สภาพปัจจุบัน (Actual)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
Advertisements

โดย อาจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์
หลักสูตร VS การประเมินหลักสูตร
Algorithm Efficiency There are often many approaches (algorithms) to solve a problem. How do we choose between them? At the heart of computer program.
บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
Control Chart for Variables
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
7 QC Tools.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
Chapter 2 7 QC Tools.
เครื่องมือ 7 อย่างของคิวซี
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
ISC2102 สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
การแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
คิดไว สรุปไว ด้วย MIND MAP ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
Information System Development
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
การทำงานเชิงวิเคราะห์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Research of Performing Arts
Data presentation for QC
Advanced Topics on Total Quality Management
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
การให้บริการข้อสอบ Pre O-NET
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
Community health nursing process
Review of the Literature)
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Educational Standards and Quality Assurance
Contents Contents Introduction Objectives Conceptual frame work
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
จิตสำนึกคุณภาพ.
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  ENL2311 Paragraph Writing
AnalyticAL Writing ปิติ ตรีสุกล.
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
<insert problem title>
สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สภาพปัจจุบัน (Actual) ปัญหาคืออะไร ปัญหาคือช่องว่างระหว่างสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบันเทียบกับ สถานการณ์ในอุดมคติหรือที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป้าหมายหรืออุดมคติ ปัญหา สภาพปัจจุบัน (Actual)

ใช้ประสบการณ์สันชาตญาณ นำมาตรการตอบโต้ปัญหา นำมาตรการตอบโต้ปัญหา รูปแบบการแก้ไขปัญหา แก้ปัญหาแบบธรรมดา แก้ปัญหาแบบ QC ประสบปัญหา ประสบปัญหา วิเคราะห์และระบุ สาเหตุของปัญหา ใช้ประสบการณ์สันชาตญาณ หาทางออก นำมาตรการตอบโต้ปัญหา ที่อาการไปปฎิบัติ นำมาตรการตอบโต้ปัญหา ที่สาเหตุไปปฎิบัติ

แนวคิดการแก้ปัญหาและการปรับปรุงงาน การแก้ปัญหาคือการลดความไม่พอใจหรือสิ่งไม่พึงประสงค์ของผู้ที่ได้รับผลกระทบ(ลูกค้า) การแก้ปัญหาคือการทำให้กลับสู่สภาพเดิม การปรับปรุงคือการยกระดับให้ผลงานสูงขึ้นหรือดีกว่าเดิมซึ่งอาจเรียกได้ว่า การแก้ปัญหาเรื้อรังและปรับปรุงงาน

ชนิดของปัญหา ปัญหาครั้งคราว(ปัญหาหน้างาน) เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแบบไม่สม่ำเสมอไม่แน่นอนคาดเดาไม่ได้โดยจะเรียกปัญหานี้ว่า Sporadic Problem ปัญหาเรื้อรัง(ปัญหาที่ต้องปรับปรุง) เป็นปัญหาที่เกิดอย่างสม่ำเสมอเกิดบ่อยหรือมีแนวโน้มการเกิดบ่อยโดยจะเรียกปัญหานี้ว่า Chronic Problem

ชนิดของสาเหตุ สาเหตุธรรมชาติ Common cause/Noise/Design เป็นสาเหตุที่เกิดกับปัญหาเรื้อรัง เป็นสาเหตุที่มีโอกาสเกิดขึ้นสูงเกิดอย่างสม่ำเสมอคาดเดาได้ เป็นสาเหตุที่ไม่สามรถกำจัดได้หมด สาเหตุผิดธรรมชาติ Special /Assignable/ Controllable เป็นสาเหตุที่เกิดกับปัญหาหน้างาน เป็นสาเหตุที่มีโอกาสเกิดน้อย คาดเดาไม่ได้ เป็นสาเหตุที่สามารถกำจัดหมดได้ป้องกันและปรับปรุง

QC story คืออะไร คือกระบวนการทางการแก้ปัญหาหรือทางการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุมีผลโดยการเรียนรู้กระบวนการบริหารโครงการหรือ Plan-Do-Check-Action(P-D-C-A)

ขั้นตอนการแก้ปัญหาแบบ QC story Cycle QC Story 1. การกำหนดหัวข้อปัญหา 2. การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย 3. การวางแผนแก้ไข 4. การวิเคราะห์สาเหตุ Plan วางแผน Do - ปฏิบัติ 5. การกำหนดมาตรการตอบโต้และการปฏิบัติ Check - ตรวจสอบ 6. การติดตามผล Act - มาตรฐาน 7. การทำให้เป็นมาตรฐาน

เครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุง ขั้นตอนการปรับปรุง เครื่องมือคุณภาพที่ใช้ -การศึกษาอาการปัญหาปัจจุบัน CHECK SHEET,GRAPH -การกำหนดหัวข้อปรับปรุง GRAPH, PARETO -การสำรวจและแยกแยะปัญหา GRAPH, PARETO, HISTOGRAM P -การกำหนดเป้าหมาย PARETO,GRAPH -การจัดทำแผนกิจกรรม GRAPH AND CHART

เครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุง ขั้นตอนการปรับปรุง เครื่องมือคุณภาพที่ใช้ D -การวิเคราะห์สาเหตุและ แนวทางการแก้ไข GRAPH, PARETO, HISTOGRAM CAUSE AND EFFECT DIAGRAM, SCATTER DIAGRAM -การติดตามผลการแก้ไข C CHECK SHEET,GRAPH, HISTOGRAM CONTROL CHART, PARETO -การสรุปผลการแก้ไข -การกำหนดมาตรฐาน A CHECK SHEET CONTROL CHART

Often we use a sample to draw conclusions about the whole population What is Statistics? Definition of Statistics ( Oxford English Dictionary) The science of collecting and analyzing numerical data, especially for large quantities of data, and usually inferring proportions in a whole (population) from proportions in a representative sample. Population and Sample Population is the whole collection of objects in which we are interested. Sample is a portion of the population that is selected for study. Population Sample Often we use a sample to draw conclusions about the whole population A numerical measure that is computed from a sample is called a Statistic.

Fundamental Concept of Statistics Population Sample Data Descriptive Statistics Inferential Statistics Analysis

1.แผ่นตรวจสอบ (CHECK SHEET) คือ แบบฟอร์มที่มีการออกแบบช่องว่างต่าง ๆ ไว้เรียบร้อย เพื่อจะใช้ในการบันทึกข้อมูลได้ง่ายและสะดวก ถูกต้อง ไม่ยุ่งยาก ในการออกแบบฟอร์มทุกครั้งต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน วัตถุประสงค์ของการออกแบบฟอร์มในการเก็บข้อมูล 1. เพื่อควบคุมและติดตาม (Monitoring) ดูผลการดำเนินการผลิต 2. เพื่อการตรวจเช็ค 3. เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของความไม่สอดคล้อง

ประเภทของแผ่นตรวจสอบ 1. แผ่นตรวจสอบการปฏิบัติงานประจำวัน 1.1 แผ่นตรวจสอบเพื่อใช้ดูการแจกแจงของข้อมูลอย่างง่าย 1.2 แผ่นตรวจสอบเพื่อการตรวจสอบยืนยัน 2.แผ่นตรวจสอบการตรวจสอบคุณภาพ 2.1 แผ่นตรวจสอบสำหรับบันทึกของเสีย 2.2 แผ่นตรวจสอบแสดงสาเหตุของความบกพร่อง 2.3 แผ่นตรวจสอบเพื่อใช้แสดงตำแหน่งจุดบกพร่องหรือ จุดเกิดเหตุ ST-C-PD-004

1.1 แผ่นตรวจสอบเพื่อดูการแจกแจงข้อมูลอย่างง่าย ขนาดที่กำหนด จำนวนชิ้นที่ตรวจสอบ ความถี่ - 10 - 8 - 9 - 6 - 7 - 5 - 4 - 3 - 2 - 1 ขนาดเล็กสุด 1 2 3 4 8.300 ขนาดโตสุด X 5 10 1 2 4 6 9 11 8 7 6 ST-C-PD-004

1.2 แผ่นตรวจสอบเพื่อการตรวจสอบยืนยัน รายละเอียดการตรวจสอบ ผลตรวจ ส่วนที่ 1 1.1ปริมาณน้ำหล่อเย็นและการรั่วไหล 1.2 ปริมาณน้ำมันเบรกและคลัตช์ ส่วนที่ 2 2.1 สภาพสีของไอเสีย 2.2 สภาพแถบสะท้อนแสง(ขับขี่ตอนกลางคืน) ส่วนที่ 3 3.1 แรงดันของยางรถยนต์ 1 2 3 ST-C-PD-004

2.1 แผ่นตรวจสอบสำหรับบันทึกของเสีย วันที่.…..…….…….……………….... แผนก……………………………….. ชื่อผู้ตรวจสอบ………………………. ล็อตที่…………..………...………… ใบสั่งเลขที่…………………………... สินค้า.…..…….…….…. ขั้นตอนการผลิต : ตรวจสอบขั้นสุดท้าย ชนิดของความบกพร่อง ตำหนิที่ผิวชิ้นงาน รอยแตก ฉีดไม่เต็มชิ้น รูปร่างบิดเบี้ยว จำนวนชิ้นงานที่ตรวจสอบ : 1525 หมายเหตุ ตรวจทุกชิ้น ผลรวมแต่ละ ชนิดของความบกพร่อง ชนิดของความบกพร่อง ตำหนิที่ผิวชิ้นงาน 17 11 26 3 5 รอยแตก ฉีดไม่เต็มชิ้น รูปร่างบิดเบี้ยว อื่นๆ รวมจำนวนความบกพร่อง 62 จุดบกพร่อง จำนวนชิ้นงานที่เป็น ของเสีย 42 ชิ้น ST-C-PD-004

2.2 แผ่นตรวจสอบแสดงสาเหตุของความบกพร่อง เครื่องจักร ชื่อ พนักงาน จันทร์ เข้า บ่าย นาย ก ที่ 1 อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ นาย ข รอยขีดข่วนผิวงาน ฟองอากาศ งานผิดปกติ ST-C-PD-004

2.2 แผ่นตรวจสอบแสดงสาเหตุของความบกพร่อง เครื่องจักร ชื่อ พนักงาน จันทร์ เช้า บ่าย นาย ก นาย ข นาย ค เครื่อง 1 อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ เครื่อง 2 รอยขีดข่วนผิวงาน งานผิดรูปร่าง ฟองอากาศ ความบกพร่องอื่น ๆ ผิวงานสำเร็จไม่ได้คุณภาพ ST-C-PD-004

2.3 แผ่นตรวจสอบสำหรับหาตำแหน่งจุดบกพร่อง ชนิดของรถ สถานที่ตรวจสอบ เวลาการตรวจสอบ จำนวนที่ตรวจสอบ สัญลักษณ์ ตำหนิที่สี x มีสิ่งเจือปน กระบวนการ # วิธีการตรวจสอบ วิธีการสุ่ม ผู้ตรวจสอบ อื่นๆ หมายเหตุ x # ST-C-PD-004

ขั้นตอนการออกแบบแผ่นตรวจสอบ 1. ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ ตั้งชื่อ ของแผ่นตรวจสอบ 2. กำหนดปัจจัย (4M) 3. ทดลองออกแบบ กำหนดสัญลักษณ์ 4. ทดลองนำไปใช้เก็บข้อมูล 5. ปรับปรุงแก้ไข ทดลองเก็บ 6. กำหนดการใช้แผ่นตรวจสอบ (5W 1H) 7. นำข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุป 8. แบบฟอร์มข้อมูลดิบ + แบบฟอร์มสรุป ST-C-PD-004

ข้อควรจำในการออกแบบแผ่นตรวจสอบ ต้องมีวัตถุประสงค์ในการใช้แผ่นตรวจสอบ กรอกข้อมูลสะดวก ง่ายต่อการบันทึก ยิ่งมีการเขียนหรือคัดลอกมากเท่าใด โอกาสผิดมากเท่านั้น สะดวกต่อการอ่านค่าหรือใช้ในการวิเคราะห์ ต้องพอสรุปผลได้ทันทีที่กรอกข้อมูลเสร็จ ก่อนใช้แผ่นตรวจสอบจริงผู้ออกควรทดลองเก็บข้อมูลก่อนใช้จริง มีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

2.แผนภูมิพาเรโต (PARETO DIAGRAMS) เป็นแผนภูมิที่ใช้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุของความบกพร่องกับปริมาณความสูญเสียที่เกิดขึ้น - จำนวนชิ้นงานเสีย - มูลค่าความเสียหายจากของเสีย - ความถี่ของการเกิด - ตามชนิดของความบกพร่อง - ตำแหน่งที่พบความบกพร่อง - เครื่องจักรที่ก่อจุดบกพร่อง

ซึ่งเรียกการวิเคราะห์แบบนี้ว่า “การวิเคราะห์แบบพาเรโต” เหตุ ผล 20% 80% 80% 20% จำนวนสาเหตุน้อยแต่มีมูลค่าความสูญเสียมาก จำนวนสาเหตุมากแต่มีมูลค่าความสูญเสียน้อย ซึ่งเรียกการวิเคราะห์แบบนี้ว่า “การวิเคราะห์แบบพาเรโต”

ประโยชน์ของผังพาเรโต สามารถบ่งชี้ให้เห็นว่าหัวข้อใดเป็นปัญหามากที่สุด สามารถเข้าใจลำดับความสำคัญมากน้อยของปัญหาได้ทันที สามารถเข้าใจว่าแต่ละหัวข้อมีอัตราส่วนเป็นเท่าใดในส่วนทั้งหมด เนื่องจากใช้กราฟแท่งบ่งชี้ขนาดของปัญหา ทำให้โน้มน้าวจิตใจได้ดี ไม่ต้องใช้การคำนวณที่ยุ่งยาก ก็สามารถจัดทำได้ สามารถใช้ในเปรียบเทียบผลได้ ใช้สำหรับการตั้งเป้าหมาย ทั้งตัวเลขและปัญหา

ขั้นตอนการสร้างผังพาเรโต 1. ตัดสินใจว่าจะศึกษาปัญหาอะไร และต้องการเก็บข้อมูลชนิดไหน (แกน Y # 1) - ความถี่ของการเกิด (ครั้ง) - มูลค่า (แกน Y # 2) - % ของความถี่ จากแกน Y # 1 (แกน X) การจำแนกข้อมูล - ลักษณะของเสีย - ตำแหน่งของเสีย 2. กำหนดวิธีการเก็บข้อมูลและช่วงเวลาที่จะทำการเก็บ

ขั้นตอนการสร้างผังพาเรโต 3. ออกแบบแผ่นบันทึก 4. นำไปเก็บข้อมูล

ขั้นตอนการสร้างผังพาเรโต 5. นำข้อมูลมาสรุปจัดเรียงลำดับ 104 +42 166/200

ขั้นตอนการสร้างผังพาเรโต 6. เขียนผังพาเรโต % 52 % 73 % 88 % 83 % 91 % 93 % ชนิดของเสีย งานเสีย (ชิ้น) จากการตรวจสอบ Model : ABC แผนก ฉีด ประจำเดือน ตุลาคม 2543 จำนวน 5,000 ชิ้น พบชิ้นงานเสีย 200 ชิ้น คิดเป็น 4%

3.กราฟ (Graphs) คือแผนภาพที่แสดงถึงตัวเลขหรือข้อมูลทางสถิติ ที่ใช้ เมื่อต้องการนำเสนอข้อมูล และวิเคราะห์ผลของข้อมูลดังกล่าวเพื่อทำให้ง่ายและรวดเร็วต่อการทำความเข้าใจ

ประโยชน์ของกราฟ ใช้เพื่อ 1. อธิบาย เช่น จำนวนของเสีย ผลการผลิต ยอดขาย เป็นต้น 2. วิเคราะห์ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลในอดีต เทียบกับปัจจุบัน 3. ควบคุม เช่น ระดับการผลิต ยอดขาย อัตราของเสีย น้ำหนัก อุณหภูมิ เป็นต้น 4. วางแผน เช่น แผนการผลิต 5. ประกอบเครื่องมืออื่น เช่น ผังควบคุม ฮีสโตแกรม

ชนิดของกราฟ วัตถุประสงค์ ลักษณะ เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างทางปริมาณ วัตถุประสงค์ ลักษณะ เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างทางปริมาณ 1. ทุกแท่งมีความกว้างเท่ากัน 2. ความยาวของแต่ละแท่งขึ้นกับจำนวนที่เปรียบเทียบ กราฟแท่ง ดูการเปลี่ยนแปลงเมื่อ เวลา หรือสถานการณ์เปลี่ยน ความสูง/ต่ำ ของเส้นกราฟ ขึ้นกับปริมาณจำนวนที่เก็บข้อมูลได้ กราฟเส้น แสดงภาพรวมทั้งหมดของสิ่งที่สนใจศึกษา กับปริมาณที่เกิดขึ้นจริง กำหนดหัวข้อที่วัดค่าได้ แล้วแสดงค่าในแต่ละเรื่อง จะช่วยให้มองเห็นภาพรวม และเข้าใจได้ง่ายขึ้น กราฟเรดาห์ ST-C-PD-004

ชนิดของกราฟ กราฟวงกลม กราฟเข็มขัด วัตถุประสงค์ ลักษณะ วัตถุประสงค์ ลักษณะ เป็นภาพวงกลมแยกเป็นสัดส่วนตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละเรื่อง ช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสัดส่วนได้ง่ายขึ้น แสดงสัดส่วนของสิ่งที่ต่างกัน กราฟวงกลม เป็นเส้นเข็มขัด หรือคล้ายกราฟแท่งแนวนอน แต่แยกเป็นสัดส่วนตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละเรื่อง ช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสัดส่วนได้ง่ายขึ้น แสดงสัดส่วนของสิ่งที่ต่างกัน กราฟเข็มขัด ST-C-PD-004

การสร้างกราฟแท่ง การอ่านและการใช้กราฟแท่ง 1. วาดแกนตั้ง และแกนนอน (เป็นรูปตัว L) พร้อมใส่สเกลลงไป 2. ใส่ข้อมูลลงไปในกราฟ 3. วาดแท่งกราฟ 4. เปรียบเทียบข้อมูลในแต่ละแท่งกราฟนั้น การอ่านและการใช้กราฟแท่ง เป็นการเปรียบเทียบจำนวนของแต่ละเรื่องในจุดหรือ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง แต่ไม่สามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตามช่วงเวลาได้ ST-C-PD-004

กราฟแท่งเรื่องความพึงพอใจของลูกค้า กทม สงขลา เชียงใหม่ พัทยา จังหวัด

การสร้างกราฟเส้น การอ่านและการใช้กราฟเส้น 1. วาดแกนตั้ง และแกนนอน พร้อมใส่สเกลลงไป 2. ใส่ข้อมูลลงไปในกราฟ 3. ลากเส้นเชื่อมแต่ละจุด 4. เมื่อต้องการดูการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาใช้กราฟเส้นดีที่สุด การอ่านและการใช้กราฟเส้น การเปลี่ยนแปลงของแต่ละจุดข้อมูล แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา หรือเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการให้รายละเอียดการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขดังกล่าวจะช่วยให้เข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึ้น ST-C-PD-004

กราฟเส้น แสดงปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน จำนวน (ชิ้น) 1999 2000 2001 ST-C-PD-004

กราฟเรดาห์ กราฟแสดงความผันแปรตามสัดส่วนของข้อมูลแต่ละประเภทโดยอาศัยการแบ่งประเภทข้อมูลตามแกนต่างๆ

กราฟเรดาห์

การสร้างกราฟวงกลม การอ่านและการใช้กราฟวงกลม 1. วาดวงกลม แล้วลากเส้นตรงตาม 12 นาฬิกา 2. แบ่งสัดส่วนตามมุมที่เกิดขึ้น a) เริ่มจากสัดส่วนที่มากไปหาน้อย ตามเข็มนาฬิกา b) ใส่อื่น ๆ ไว้ท้ายสุด 3. เขียนชื่อกับจำนวนเปอร์เซนต์ไว้ในกราฟ การอ่านและการใช้กราฟวงกลม พื้นที่ในวงกลมจะบอกสัดส่วน ความสำคัญ ของข้อมูล ST-C-PD-004

PIE CHARTS แสดงสัดส่วนของเรื่องที่ลูกค้าร้องเรียน ใบเสร็จผิด 30 % สินค้าขาด 35 % สินค้าเสีย 20 % ส่งช้า 15 % ST-C-PD-004

ผังแสดงเหตุและผล (CAUSE AND EFFECT DIAGRAM) คือ ผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของปัญหา (ผล) กับปัจจัยต่าง ๆ (สาเหตุ) ที่เกี่ยวข้อง MAN MC คุณลักษณะ,ปัญหา, ผล สาเหตุรอง METHOD MATERIAL สาเหตุหลัก สาเหตุย่อย

แผนภาพก้างปลาทำเพื่ออะไร แผนภาพก้างปลาใช้จัดกลุ่มสาเหตุของปัญหาไม่ได้ทำเพื่อหาสาเหตุเครื่องมือที่ทำเพื่อหาสาเหตุ การระดมสมอง (Brainstorm) แผนภาพก้างปลาใช้สำหรับสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล แผนภาพก้างปลาใช้กับปัญหาชนิดใดก็ได้

ทำไมต้องทำการวิเคราะห์หาสาเหตุ เป็นการแก้ปัญหาระยะยาว การหาสาเหตุต้องใช่การวิเคราะห์ เพื่อให้ได้สาเหตุที่ถูกต้อง(คนส่วนใหญ่ชอบคาดเดาสาเหตุ) เพื่อการปรับปรุบงาน เพื่อการแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีหลักการและการป้องกันการเกิดซ้ำ

การวิเคราะห์คืออะไร การแบ่ง การจำแนกแยกแยะ การแบ่งเป็นแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ เป็นการแก้ปัญหาแบบวิทยาศาสตร์ การแบ่งที่ดีต้องเริ่มจากใหญ่ไปหาเล็ก

แล้วจะวิเคราะห์อะไรเพื่อหาสาเหตุ อาการของปัญหาเป็นผลที่แน่นอนของสาเหตุ อาการยิ่งมากยิ่งหาสาเหตุง่าย เปรียบเหมือนกับการวินิจฉัยอาการของแพทย์

อาการหาได้จากที่ไหน 3 จริง สังเกตด้วยตา หรือประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของจริง Genbutsu สถานที่จริง Genba เงื่อนไขหรือเหตุการณ์จริง Genjitsu ข้อมูล ตัวเลข สารสนเทศ มาจาก ใบตรวจสอบ ตาราง กราฟ

โครงสร้างก้างปลา ปัญหาจะเป็นส่วนของหัวปลา ส่วนก้างคือสิ่งที่ก่อให้เกิดปัญหา ก้างย่อยจะเกิดก่อนก้างหลัก ตัวก้างต้องวิ่งชี้เข้าหากระดูกสันหลังเพราะเป็นแกนกลางของปัญหา

ใส่อะไรบ้างลงในก้างปลา Cause สมมติฐานสาเหตุ Factor ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหา Condition เงื่อนไขสิ่งที่จำเป็นต้องมี,หลีกเลี่ยงไม่ได้ Controllable ปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ Noise สาเหตุเล็กๆน้อยๆที่มีผลต่อปัญหาน้อย และมีมากมายหลายตัว

ขั้นตอนการสร้างผังก้างปลา 1. ชี้ลักษณะคุณภาพที่เป็นปัญหาออกมาให้ชัดเจน 2. ด้านขวาสุดเขียนปัญหาหรือความผิดพลาด ลากเส้นจากซ้ายไปขวามาที่กรอบหรือตัวปัญหา 3. เขียนสาเหตุหลักของปัญหาที่เกิดขึ้น โดยใช้องค์ประกอบ 4M 4. เขียนสาเหตุรองและสาเหตุย่อย ๆ ลงไป ที่ส่งผลต่อ ๆ กันไป 5. สำรวจดูว่ามีสาเหตุอื่นใดอีกหรือไม่ 6. จัดลำดับความสำคัญมากน้อยของสาเหตุ เพื่อการแก้ไขต่อไป 7. เติมหัวข้อที่เกี่ยวข้องลงไป เช่น ชื่อผลิตภัณฑ์ ขั้นตอนการผลิต วัน เดือน ปื ชื่อผู้ที่ระดมสมอง

การสร้างผังก้างปลา ขั้นตอนที่ 1 กำหนดปัญหาหรืออาการที่จะต้องหาสาเหตุ อย่างชัดเจน X ฝ่ายบริการลูกค้าได้รับข้อร้องเรียนมากมาย จำนวนลูกค้าที่ร้องเรียนเกี่ยวกับการจองตั๋วเครื่องบิน แล้วที่นั่งซ้ำกันเพิ่มเป็น 3 เท่า เมื่อปีที่แล้ว

แหล่งที่มาของหัวข้อปัญหา / ปรับปรุง การควบคุมคุณภาพ : ผู้ขาย, การวัดผล, การร้องเรียน ต้นทุน : ต้นทุนในกระบวนการ แรงงาน ผลกำไร ค่าล่วงเวลา การตลาด การส่งมอบ : จำนวนสินค้าที่ส่งมอบ, จำนวนสต็อก, ส่งช้า ความปลอดภัย : จำนวนอุบัติเหตุ, อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ขวัญ / กำลังใจ : อัตราการเข้าออก, ลาหยุด หรือข้อเสนอแนะ

ขั้นตอนที่ 2 เขียนปัญหาให้อยู่ในช่องสี่เหลี่ยมด้านขวามือแล้วลาก ขั้นตอนที่ 2 เขียนปัญหาให้อยู่ในช่องสี่เหลี่ยมด้านขวามือแล้วลาก ลูกศรชี้มาที่ผล ดังรูป ปัญหา ขั้นตอนที่ 3 ระดมสมองหาสาเหตุที่น่าจะเป็นไปได้ (ถ้านึกไม่ออกให้ใช้ 5 M’s(คน,เครี่องจักร, วัตถุดิบ, วิธีการ, การวัด) และ 4 W’s (What , Why , When , Where) แล้วถามเสมอว่า “ ทำไมจึงเกิดขึ้น”, “ทำไมจึงเกิดขึ้น ” จนกว่าจะหมดความคิดแล้ว

ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน ขั้นตอนที่ 4 เขียนสาเหตุหลักที่น่าจะเป็นไปได้ ( 3 ถึง 6 สาเหตุ) ลงในช่องสี่เหลี่ยมแล้วลากเส้นมายังเส้นกลาง ดังรูป สาเหตุหลัก คน ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน ขั้นตอนที่ 5 เขียนสาเหตุรองโดยลากเส้นต่อจากเส้นสาเหตุ หลักแล้วเขียนสาเหตุที่ปลายเส้น สาเหตุหลัก การวัด เครื่องจักร คน ความกระตือรือร้น สาเหตุรอง การศึกษา บุคลิกภาพ ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน วัตถุดิบ เครื่องมือ วิธีการ

ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน ขั้นตอนที่ 6 เขียนสาเหตุย่อยโดยลากเส้นต่อจาก เส้นสาเหตุรอง สาเหตุหลัก การวัด เครื่องจักร คน สาเหตุรอง การส่งชิ้นงาน ความกระตือรือร้น วัดผิด เครื่องมือวัด แกนหมุน การศึกษา สาเหตุย่อย ความสามารถ วิธีการวัด บุคลิกภาพ การฝึกอบรม ค่ามาตรฐาน ตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน ขนาดไม่ได้มาตรฐาน คุณภาพ มาตรฐาน สีเพี้ยน การเปลี่ยนเครื่องมือ การเตรียมงาน ด้ามจับ แข็งเกิน วัตถุดิบ เครื่องมือ วิธีการ

ปฏิกิริยาโต้ตอบไม่ดี การอ่านผังก้างปลา ยางแบน ถนนลื่น เศษแก้ว ตาปู ฝนตก น้ำมัน ยางรั่ว หิมะ ควบคุม รถไม่ได้ เบรกเสีย คันชักหัก ฝึกอบรมไม่ดี ปฏิกิริยาโต้ตอบไม่ดี คันเร่งค้าง สะเพร่า ง่วงนอน ชิ้นส่วนเสีย คนขับผิดพลาด 1. “ หิมะตกทำให้ถนนลื่น ถนนลื่นทำให้ควบคุมรถไม่ได้ ” 2. “ ควบคุมรถไม่ได้เนื่องจากถนนลื่น ถนนลื่นเนื่องจากหิมะตก ”

ตัวอย่าง การลดของเสียจากกระบวนการบัดกรี แผ่น Printed Circuit Board(PCB) ของเสียจากการบัดกรี มาตรฐาน ตะกั่ว เครื่องจักร ไม่ทันสมัย การซ่อมบำรุง เนื้อโลหะ อุณหภูมิ ความเร็วสายพาน ตัวควบคุมอุณหภูมิคลาดเคลื่อน ปนเปื้อน น้ำประสาน ปริมาณ ความถ่วงจำเพาะ การจัดเก็บ PRE-HEAT เวลา

การแก้ปัญหาที่สาเหตุเปรียบได้กับอาชีพ นักสืบมีหน้าที่ทำการค้นหาข้อเท็จจริง เก็บรวบรวมข้อมูล ช่างสังเกตุ นักวิทยาศาสตร์มีหน้าที่วิเคราะห์ใช้ข้อมูลข้อเท็จจริงและทดลอง ผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินด้วยความยุติธรรมมีการพิสูจน์หลักฐานก่อน

กระบวนการเปลี่ยนปัญหาไปหาสาเหตุ สังเกตการณ์รายละเอียดของปัญหาอาการที่เกิดขึ้นโดยการใช้ หลักการ3จริง (สถานที่จริง)และ 4 W+1H Data จากรายงานการทำงานในสถานที่ทำงาน ทำการวิเคราะห์แยกแยะอาการปัญหาเพื่อหาสาเหตุโดยการใช้ หลักการ3จริง (ของจริง,เหตุการณ์จริง)และ 4 W+1H Data จากข้อมูลดิบมาประมวลผลใหม่โดยการใช้ Check Sheet(4W+2H) การระดมสมองหาสาเหตุ

แผ่นตรวจของเสียประจำวัน เครื่องจักร ชื่อ พนักงาน 1 Mar 02 2 Mar 02 3 Mar 02 4 Mar 02 5 Mar 02 6 Mar 02 รวม เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย 17 9 เครื่อง 1 นาย ก 5 10 4 1 23 25 นาย ข 11 9 3 5 14 12 นาย ค 1 2 เครื่อง 2 2 2 2 ฟองอากาศ ความบกพร่องอื่น ๆ รอยขีดข่วนผิวงาน งานผิดปกติ ผิวงานสำเร็จไม่ได้คุณภาพ

กระบวนการเปลี่ยนปัญหาไปหาสาเหตุ(ต่อ) ทำการพิจารณาหาความแตกต่างของสาเหตุหรือปัจจัยโดยพิจารณา อะไรคือความแตกต่าง ความแตกต่างเป็นความแตกต่างที่ปกติหรือไม่ ทำไมจึงเกิดความแตกต่าง ทำการพิสูจน์สาเหตุเพื่อกำหนดให้แป็นสาเหตุที่แท้จริงหรือไม่โดยการทดลอง เหตุเปลี่ยนแล้วผล(อาการปัญหา)เปลี่ยนหรือไม่

การกรองสาเหตุหรือคัดเลือกสาเหตุเพื่อนำไปแก้ไข อ่านทวนความสอดคล้องของเหตุและผล สอบถามความคิดเห็นจากสมาชิก พิสูจน์โดยการใช้สถิติเชิงพรรณนา(Scatter Diagram,Graph,Histogram) พิสูจน์โดยการใช้สถิติเชิงอนุมาน(Test Hypotesis,Anova)