ระบาดวิทยา เบื้องต้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ในช่วงเทศกาลสงกรานต์
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ระบาดวิทยา เบื้องต้น.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบาดวิทยา เบื้องต้น

ความเชื่อพื้นฐาน (Assumption) ปัญหาสาธารณสุข เช่น โรค ภัย ไข้ เจ็บ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องธรรมชาติ บางครั้งสมเหตุสมผลหรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่หลายๆครั้งไม่สมเหตุสมผล หรือ สามารถหลีกเลี่ยงได้(บ้าง) ปัญหาสาธารณสุข บางครั้งเกิดโดยบังเอิญ หรือหาคำอธิบายไม่ได้ แต่ส่วนใหญ่แล้วเกิดจากสาเหตุที่อธิบายได้ โดยเฉพาะหากเกิดขึ้นหลายๆรายในสถานที่และเวลาใกล้กัน (Cluster)

Origin of Field Epidemiology ผู้ป่วยเสียชีวิต 500 รายในเวลา 10 วัน จอห์น สโนว์ (John Snow)

วัตถุประสงค์การศึกษาทางระบาดวิทยา เพื่อทราบขนาดและการกระจายของโรคในชุมชน เวลา บุคคล สถานที่ เพื่อทราบสาเหตุของโรค เพื่อทราบธรรมชาติของการเกิดโรค ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค และวิธีการถ่ายทอดโรค เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการควบคุมและป้องกันการเกิดโรคในครั้งนี้และครั้งต่อๆไป

ระบาดวิทยา หมายถึงอะไร ระบาดวิทยา คือ การศึกษาการกระจาย และสิ่งกำหนด ของการเกิดโรคหรือปัญหาด้านสุขภาพ ในประชากร รวมถึงการใช้ประโยชน์จากความรู้นั้นในการป้องกันและควบคุมโรค (โดย John M. Last, 2001) “ความจริงของการเกิดโรคในประชากร”

การแก้ปัญหาสาธารณสุข จำเป็นต้องรู้ 1. ธรรมชาติของการเกิดปัญหาสาธารณสุขในประชากร 2. วิธีการควบคุมและป้องกันปัญหานั้นๆ วัตถุประสงค์ของระบาดวิทยา

ระบาดวิทยา สนใจอะไร จากความหมายของระบาดวิทยา... การเกิดโรค (Occurrence) การกระจาย (Distribution) สิ่งกำหนด (Determinants) การป้องกันและควบคุม (Prevention and Control)

หลักการเกิดโรค

องค์สามทางระบาดวิทยา(Epidemiologic Triad) Age Sex Genotype Health status Behaviour Nutritional status Host (คน) Agent (สิ่งก่อโรค) Environment (สิ่งแวดล้อม) Biological, chemical Infectivity Pathogenicity Virulence Antigenic stability Survival Weather Housing Geography Occupation Air quality Food

ภาวะสมดุลระหว่างองค์สามทางระบาดวิทยา Host- คน Agent- สิ่งก่อโรค Environment -สิ่งแวดล้อม

การเสียสมดุลก่อให้เกิดโรค เช่น Agent มากขึ้น Host- คน Agent สิ่งก่อโรค Environment -สิ่งแวดล้อม

การเสียสมดุลก่อให้เกิดโรค เช่น Host อ่อนแอ Agent -สิ่งก่อโรค Environment -สิ่งแวดล้อม

การเสียสมดุลก่อให้เกิดโรค เช่น สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน Host- คน Agent- สิ่งก่อโรค Host- คน Agent- สิ่งก่อโรค Environment -สิ่งแวดล้อม

ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบสามทางระบาดวิทยา โรคไข้หวัดนก Host Agent Environment

ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบสามทางระบาดวิทยา โรคไข้หวัดนก Host Agent H5N1 Environment

การถ่ายทอดโรค 1. ถ่ายทอดโรคโดยตรง คือการถ่ายทอดจากคนที่ติดเชื้อไปอีกคนหนึ่งโดยตรง เช่น การจูบ การมีเพศสัมพันธ์ การถ่ายเลือดหรือผ่านรก 2. ถ่ายทอดโรคโดยทางอ้อม คือต้องอาศัยตัวกลาง เช่น โดยวัตถุ (อาหาร น้ำ เสื้อผ้า) โดยแมลง 16

ธรรมชาติของการเกิดโรค หมายถึง การดำเนินโรคที่เกิดขึ้นในคน โดยที่ไม่มีการรักษาหรือการแทรกแซงใดๆ การเกิดโรคเริ่มจากการสัมผัสปัจจัยที่เป็นสาเหตุของโรค ถ้าไม่มีการรักษา โรคอาจจะจบลงด้วยการหาย,การพิการ,หรือการตาย 17

ธรรมชาติของการเกิดโรค การเปลี่ยนแปลง ในร่างกาย วินิจฉัยได้โดย วิธีการตรวจปกติ เริ่มมีอาการ (Onset) สัมผัสสาเหตุ ระยะมีภูมิไวรับ ระยะไม่มีอาการ ระยะป่วยมีอาการ ระยะหาย เรื้อรัง พิการ ตาย ก่อนปฐมภูมิ/ปฐมภูมิ= กำจัดปัจจัยเสี่ยง ก่อนการเกิดโรค เช่น วัคซีน สุขศึกษา ทุติยภูมิ= ตรวจ ให้รู้ก่อนการ- วินิจฉัยปกติ เช่น Pap Smear ตติยภูมิ= การรักษา และฟื้นฟูสภาพ เช่น การให้ยารักษา ฯ 18

ลักษณะการเกิดโรคในชุมชน Endemic disease : โรคที่พบอยู่ได้บ่อยๆในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง Sporadic : โรคที่เกิดขึ้นกระจัดกระจายไม่เฉพาะที่และมักจะเกิดทีละราย เช่น โรคบาดทะยัก โรคไอกรน Epidemic : ปรากฏการณ์การเพิ่มขึ้นของโรคอย่างผิดปกติในชุมชนและไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าในสถานที่หนึ่งและในช่วงเวลาหนึ่ง Pandemic : ลักษณะของโรคที่เกิดขึ้นในวงกว้าง เช่น เกิดทั่วประเทศ ระหว่างประเทศ 19

การเกิดโรค นิยามโรค (Definition) ขนาดปัญหา (Magnitude) ความรุนแรง (Severity)

นิยามโรค จำเป็นต้องมีเพื่อให้เข้าใจปัญหาตรงกัน ปรับปรุงได้เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน เช่น มีความรู้ใหม่ เทคโนโลยีการตรวจดีขึ้น แบ่งตามระดับของโอกาสในการเป็นโรค สงสัย (Suspected): ประวัติ อาการ ตรวจร่างกาย น่าจะเป็น (Probable): ระดับสงสัยที่มีผล Lab เบื้องต้น ยืนยัน (Confirmed): ระดับสงสัยหรือน่าจะเป็นที่มีผล Labยืนยัน

นิยามผู้ป่วยไข้หวัดนก ผู้ป่วยที่สงสัย (suspected) ไข้ ร่วมกับ Influenza like illness หรือ หายใจหอบเหนื่อย ร่วมกับ ประวัติเสี่ยง ประวัติการสัมผัสสัตว์ปีกที่ป่วย หรือ ตาย ในระยะเวลา 7 วัน มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้าน ในรอบ 14 วัน ประวัติสัมผัสผู้ป่วยปอดบวม ใน 10 วัน ผู้ป่วยที่น่าจะเป็น (Probable) เป็นผู้ป่วยสงสัย และ ตรวจพบการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ A หรือ มีอาการระบบหายใจล้มเหลว หรือ เสียชีวิต ผู้ป่วยยืนยัน (Confirm) เป็นผู้ป่วยสงสัย ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ กลุ่ม A (H5)

ขนาดปัญหา จำนวนผู้ป่วย (หรือจำนวนผู้เสียชีวิต) เข้าใจง่าย อัตราป่วย (หรืออัตราตาย) ใช้เปรียบเทียบระหว่างประชากรแต่ละกลุ่ม ตัวตั้ง คือ จำนวนผู้ป่วย ตัวหาร คือ จำนวนประชากรผู้มีโอกาสเกิดโรค (Population at risk) นิยมแสดงเป็นจำนวน ต่อ 100,000 ประชากร

โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ภาคเหนือ พฤษภาคม 2544 โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ภาคเหนือ พฤษภาคม 2544 อัตราป่วยสูงสุด 5 อันดับ จำนวนผู้ป่วย มัธยฐาน เดือนนี้ ไข้หวัดใหญ่ 123 183 ไข้เลือดออก 175 124 ชิคุนกุนยา 11 1 อุจจาระร่วง 49 0 อัตราป่วย/แสน

ชนิดของการบอกขนาดปัญหา อุบัติการ (Incidence) ผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง มักใช้กับโรคเฉียบพลัน (เป็นเร็วหายเร็ว) เช่น จำนวนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงในเดือน พ.ย. 2552 อัตราอุบัติการณ์ในช่วงการระบาด นิยมเรียก “Attack rate” ความชุก (Prevalence) ผู้ป่วย(ทั้งเก่าและใหม่)ที่ยังป่วยอยู่ ณ เวลาขณะใดขณะหนึ่ง มักใช้กับโรคเรื้อรัง (เป็นช้าหายช้า) เช่น จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน ณ วันที่ 1 ธ.ค. 2552

Incidence vs. Prevalence ป่วยรายใหม่ incidence ป่วยเก่า+ใหม่Prevalence ตาย หาย

ความรุนแรง (Severity) อัตราป่วยตาย (Case-fatality rate) จำนวนของผู้เสียชีวิตจากโรค ต่อ จำนวนผู้ป่วยโรคดังกล่าวทั้งหมด อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ภาระโรค (DALY) ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม

หลักการกระจายของโรค 28

การกระจาย (Distribution) ไม่ได้หมายถึง การกระจาย (แพร่) ของโรคจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง ซึ่งมักใช้คำว่า การถ่ายทอดโรค (Transmission) แทน ในทางระบาดวิทยา ดูลักษณะการกระจายตาม เวลา (Time): สถานที่ (Place) บุคคล (Person)

Time เกิดทุกปีหรือไม่ หรือหลายๆ ปีเกิดครั้งหนึ่ง (Secular trend)

Time มีความแตกต่างกันในแต่ละช่วงของปีหรือไม่ (Seasonal variation) 31

Time รูปแบบของการเกิดโรคบางครั้งสามารถอธิบายได้ โดยการศึกษาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหน้าการเกิดโรค 32

Time แสดงด้วย กราฟ (Histogram) แสดงจำนวนผู้ป่วยแยกตามวันเริ่มป่วย ซึ่งเรียกว่า Epidemic Curve กรณีเกิดการระบาดของโรค 33

ผู้ป่วยไข้หวัดนก H5N1 ตามวันเริ่มป่วย ประเทศไทย พ.ศ.2547-2549 (N=25) จำนวน (ราย) 2547 2548 2549 week ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

ที่มา: พญ.วรรธนา จินตฤทธิ์

Place เกิดขึ้นระหว่างประเทศ เกิดในพื้นที่เมือง หรือ ในชนบท เกิดในพื้นที่ที่เคยเกิดโรคมาก่อน หรือ พื้นที่ใหม่ เกิดในพื้นที่ใช้เขตแบ่งปกครอง แสดงด้วย Spot map หรือ Area map

Person อายุ เพศ อาชีพ ศาสนา การศึกษา เศรษฐกิจ พฤติกรรม เช่น อาหารที่กิน กิจกรรมร่วม ฯลฯ แสดงด้วย อัตราป่วยแยกตามกลุ่ม (Specific attack rate)

ตัวอย่าง: ลักษณะผู้ป่วยไข้หวัดนก H5N1 ในประเทศไทย ผู้ป่วยเด็ก (10 ราย): ชาย 9 ราย และ หญิง 1 ราย อัตราป่วยตาย (FR) 70% ผู้ป่วยผู้ใหญ่ (15 ราย): ชาย 7 ราย และ หญิง 8 ราย อัตราป่วยตาย (CFR) 67%

ตั้งสมมติฐาน: จากข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนาที่รวบรวมได้ การกระจายของโรค Cases ประเมินสถานการณ์จากข้อมูลระบาดวิทยา Pathogen? Source? Transmission? Person Place Time ตั้งสมมติฐาน: จากข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนาที่รวบรวมได้

สิ่งกำหนด (Determinants) หมายถึง สาเหตุหรือปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค/ปัญหาสาธารณสุข แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบหลัก (Epidemiological triads) คน (Host) ตัวก่อโรค (Agent) สิ่งแวดล้อม (Environment)

ผู้ป่วยโรคคางทูมกระจายตามห้องเรียนและวันเริ่มป่วย โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง พฤษภาคม-กันยายน 2542 (N = 38) NS 1 NS 2 1 / 1 1 / 2 3 / 2 3 / 1 Weekly interval 2 / 1 2 / 2 Kit. ผู้ป่วยเด็ก 1 ราย ผู้ป่วยผู้ใหญ่ 1 ราย ที่มา: ยงเจือ เหล่าศิริถาวร สำนักระบาดวิทยา

ทำไมจึงเกิดการระบาดของโรคคางทูมในโรงเรียน การมี Agent เข้าไปในพื้นที่ที่ไม่เคยมีมาก่อน Agent เพิ่มจำนวน หรือ ความรุนแรงมากขึ้น มีการถ่ายทอดโรค (Transmission) เพิ่มมากขึ้น มีความไวรับต่อการเกิดโรคมากขึ้น (susceptibility) สิ่งแวดล้อม เช่น อุณหภูมิเหมาะสม ปัจจัยอื่นๆ เช่น ความครอบคลุมวัคซีนต่ำ

หลักการป้องกันควบคุมโรค

ป้องกัน vs ควบคุม: แนวคิดในอดีต การป้องกัน (Prevention) ก่อนเกิดโรค เพื่อ... ไม่ให้เกิดโรค การควบคุม (Control) เกิดโรคแล้ว เพื่อ... ลดขนาดและความรุนแรง

การป้องกันโรค: แนวคิดในปัจจุบัน เกิดโรค แสดงอาการ มีความไวต่อการเกิดโรค ป่วยแต่ไม่แสดงอาการ ป่วยและมีอาการ ป้องกันปฐมภูมิ ป้องกันทุติยภูมิ ป้องกันตติยภูมิ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันเฉพาะโรค วินิจฉัยแรกเริ่มและรักษาทันที รักษาและฟื้นฟูสภาพ ลดอุบัติการณ์ ลดความชุก ลดความรุนแรง ลดการแพร่กระจาย ลดความชุก ลดความรุนแรง ลดการแพร่กระจาย ในปัจจุบัน...การป้องกันโรคมีความหมายครอบคลุมถึงการควบคุมโรคด้วย

ระบาดวิทยา หลักการป้องกันและควบคุมโรค แหล่งโรค/รังโรค คนที่มีความไวรับ / กลุ่มเสี่ยง เชื้อโรค / ปัจจัยเสี่ยง วิธีการถ่ายทอดโรค หลักการป้องกันและควบคุมโรค กำจัดแหล่งโรค / ปัจจัยเสี่ยง ตัดการ ถ่ายทอดโรค สร้างเสริม ความต้านทาน

กำจัดแหล่งรังโรค การรักษาผู้ป่วยและผู้ที่เป็นพาหนะโรค การแยกผู้ป่วย การเฝ้าระวังผู้สัมผัสโรค(ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วย) การควบคุมสัตว์รังโรค

ตัดการแพร่เชื้อโรค การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม (ขยะ ปฏิกูล น้ำเสีย น้ำดื่ม อาหาร) สุขอนามัยส่วนบุคคล การควบคุมแมงและสัตว์นำโรค การทำลายเชื้อโรค จำกัดการเคลื่อนย้ายของประชากร

การป้องกันผู้ที่มีความไวรับ การให้วัคซีน การป้องกันส่วนบุคล โภชนาการที่ดี การออกกำลังกาย

การป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนก สัตว์ปีก กลุ่มเสี่ยง : เกษตรกร, คนเลี้ยงไก่ชน, เด็ก H5N1 มูลสัตว์, สารคัดหลั่ง การล้างมือ การกำจัดซากสัตว์ที่ถูกวิธี สุขาภิบาลอาหาร กำจัดสัตว์ปีก วัคซีนในสัตว์ LAB รายงาน, สอบสวนโรค สุขศึกษา สวมชุดป้องกัน วัคซีนในคน

การประยุกต์ระบาดวิทยาเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุข ความสำคัญของปัญหา (ขนาดปัญหา ความรุนแรง) ติดตามประเมินผล (การดำเนินงาน ผลกระทบ) การกระจาย (บุคคล เวลา สถานที่ ) บริหารจัดการ Resource & Participation coverage compliance timeliness สาเหตุและปัจจัย (ระดับบุคคล ระดับสังคม) เลือกมาตรการแก้ปัญหา (Promotion, Prevention, Control, Treatment, Rehabilitation) ต้องทราบ Efficacy

ประโยชน์ของงานระบาดวิทยา ใช้ศึกษาดูการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายและแนวโน้มของการเกิดโรค เป็นแนวทางในการให้บริการสาธารณสุขทั้งทางด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัย และค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาการเกิดโรคเพื่อบอกวิธีการแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพ 53

กิจกรรมหลักทางระบาดวิทยา 1. การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ความปกติ ความผิดปกติ 2. การสอบสวนทางระบาดวิทยา ขอบเขตความผิดปกติ สาเหตุความผิดปกติ 3. การศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา ทดสอบสาเหตุความปกติ ทดสอบวิธีแก้ไขความผิดปกติ

การเฝ้าระวัง (Surveillance)

Definition of Surveillance An ongoing, systematic collection, analysis, and interpretation of health-related data essential to the planning, implementation, and evaluation of public health practice, closely integrated with the timely dissemination of these data to those responsible for prevention and control.

นิยามของการเฝ้าระวัง การติดตาม สังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของโรค หรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้ง ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ ประกอบด้วย การรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์แปลผล และกระจายข้อมูลข่าวสารสู่ผู้ใช้ประโยชน์ เพื่อการวางแผน กำหนดนโยบาย การปฏิบัติงาน และการประเมินมาตรการควบคุมป้องกันโรค อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

ขั้นตอนการเฝ้าระวังทางสาธารณสุข การเก็บข้อมูล (Collection) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) การแปลผล (Interpretation) การกระจายผลการเฝ้าระวัง (Dissemination) เป็นระบบ (Systematic) ต่อเนื่อง (Ongoing) กิจกรรม (Action)

Surveillance : General principles ด้านการดูแลรักษา ด้านสาธารณสุข ประเมินผล วิเคราะห์ แปรผล 506 SRRT เรื่องน่าเบื่อ Reporting Feedback ข้อมูลผู้ป่วย ฐานข้อมูล ตัดสินใจ action

แบบรายงาน 506/507 (84 โรค) 507 506 List of Diseases under surveillance Update Diagnosis lab. Data etc. Demographical data Clinical data 60

ประเภทของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance) : การรายงานเป็นปกติประจำตามระยะเวลาที่กำหนด (Routine reporting) เช่นระบบเฝ้าระวังด้วยบัตรรายงานผู้ป่วย แบบรายงาน 506 การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) : เป็นการค้นหาเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสที่จะได้ข้อมูลการเกิดโรคมากขึ้น เช่น ในช่วงการระบาดของโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง

ประเภทของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มเฉพาะพื้นที่ (Sentinel Surveillance) : การเลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะเฝ้าระวังเป็นตัวแทนของกลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาที่ต้องการเฝ้าระวังนั้นๆ เช่น HIV serosurveillance การเฝ้าระวังเฉพาะเหตุการณ์ (Special Surveillance) : เพื่อให้ได้ข้อมูลที่รวดเร็ว มีความน่าเชื่อถือ มีรายละเอียด และมีความจำเพาะเช่น กรณีการเฝ้าระวังในภาวะที่เกิดภัยธรรมชาติ เช่น การตั้งระบบเฝ้าระวังโรคหลังเกิดเหตุการณ์ สึนามิที่ภาคใต้

ตัวอย่างระบบเฝ้าระวังโรคที่รับผิดชอบ โดยสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ระบบเฝ้าระวัง 506 เริ่มปี พ.ศ.2513 HIV/AIDS Surveillance Refugee Camp Diseases Surveillance AEFI (Adverse Event Follow Immunization) surveillance Injury Surveillance ILI Surveillance 63

โรคสำคัญที่เฝ้าระวังและต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง Novel Influenza (H1N1), Avian Influenza (H5N1) SARS Cholera Acute severely ill or death of unknown etiology. Cluster of diseases with unknown etiology Anthrax Meningococcal meningitis Food poisoning outbreak Encephalitis Polio - AFP Severe AEFI Diphtheria Rabies

ปรากฏการณ์ ภูเขาน้ำแข็ง(ICEBERG PHENOMINON)

ICEBERG PHENOMINON

จะเฝ้าระวัง ใคร ? เฝ้าระวังการป่วย เฝ้าระวังผู้ป่วย(โรค) เฝ้าระวังกลุ่มอาการ เฝ้าระวังผู้ป่วย(อาการ) เฝ้าระวังการติดเชื้อ เฝ้าระวังผู้ติดเชื้อ เฝ้าระวังความเสี่ยง เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง

ธรรมชาติของโรคกับระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์ ขยาย ปัญหา มีอาการ ติดเชื้อ HIV คน ปกติ พฤติกรรมเสี่ยง เฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง ที่สัมพันธ์กับการ ติดเชื้อ HIV เฝ้าระวังการ ติดเชื้อ HIV เฉพาะพื้นที่ รายงาน ผู้ป่วย / ผู้ติดเชื้อที่ มีอาการ เฝ้าระวัง การติดเชื้อ จากแม่สู่ลูก

ประโยชน์ของระบบเฝ้าระวัง ตรวจจับการระบาดของโรค ติดตามสถานการณ์โรค พยากรณ์การเกิดโรค อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค ประเมินผลมาตรการควบคุมป้องกันโรค

Reported Cases of Mushroom Poisoning by Month, Thailand, 2000-2004 พยากรณ์การเกิดโรค Reported Cases of Mushroom Poisoning by Month, Thailand, 2000-2004 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

Reported Cases of Dengue Hemorrhagic Fever, Thailand, 1967-2004 พยากรณ์การระบาดของโรค Reported Cases of Dengue Hemorrhagic Fever, Thailand, 1967-2004 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

ตรวจจับการระบาด Reported Cases of Leptospirosis per 100,000 Population, Thailand,1995-2004 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

ใช้ติดตามแนวโน้มสถานการณ์โรค

Surveillance Information for action รวดเร็ว ถูกต้อง รายงานสถิติโรค

การสอบสวนการระบาดของโรค Outbreak Investigation

การระบาด (Outbreak/Epidemic) การระบาด คือ การมีผู้ป่วยจำนวนที่มากกว่าจำนวนปกติที่คาดหมาย ณ สถานที่ หรือในประชากร ที่ช่วงเวลาหนึ่ง การที่มีเหตุการณ์เกิดขึ้นในจำนวนมากกว่าปกติ เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยในช่วงเวลาเดียวกันในอดีต เช่น ค่ามัธยฐาน 5 ปี (median) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปในระยะเวลาอันสั้น หลังจากร่วมกิจกรรมด้วยกันมา ผู้ป่วยโรคใหม่ที่ไม่เคยพบในพื้นที่แม้แต่ 1 ราย

Endemic Vs. Epidemic No. of Cases of a Disease Epidemic Endemic Time

ชนิดของการระบาด แหล่งโรคร่วม (Common source outbreak) Point Intermittent Continuous แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak) แหล่งโรคผสมผสาน (Mixed source outbreak)

ทำไมต้องสอบสวนการระบาดของโรค เพื่อการควบคุมและป้องกันโรค ลดการป่วยและตาย ลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เป็นโอกาสในการวิจัย สร้างองค์ความรู้ใหม่ ประเมินระบบเฝ้าระวัง และมาตรการดำเนินการทางสาธารณสุขต่าง ๆ

โอกาสที่จะควบคุมการระบาดของโรค Cause (สาเหตุ) รู้ ไม่รู้ ควบคุมได้ ควบคุมได้ เช่น อหิวาตกโรคที่ลอนดอน มาตรการทั่วไป ปูพรม ควบคุมไม่ได้แน่นอน รอให้หยุดเอง รู้ Source (แหล่งโรค) ไม่รู้

เหตุการณ์จริง Days Opportunity for control 13 Primary Case 1st case at HC Report to DMO Samples taken Lab result Response begins Opportunity for control 13 Days

“อุดมคติ”- การออกสอบสวนเร็ว Primary Case Response begins จำนวนผู้ป่วยที่ป้องกันได้ Days 14

ขั้นตอนการสอบสวนโรค 1. เตรียมการปฏิบัติงานภาคสนาม 2. ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค 3. ตรวจสอบยืนยันการระบาด 4. กำหนดนิยามผู้ป่วยเพื่อค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม 5. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา -ตาม เวลา สถานที่ บุคคล 6. สร้างสมมุติฐานการเกิดโรค 7. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ -เพื่อทดสอบสมมุติฐาน 8. ทำการศึกษาเพิ่มเติม ถ้าจำเป็น 9. ควบคุมและป้องกันโรค 10. นำเสนอผลการสอบสวน

จำนวนผู้ป่วย Botulism ตามวันเริ่มป่วย วันที่ 14-17 มีนาคม 2549 (N=137) ระยะฟักตัวสั้นสุด 2 ชั่วโมง งานเลี้ยง 330 คน

Investigation of SARS in Hong Kong, 2003

ของฝากกลับบ้าน

ระบาดวิทยาคืออะไร การศึกษา การเกิดโรค ประชากร ควบคุม ป้องกันโรค SRRT นิยาม: Suspected, Probable, Confirmed ขนาด: Incidence, Prevalence ความรุนแรง ควบคุม ป้องกันโรค การเกิดโรค ประชากร Primary Secondary Tertiary การกระจายของโรค บุคคล, เวลา, สถานที่ ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค Host, Agent, Environment SRRT

ด้านการดูแลรักษา ด้านสาธารณสุข การเฝ้าระวัง ด้านการดูแลรักษา ด้านสาธารณสุข Information for action ประเมินผล วิเคราะห์ แปรผล 506 SRRT เรื่องน่าเบื่อ Reporting Feedback ข้อมูลผู้ป่วย ฐานข้อมูล รายงานสถิติโรค ตัดสินใจ action

การสอบสวน ยืนยันการระบาดและการวินิจฉัย ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมและระบาดวิทยาเชิงพรรณนา Magnitude,Time, place, person ประชากรเสี่ยง และ สมมติฐาน ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ การศึกษาเพิ่มเติมด้านสิ่งแวดล้อม ห้องปฏิบัติการ การสื่อสารและควบคุมป้องกัน การติดตามผลการดำเนินการ

ปรากฏการณ์ ภูเขาน้ำแข็ง(ICEBERG PHENOMINON)

ขอบพระคุณ นพ. คำนวณ อึ้งชูศักดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค นพ. โสภณ เอี่ยมศิริถาวร สำนักระบาดวิทยา พญ. ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สำนักระบาดวิทยา อ. วันชัย อาจเขียน สำนักระบาดวิทยา