แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเอกัตบุคคล Person Centered Theory
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
กระบวนการของการอธิบาย
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ศาสนาคริสต์111
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมนุษย์ บทที่ 1. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

ความหมายของพฤติกรรม หมายถึง กริยาอาการที่มนุษย์แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญกับสิ่งเร้า (Stimulus) หรือสถานการณ์ต่าง ๆ อาการแสดงออกต่าง ๆ เหล่านั้น อาจเป็นการเคลื่อนไหวที่สังเกตได้หรือวัดได้ เช่น การเดิน การวิ่ง การพูด การเขียน การคิด การเต้นของหัวใจ เป็นต้น ส่วนสิ่งเร้าที่มากระทบแล้วก่อให้เกิดพฤติกรรมก็อาจจะเป็นสิ่งเร้าภายใน (Internal Stimulus) และสิ่งเร้าภายนอก (External Stimulus)

พฤติกรรมแบ่งเป็น 2 ประเภท 1.1 Molar Behavior (โมลาร์) พฤติกรรมที่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือวัด เช่น การเคลื่อนไหวของร่างกาย เดิน ยืน วิ่ง ยิ้ม โบกมือ 1. พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) เป็นพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้หรือวัดได้ มี 2 ลักษณะ 1.2 Molecular Behavior (โมเลกุลาร์)พฤติกรรมที่ต้องอาศัยเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์จึงจะสามารถเห็นได้ เช่น การไหลเวียนโลหิต การเต้นของหัวใจ

พฤติกรรมแบ่งเป็น 2 ประเภท 2. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) เป็นพฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตได้ หรือวัดได้โดยตรง เช่น การเข้าใจ ความรู้สึก การรับรู้ การจำ การคิด การตัดสินใจ การจินตนาการ เป็นต้น พฤติกรรมภายในที่เกิดขึ้นโดยรู้สึกตัว เช่น การหิว การดีใจ พฤติกรรมภายในที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้สึกตัว เช่น การร้องไห้ การเศร้า

องค์ประกอบของพฤติกรรม การสัมผัส เช่น เหนื่อย ร้อน มึน ความรู้สึก อารมณ์ เช่น ทางบวก ความพอใจ ความสุข สนุกสนาน ทางลบ ความโกรธ เสียใจ กลุ่มใจ

การกระทำ การกระทำเชิงบวก คือการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น การกระทำเชิงบวก คือการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น การกระทำเชิงลบ คือการใช้สิ่งเสพติด ดื่มของมึนเมา การใช้เงินเกินตัว

การคิด ความเข้าใจ ความเชื่อ การรับรู้ เช่น ความเข้าใจ ความเชื่อ การรับรู้ เช่น ความคิดเชิงบวก การเพิ่มกำลังใจ แรงจูงใจ ความคิดเชิงลบ คิดว่าตนไม่เก่ง ไม่รู้เรื่อง

การศึกษาพฤติกรรม การอธิบาย ที่ได้จากการศึกษา ช่วยให้สามารถอธิบายได้ การทำนาย ความรู้จากทฤษฎีสามารถพยาการณ์ การคาดคะเน ความเข้าใจ จากการสังเกต หรือการศึกษาวิจัย การควบคุม การควบคุมพฤติกรรมของส่วนบุคคลและสังคม

ความสำคัญของการศึกษา พฤติกรรมช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจตนเอง การยอมรับผู้อื่น การปรับตัวและการพัฒนา พฤติกรรมช่วยบรรเทาปัญหาสังคม ปัญหาสุขภาพจิต การเบี่ยงเบนทางเพศ การก้าวร้าว ลักขโมย พฤติกรรมช่วยเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพชีวิต อารมณ์ สติปัญญา

วิธีการศึกษาพฤติกรรม การตั้งคำถามและกำหนดปัญหาวิจัย เช่น จากทฤษฎี ความเชื่อ ปัญหาในสังคม เหตุการณ์เฉพาะหน้า การตั้งสมมุติฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรม ซึ่งต้องการพิสูจน์หรือทดสอบด้วยการทำวิจัย การทดสอบสมมุติฐาน เช่น การทดลอง การสำรวจ การสังเกต การวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์อาจใช้สถิติด้วย สรุปผล การศึกษาว่าเป็นไปตามสมมุติฐานที่กำหนดไว้หรือไม่

วิธีการรวบรวมข้อมูล การทดลองโดยมุ่งศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างเหตุการณ์สองเหตุการณ์ เรียกว่า ตัวแปรอิสระ เหตุการณ์ที่เป็นผล เรียกว่าตัวแปรตาม การปฏิบัติต่อตัวแปรอิสระ เรียกว่า การจัดกระทำ การทดลองมี 2 ลักษณะคือ การทดลองในห้องปฏิบัติการ เป็นการสร้างสถานการณ์ทดลอง ที่มีการควบคุมตัวแปรเกิน การทดลองภาคสนาม เป็นสถานการณ์ที่เป็นธรรมชาติ

วิธีการรวบรวมข้อมูล การสำรวจ จำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือ ทั้งความเชื่อถือได้ (Reliability ) ความเที่ยง (Validity) ข้อดีของการสำรวจ การตั้งสมมุติฐานใหม่ๆ เพื่อรอการทดสอบ จุดอ่อน ได้แก่ ข้อมูลที่ได้มีลักษณะกว้าง ไม่ลึกซึ้ง วิธีการตรวจสอบจิตตนเอง โดยการให้บุคคลพิจารณาความรู้สึกของตนเอง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นความประทับใจ ข้อดี คือ ข้อมูลที่ได้รับตรงตามความเป็นจริง

วิธีการรวบรวมข้อมูล วิธีทางคลินิก เป็นการศึกษาพฤติกรรมแบบลึก (In-Depth-Study) เช่น การทดสอบ การศึกษารายกรณี การสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อดี ได้รายละเอียดของข้อมูลอย่างลึกซึ้ง การสังเกตอย่างมีระบบ โดยการเฝ้าสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่าง เรียกว่า การสังเกตอย่างมีระบบ

วิธีการรวบรวมข้อมูล การใช้แบบสอบถาม เป็นการเก็บข้อมูล โดยผู้ถูกถามรายงานตนเองด้วยวิธีการเขียน – ตอบ ข้อดี สะดวก ประหยัด ได้ข้อมูลกว้างขวาง การสัมภาษณ์ ด้วยการถามตอบปากเปล่า ข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา ข้อดี ยึดหยุ่น ปรับได้ตามสถานการณ์ ความแตกต่างระหว่างบุคคล

กลุ่มจิตวิทยาเพื่อเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรม กลุ่มจิตวิทยาโครงสร้างนิยม วิลเฮล์ม วุนด์ท (William Wundt) ในยุคทศวรรษที่ 19 สรุปได้ว่า สัมพันธ์กันภายใต้สถานกาณ์แวดล้อมที่เหมาะสมจะก่อให้เกิดเป็นความคิด อารมณ์ ความจำ  วิลเฮล์ม วุ้นต์ (Wilhelm Woundt, 1832 - 1920

วิลเฮล์ม วุ้นท์ (Wilhelm Wundt,1832-1920) นักจิตวิทยาได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของจิตวิทยาแผนใหม่เชิงวิทยาศาสตร์ วูนท์ ศึกษาโครงสร้างของจิต (Structuralism) มีความเชื่อว่า จิตประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ เหมือนกับสสาร ประกอบ ด้วยธาตุ ต่างๆ โครงสร้างของจิตมี 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ความรู้สึก (Feeling) ส่วนที่ 2 ประสาทสัมผัส (Sensation) ส่วนที่ 3 มโนภาพ (Image)

กลุ่มหน้าที่ทางจิต (Functionalism) กลุ่มหน้าที่ทางจิต (Functionalism)หรือ กลุ่มหน้าที่นิยม ผู้ริเริ่มแนวคิดนี้ คือ วิลเลียม เจมส์ (William James,1842-1910)แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาดและจอห์น ดิวอี้(John Dewey,1859-1952)แห่งมหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกา วิลเลียม เจมส์

วิลเลียม เจมส์ ทําการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ หน้าที่ของจิต (Functionalism) ว่า จิตมีหน้าที่ทํางานอย่างไรโดยอาศัยพื้นฐานหลักทฤษฎีของชาลส์ดาร์วิน (Charles Darwin;1809-1882) เป็นทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งที่มีชีวิตกล่าวว่า สิ่งที่มีชีวิตมีการต่อสู้ทุกรูปแบบ เพื่อให้สามารถมีชีวิตอยู่รอดได้ในโลก และสิ่งมีชีวิตจะต้องรู้จักปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมจากการศึกษาหน้าที่ของจิต ใช้วิธีการศึกษาจากการสังเกตและการบันทึกพฤติกรรม การปรับตัวของอินทรีย์ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม อาศัยหน้าที่ของจิตที่เรียกว่า จิตสํานึก (Conscious)

จอห์น ดิวอี้ คิดค้นการทดลองแบบใหม่ หรือเรียกว่าแบบวิธีการพัฒนาการ นับว่าเป็นบิดาแห่งการศึกษาสมัยใหม่ แนวคิดกลุ่มนี้ มุ่งอธิบาย หน้าที่ของจิต โดยเชื่อว่า จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการกระทํากิจกรรมของร่างกาย เพื่อปรับให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมวิธีการศึกษาของกลุ่มนี้ ใช้วิธีการตรวจสอบภายในและเพิ่มวิธีสังเกตร่วมกับการศึกษาพฤติกรรมในสถานการณ์ที่เป็นจริง จอห์น ดิวอี้

แนวทัศนะของกลุ่มจิตวิทยาวิเคราะห์ แนวคิดจิตเคราะห์เกี่ยวข้องกับการทำความเข้าใจแนวคิดหลัก 5 แนวคิด ซึ่งเชื่อว่า เป็นองค์ประกอบใหญ่ในพฤตกิรรมมนุษย์ ได้แก่ ระดับของจิตใจ โครงสร้างของจิตใจสัญชาตญาณ กลไกการป้องกันทางจิต และพัฒนาการของบุคลกิภาพ ซิกมันต์ ฟรอยด์(Sigmund Freud)

1. ระดับของจิตใจ (Level of the Mind) ระดับของจิตใจ ฟรอยด์อธิบายว่า หากจะพิจารณาจิตใจของมนุษย์ตามความรู้สึกตัวแล้ว จะแบ่งระดับความรู้สึกของจิตใจออกเป็น 3 ระดับ คือ 1.1 จิตสำนึก (The conscious level) เป็นส่วนของจิตใจที่เจ้าตัวรู้สึกและตระหนักในตนเองอยู่พฤติกรรมที่แสดงออกอยู่ภายใต้การควบคุมด้วยสติปัญญา ความรู้และการพิจารณาให้เหมาะสมกับสิ่งที่ถูกต้องและสังคมยอมรับ 1.2 จิตกึ่งสำนึก (The subconscious level) เป็ นระดับของจิตใจที่อยู่ในชั้นลึกลงไปกว่าจิตสํานึก คือเจ้าตัวไม่ได้ตระหนักรู้ตลอดเวลา หากแต่ต้องใช้เวลาคิดหรือระลึกถึงชั่วครู่ และประสบการณ์ต่างๆจะถูกดึงมาสู่จิตสํานึก 2จิตใจส่วนนี้จะช่วยขจัดข้อมูลที่ไม่จําเป็นออกจากความรู้สึกของบุคคลและเก็บไว้แต่ในส่วนที่มีความหมายต่อตนเองจิตใจส่วนนี้ดําเนินการอยู่ตลอดเวลาในชีวิตประจําวัน

1.3 จิตใต้สำนึก (Unconscious level) เป็นระดับของจิตใจในชั้นลึกที่เจ้าตัวเก็บไว้ในส่วนลึก อันประกอบด้วยความต้องการตามสัญชาตญาณต่างๆซึ่งไม่อาจแสดงได้อย่างเปิดเผยและประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของพัฒนาการในชีวิตที่มนุษย์เก็บสะสมไว้ โดยเฉพาะที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ฟรอยด์กล่าวว่า มนุษย์จะเก็บความรู้สึกทางลบไว้ในส่วนจิตใต้สํานึก และจะแสดงออกในบางโอกาส ซึ่งเจ้าตัวไม่ได้ควบคุมและไม่รู้สึกตัว ฟรอยด์เชื่อว่า การทําความเข้าใจมนุษย์ต้องทําตามความเข้าใจจิตใจส่วนนี้ด้วย

กลุ่มจิตวิทยาเกสตัลท์ คำว่า“Gestalt” หมายถึง ส่วนรวมทั้งหมดหรือโครงสร้างทั้งหมด ซึ้งเป็นคำที่มาจาก ภาษาเยอรมัน ทฤษฏีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ เป็นแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ เกิดขึ้นในระยะใกล้เคียงกับพฤติกรรมนิยม ผู้นำกลุ่มได้แก่ แมกซ์เวอร์ไธเมอร์ และผู้ร่วมกลุ่ม 2 คน เคอร์ท คอฟพ์กา วอล์ฟแกง โคเลอร์ เป็นชาวเยอรมัน

หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ กลุ่มเกสตัลท์กล่าวว่า การเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยนั้นจะต้องเกิด จากประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะคือ 1.การรับรู้ (Perception) 2.การหยั่งเห็น ( Insight ) 1.การรับรู้(perception) หมายถึงการแปลความหมายหรือการตีความต่อสิ่งเร้าของอวัยวะ รับสัมผัสส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งห้าส่วน

2.กฎแห่งความคล้ายคลึง (The law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันเพื่อจะได้รู้ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกันได้แก่ หู จมูก ลิ้น และผิวหนังโดยการตีความนี้มักอาศัยประสบการณ์เดิม 3.กฎแห่งความใกล้ชิด (The law of Proximity) เป็นการกล่างถึงว่าถ้าสิ่งใดหรือสถานการณ์ใดที่มีความใกล้ชิดกัน ผู้เรียนมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้แบบเดียวกัน 4. กฎแห่งการสิ้นสุด/ กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closure) สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพสมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม 2. การหยั่ง (Insight) หมายถึง การเรียนรู้ด้วยตัวเองโดยจะเกิดแนวความคิดในการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหาขึ้นอย่างฉับพลันทันทีทันใด (เกิดความคิดแวบขึ้นมาในสมองทันที)

กลุ่มจิตวิทยามนุษย์นิยม หลักการหรือความเชื่อของทฤษฎีมนุษย์นิยม คือ 1. มนุษย์มีธรรมชาติแห่งความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ 2. มนุษย์มีสิทธิในการต่อต้านหรือไม่พอใจในผลที่เกิดขึ้นจากสิ่งต่างๆ แม้สิ่งนั้นจะได้รับการยอมรับว่าจริง 3. การเรียนรู้ที่สำคัญที่สุดของมนุษย์คือการที่มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงแนวความคิด หรือมโนทัศน์ของตนเอง อัมบราฮัม มาสโลว

กลุ่มจิตวิทยามนุษย์นิยม กล่าวโดยสรุป ความเป็นมนุษย์และมองมนุษย์ว่ามีคุณค่า มีความดีงาม มีความสามารถ มีความต้องการ และมีแรงจูงใจภายในที่จะพัฒนาศักยภาพของตน หากบุคคลมีอิสรภาพและเสรีภาพ มนุษย์จะพยายามพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

แนวคิดที่สำคัญ แนวคิดที่สำคัญโรเจอร์สเชื่อว่า มนุษย์มีธรรมชาติที่ดีมีแรงจูงใจในด้านบวก เป็นผู้ที่มีเหตุผล (Rational) เป็นผู้ที่สามารถได้รับการขัดเกลา (Socialized) สามารถตัดสินใจเลือกวิถีชีวิตของตนเองได้ ถ้ามีอิสระเพียงพอ และมีบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ (Full Potential) และพัฒนาไปสู่ทิศทางที่เหมาะสมกับ ความสามารถของแต่ละบุคคล อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในตนเองอย่างแท้จริง (Self-Actualization) คาร์ล โรเจอร์ (Carl Rogers) ชาวอเมริกัน

ความสำคัญ โรเจอร์ เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีตัวตน 3 แบบ ตนที่ตนมองเห็น (Self Concept) ภาพที่ตนเห็นเองว่าตนเป็นอย่างไร มีความรู้ความสามารถ ลักษณะเพราะตนอย่างไ ร เช่น สวย รวย เก่ง ต่ำต้อย ขี้อาย การมองเห็นอาจจะไม่ตรงกับข้อเท็จจริง ตนตามที่เป็นจริง (Real Self) ตัวตนตามข้อเท็จจริง แต่บ่อยครั้งที่ตนมองไม่เห็นข้อเท็จจริง เพราะอาจเป็นสิ่งที่ทำ ให้รู้สึกเสียใจ ไม่เท่าเทียมกับบุคคลอื่น เป็นต้น ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนที่อยากมีอยากเป็น แต่ยังไม่มีไม่เป็นในสภาวะปัจจุบัน เช่น ชอบเก็บตัว แต่อยากเก่งเข้าสังคม เป็นต้น

สรุป กลุ่มมนุษยนิยมให้ความสำคัญของความเป็นมนุษย์และมองมนุษย์ว่ามีคุณค่า มีความดีงาม มีความสามารถ มีความต้องการ และมีแรงจูงใจภายในที่จะพัฒนาศักยภาพของตน หากบุคคลมีอิสรภาพและเสรีภาพ และมีแรงจูงใจภายที่จะพัฒนาศักยภาพของตน มนุษย์จะพยายามพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หากบุคคลมีอิสรภาพและเสรีภาพมนุษย์จะพยายามพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทฤษฏีและแนวคิดที่สำคัญ