดในการจัดองค์การเพื่อการผลิต ผู้จัดองค์การ จะต้องมีแนวคิดในการจัดองค์การเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถทำให้องค์การมีความคล่องตัวชัดเจน รองรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งจากภายนอกและภายใน ขณะเดียวกันจะต้องมีกลไกของโครงสร้างที่ดีที่ทำให้ผู้ร่วมงานในองค์การสามารถประสานกันเป็นทีมที่ดีได้ การจัดองค์การ ต้องมีความชัดเจนและแน่นอน พยายามหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงที่บ่อยเกินไป ดังนั้น ผู้บริหารที่ดีจึงควรพยายามวางนโยบายเรื่องต่างๆ ออกมา โดยใช้วิธีคิดและวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ แล้วกำหนดออกมาเป็นระบบการควบคุมเพื่อนำไปใช้ในองค์การ (ธงชัย สันติวงษ์, 2540 : 121)

แนวคิดในการจัดองค์การเพื่อการผลิต (ต่อ) หลักของการจัดองค์การที่ดี ควรจัดโครงสร้างให้เป็นแบบง่ายๆ มีระดับขั้นน้อยที่สุด พยายามให้แต่ละคนแต่ละกลุ่มมีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบไม่มากหรือไม่น้อยจนเกินไป ควรต้องมีการดำเนินงานที่คล่องตัวและเหมาะสมกับการเติบโตและสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ยึดหลักความจำเป็นของงานมากกว่าการจัดโครงสร้างเพื่อสนองตอบคนที่มีอยู่ในองค์การ

ความสำคัญของการจัดองค์การเพื่อการผลิต การจัดองค์การ นับว่ามีความสำคัญยิ่งที่จะช่วยให้องค์การดำเนินงานได้อย่างราบรื่นและประสบผลสำเร็จ การจัดตั้งองค์การในงานอุตสาหกรรม จึงเป็นส่วนสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อใช้เครื่องมือในการทำงานให้เป็นไปในทิศทางที่กำหนดไว้ (บรรยง โตจินดา (2542 : 130) 1. การทำงานที่มีบุคคลจำนวนมาก 2. การจัดองค์การ เป็นวิธีการที่ช่วยให้การจัดการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพได้ 3. ภาระงานขององค์การ

ความสำคัญของการจัดองค์การเพื่อการผลิต (ต่อ) การจัดองค์การอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะขององค์การ ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์และผลดี 1. ทำให้การบริหารงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ทำให้งานทุกอย่างในองค์การดำเนินไปด้วยความสำเร็จด้วยดี 3. ทำให้ประหยัดและคุ้มค่าเพราะไม่เกิดปัญหาความซ้ำซ้อนและล่าช้า 4. ทำให้องค์การสามารถพัฒนาเจริญเติบโตต่อไป 5. ทำให้สมาชิกเกิดความร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน 6. ทำให้สมาชิกในองค์การมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน

หลักพื้นฐานของการจัดองค์การ หลัก OSCAR ของเฮนรี่ ฟาโยล์ (Henri Fayol) 5 ประการ คือ Objective Specialization Coordination Authority Responsibility

ประเภทขององค์การ 1. องค์การรัฐบาล 2. องค์การเอกชน 3. องค์การสาธารณะประโยชน์หรือองค์การกุศล 4. องค์การธุรกิจ

โครงสร้างขององค์การ หน้าที่การจัดองค์การ เป็นการกำหนดโครงสร้างที่เหมาะสมเพื่อให้กิจกรรมบรรลุเป้าหมาย โครงสร้างขององค์การ แสดงออกมาในรูปของแผนภูมิองค์การ (Organization Chart) หรือพีระมิดของภาระงาน (Job-Task Pyramid) แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ด้านอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างงานด้านต่างๆ ในองค์การ โครงสร้างขององค์การมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการบรรลุเป้าหมายขององค์การ

โครงสร้างขององค์การ (ต่อ) โครงการองค์การในการช่วยเหลือและสนับสนุนให้งานในหน้าที่ต่างๆ ขององค์การดำเนินไปด้วยดีด้วยเหตุผล การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ 1. การแสดงให้เห็นการติดต่อสื่อสาร 2. การกำหนดการตัดสินใจ 3. การกำหนดความสมดุล 4.

รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การ 1. การจัดโครงสร้างองค์การตามหน้าที่ (Functional Organization) ผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการฝ่ายการผลิต ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ผู้จัดการฝ่ายทรัพย์สิน

1.การจัดโครงสร้างองค์การตามผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service Organization) ผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการผลิตภัณฑ์เครื่องปรับอากาศ ผู้จัดการผลิตภัณฑ์เครื่องรับโทรทัศน์ ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ตู้เย็น

3. การจัดโครงสร้างองค์การตามพื้นที่การผลิต (Territorial Organization) ผู้จัดการทั่วไป ประเทศไทย ประเทศจีน ประเทศสหรัฐอเมริกา

4. การจัดโครงสร้างองค์การตามกระบวนการ (Process Organization) ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายบรรจุภัณฑ์

5. การจัดโครงสร้างองค์การตามโครงการ (Project Organization) ผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการโครงการสร้างท่อก๊าซ ผู้จัดการโครงการสร้างทางยกระดับ ผู้จัดการโครงการสร้างอาคาร

6. การจัดโครงสร้างองค์การแบบแมตริกซ์ (Matrix Organization) ผู้จัดการโครงการสร้างอาคาร ผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการ ฝ่ายการผลิต ฝ่ายวิศวกรรม ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายบุคคล ฝ่ายทรัพย์สิน ฝ่ายการเงิน

การออกแบบองค์การเพื่อการผลิต การออกแบบองค์การ (Organization Design) ชื่อเดิมเรียกว่า การจัดองค์การ (Organizing) เป็นเรื่องสำคัญที่มีผลต่อการทำงานและการบริหารองค์การ เป็นหัวใจของผู้จัดการและผู้บริหาร เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงวิธีการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การออกแบบองค์การส่งผลต่อการบริหารและพฤติกรรมขององค์การ 1. การจูงใจ 2. ข้อจำกัด 3. อำนวยความสะดวก

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 การจัดองค์การในงานอุตสาหกรรมมีความจำเป็นอย่างไร จงอธิบายความหมายและความสำคัญของการจัดองค์การเพื่อการผลิต หลักการจัดองค์การและการกำหนดโครงสร้างองค์การที่ดีมีอะไรบ้างพร้อมให้เหตุผล องค์การด้านอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง จงเขียนแผนภูมิแสดงส่วนประกอบของโครงสร้างขององค์การแบบหน้าที่พร้อมอธิบาย โครงสร้างแบบแมตริกซ์เหมาะสมกับองค์กรแบบใดมากที่สุด อธิบาย โครงสร้างแบบผลิตภัณฑ์มีลักษณะอย่างไร และมีข้อสังเกตอย่างไร โครงการตามกระบวนการมีหลักการในการจัดโครงสร้างอย่างไรบ้าง โครงสร้างองค์การแบบใดที่ท่านเห็นว่าควรนำมาใช้ในองค์การด้านการผลิตในสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด อธิบายเหตุผลประกอบ จงอธิบายถึงการจัดโครงสร้างองค์การรูปแบบที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุดสำหรับการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม และการนำไปประยุกต์ใช้

ขั้นตอนการวางแผนการผลิต 1.1 เริ่มต้นด้วย การพยากรณ์ยอดขายของผลิตภัณฑ์ พิจารณาความต้องการตลอดระยะเวลาของแผน ระบุทางเลือก ข้อจำกัดและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง พัฒนาการผลิตตลอดระยะเวลาของแผน มุ่งสู่การวางแผนการผลิตในครั้งต่อไป นำแผนไปปฏิบัติและปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน แผนเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ไม่ยอมรับ ยอมรับ 1.2 รวมค่าพยากรณ์ความต้องการความต้องการผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดเข้าเป็นหนึ่ง ความต้องการรวม (One Aggregate Demand) ของโรงงาน 1.4 ปรับเปลี่ยนความต้องการรวมหรือความต้องการผลิตรวมในแต่ละช่วงเวลาไปเป็นความต้องการทรัพยากรการผลิต 1.3 เปลี่ยนความต้องการรวมเป็นความต้องการผลิตรวม ข้อสังเกต ขั้นตอนที่ 2 และ 3 ตั้งสมมติฐานว่า ระบบการผลิตจะถูกกำหนดโดยนโยบายให้ทำการผลิตตามยอดขายที่ได้พยากรณ์ไว้ เพราะในบางครั้งบริษัทจะผลิตน้อยกว่ายอดขาย เนื่องจากไม่สามารถหากำลังการผลิตเพิ่มขึ้นได้อย่างเพียงพอ หรืออาจสามารถทำกำไรได้มากกว่าในการผลิตน้อยกว่ายอดขาย ขอบเขตของการวางแผนการผลิตนี้ได้ตั้งสมมติฐานว่า ได้รับการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว ค่าพยากรณ์ยอดขาย คือเป้าหมายการผลิต

กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต Subcontactor Vary the Size of Work Force Vary the Hours Worked Vary Inventory Lavels กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต ซึ่งกลยุทธ์ที่นิยมใช้กันโดยทั่วๆไป คือ

1. การเปลี่ยนแปลงระดับสินค้าคงคลัง (Vary Inventory Lavels) โดยการจัดกำลังการผลิตไว้คงที่ระดับหนึ่ง เพียงพอที่จะผลิตสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการ ตลอดแผนแล้วดำเนินการผลิต ด้วยอัตราคงที่ปกติ ในช่วงเวลาใดที่มีความต้องการต่ำกว่าระดับกำลังการผลิตปกติที่จัดไว้ ทำให้มีสินค้าเหลือเก็บไว้ในคลังมากขึ้น ส่วนช่วงเวลาใดมีความต้องการสูงกว่าระดับกำลังการผลิตปกติที่จัดไว้ จะดึงที่ผลิตเก็บไว้นั้นมาใช้ กลยุทธ์นี้ ทำให้มีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าที่เกิดขึ้น เช่น ค่าประกัน ดอกเบี้ย ค่าเสียหายของสินค้า ค่าเช่าโกดังเก็บรักษาสินค้า ค่าภาษี และอื่นๆ เป็นต้น บางช่วงเวลาของแผนเกิดขาดแคลนสินค้า ยอมให้ผลิตย้อนหลัง ต้องพิจารณาถึงค่าเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากการผลิตย้อนหลัง อาจประเมินจากความเชื่อถือของลูกค้า ความไม่พอใจของลูกค้าและการเปลี่ยนไปซื้อสินค้าจากกิจการ หรืออาจถูกปรับค่าเสียหายจากการส่งสินค้าไม่ทันกำหนดเวลา กรณีปัญหาการผลิตย้อนหลังไม่รุนแรงมากนักการปล่อยให้มีการผลิตย้อนหลัง เป็นวิธีการแก้ปัญหาการผลิตที่ใช้ได้ดีอันหนึ่ง

ตัวอย่างเช่น สมมติว่าแผนการผลิตสำหรับ 2 เดือน แผนหนึ่งมีความต้องการผลิตในเดือนแรก 100 หน่วย และเดือนที่สอง 200 หน่วย ตามกลยุทธ์ที่ 1 เราจะจัดกำลังการผลิตไว้ที่ระดับ 150 หน่วยต่อเดือน ทำให้เดือนแรกมีสินค้าคงเหลือเก็บไว้ในคลัง 50 หน่วย เพื่อนำไปใช้ในเดือนที่สอง แต่ถ้าในเดือนแรกมีความต้องการผลิต 200 หน่วย และในเดือนที่สองมีความต้องการผลิต 100 หน่วย แล้วเราจัดกำลังการผลิตไว้ 150 หน่วยต่อเดือน กรณีนี้ทำให้การผลิตย้อนหลังจากเดือนที่สองไปให้เดือนแรก 50 หน่วย ถ้าเราไม่ยอมให้มีสินค้าขาดแคลนเกิดขึ้น และต้องการผลิตให้เพียงพอกับความต้องการที่เกิดขึ้น เราอาจจำเป็นต้องจัดให้สินค้าคงเหลือตอนต้นงวด 50 หน่วย หรือจัดระดับกำลังการผลิตไว้ที่ 200 หน่วยต่อเดือน ทำให้มีสินค้าคงคลังในเดือนที่สองเพิ่มขึ้นเป็น 100 หน่วย

2. การเปลี่ยนแปลงชั่วโมงที่ใช้ในการทำงาน (Vary the Hours Worked) กลยุทธ์นี้จะจัดระดับการผลิตไว้ระดับหนึ่ง หลักจากนั้นทำการผลิตตามความต้องการในแต่ละเดือน เดือนใดมีความต้องการต่ำกว่าระดับกำลังการผลิตที่จัดไว้ ผลิตเพียงเท่าที่มีความต้องการในเดือนนั้น ปล่อยให้กำลังการผลิตส่วนที่เหลือนั้นว่าง สำหรับในช่วงเดือนที่มีความต้องการมากกว่ากำลังการผลิตปกติที่จัดไว้ จะให้มีการทำงานล่วงเวลาจนเพียงพอกับความต้องการในเดือนนั้น เห็นว่าชั่วโมงการทำงานของคนงานจะไม่แน่นอนแต่จะเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการผลิตของช่วงเดือนต่างๆ ตังอย่างเช่น ความต้องการผลิตในเดือนแรก 100 หน่วย และในเดือนที่สอง 200 หน่วย สมมติว่าเราจัดกำลังการผลิตไว้ 150 หน่วยต่อเดือน ในเดือนแรกเราจะทำการผลิตเพียง 100 หน่วย โดยปล่อยให้กำลังการผลิตที่เหลืออีก 50 หน่วยว่างไว้ สำหรับในเดือนที่สอง ต้องทำการผลิตตามกำลังการผลิตปกติ 150 หน่วย และต้องเพิ่มการทำงานล่วงเวลาเพิ่มขึ้นอีก 50 หน่วย ผลดีของกลยุทธ์นี้ คือ จะเลี่ยงค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีสินค้าคงคลังเก็บไว้ เพราะจะผลิตเท่าที่มีความต้องการเกิดขึ้นเท่านั้น แต่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากการทำงานล่วงเวลา ทำให้อัตราใช้เครื่องจักรเปลี่ยนแปลงไป และมีปัญหาในการซ่อมบำรุง

3. การเปลี่ยนแปลงขนาดของแรงงาน (Vary the Size of Work Force) กลยุทธ์นี้ หมายถึง การจัดกำลังการผลิตให้เปลี่ยนไปตามแนวโน้มของความต้องการที่เกิดขึ้น คือ เมื่อต้องการผลิตลดลงในช่วงใดของแผน ก็จะลดระดับกำลังการผลิตโดยปลดคนงานออกและในช่วงเวลาใดที่มีความต้องการผลิตเพิ่มขึ้น จะจัดระดับกำลังการผลิตให้สูงขึ้นโดยการจ้างคนงานเพิ่มเข้ามา กลยุทธ์นี้ ทำให้ปัญหาที่เคยเกิดขึ้นกับทั้งสองกลยุทธ์ที่กล่าวมา ลดลง คือ ค่าใช้จ่ายด้านสินค้าคงคลังและการทำงานล่วงเวลาลดลงและยังทำให้เราสามารถใช้เวลาในการทำงานของพนักงานได้อย่างเต็มที่

3. การเปลี่ยนแปลงขนาดของแรงงาน (Vary the Size of Work Force) (ต่อ) กลยุทธ์นี้ มีข้อเสียหลายประการ คือ 3.1 ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากการจ้างคนงานเพิ่ม ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการรับสมัครงานเข้าใหม่ การสัมภาษณ์ การสอบ การเก็บข้อมูลพนักงานที่รับเข้ามาใหม่ การฝึกอบรม และค่าใช้จ่ายที่เกิดจากผลผลิตตกต่ำ 3.2 ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการปลดคนงานออก รวมถึงค่าชดเชยการเลิกจ้างค่าทำขวัญ 3.3 การขาดขวัญและกำลังใจของคนงานที่เหลืออยู่ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระดับการจ้างงานบ่อยๆ 3.4 การขาดศรัทธาและความชื่นชมจากชุมชนจากชุมชนในท้องถิ่นที่เฝ้าจับตามองความเคลื่อนไหวของบริษัทอื่นที่มีความมั่นคงกว่า เป็นเหตุให้บริษัทต้องจ้างคนงานเข้ามาทำงานด้วยค่าจ้างที่สูง ตัวอย่างเช่น ความต้องการผลิตที่กล่าวถึงในกลยุทธ์ที่ 2 และกลยุทธ์ที่ 3 เราจะจัดกำลังการผลิตในเดือนแรกเท่ากับ 100 หน่วย และจะเพิ่มกำลังการผลิตขึ้นอีก 100 หน่วยเป็น 200 หน่วยในเดือนที่สอง

4. การเพิ่มการจ้างผู้รับเหมาช่วง (Subcontractor) กลยุทธ์นี้ อาศัยแหล่งผลิตที่มาจากภายนอกโรงงาน เพื่อช่วยเสริมกลยุทธ์ทั้งสาม ในการแก้ปัญหาการวางแผนการผลิต จะต้องคำนึงถึงนโยบายของบริษัท ด้วยกลยุทธ์ที่ 4 ถ้านำไปเสริมกับกลยุทธ์ที่ 1 ทำให้สามารถลดระดับกำลังการผลิตลงมาได้ และยังช่วยลดระดับของสินค้าคงคลังอีกด้วย ถ้านำไปเสริมกลยุทธ์ที่ 2 สามารถลดระดับกำลังการผลิตที่ต้องการลงได้ และถ้านำไปเสรอมกลยุทธ์ที่ 3 สามารถช่วยในการลดระดับการเปลี่ยนแปลงระดับการจ้างงานลงได้ ทำให้การจ้างมีเสถียรภาพขึ้น ระดับของสินค้าคงคลังลดลง รวมทั้งชั่วโมงการทำงานล่วงเวลาก็ลดลงด้วย แม้จะใช้กลยุทธ์ที่ 4 มาช่วย ทำให้ค่าใช้จ่ายบางอย่างลดลง แต่จะต้องคำนึงถึงค่าใช้จ่ายส่วนที่เพิ่มขึ้นจากการจ้างผู้รับเหมาช่วงด้วย รวมทั้งการที่ต้องคอยควบคุมคุณภาพ และกำหนดส่งงานให้เป็นไปตามความต้องการของบริษัท การวางแผนการผลิต อาจเลือกใช้กลยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่ง ดังกล่าวมาเบื้องต้น มาใช้ตามลำพังตลอดแผน หรืออาจจะผสมผสานกลยุทธ์ที่ 4 เข้าด้วยกันในการวางแผนดำเนินการผลิต มีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้ค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการเลือกแผนดำเนินการผลิตต่ำที่สุด

ตัวอย่างโรงงานเฟอร์นิเจอร์ในจังหวัดสุโขทัยต้องการผลิตชั้นวางของออกมาจำหน่าย จึงทำการพยากรณ์ความต้องการสินค้าในช่วงเดือนมกราคมถึงมิถุนายนดังตารางต่อไปนี้และกำหนดให้สินค้าคงเหลือต้นงวดเท่ากับ 0 (กำหนดให้ 1 วันทำงาน 8 ชั่วโมง