ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประจำ 10 รวม 35 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ 2 (1. นางศรินทร์ เจริญผล.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
แนวทางการสนับสนุนงบบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค (PPA-PPD) เพื่อ สนับสนุนนโยบายทีมหมอครอบครัว (FCT) ปี 2558 เขต 9 นครราชสีมา งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิและเวชปฏิบัติครอบครัว.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ และกรอบการบริหารงบค่าบริการ ปี ๒๕๕๙ ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
รายงานและการบันทึกข้อมูล Functional + SpecialPP
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการ เกษตรอย่างยั่งยืน
ระบบรายงานและกลไกการเบิกจ่ายเงิน LTC
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การดำเนินงานการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และ การดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ หรือผู้พิการตำบลขี้เหล็ก โดย.
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นายวีระชัย ก้อน มณี ผช.ผอ.สปสช.เขต๙ นครราชสีมา
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
จินตนา แววสวัสดิ์ สปสช.เขต 5 ราชบุรี
ค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปี 2562
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
รูปแบบเงินกองทุนประกันสังคม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช.
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ นายอัษฎาวุธ สาระสิทธิ์ หัวหน้างาน สปสช. เขต 6 ระยอง Tel : 084-544-1004 E-mail : Adsadawut.s@nhso.go.th

2560 (จำนวน 900 ล้านบาท) 150 ลบ. 750 ลบ. ซื้อบริการ Day Care ผส. อายุติดสังคม ผส. อายุติดบ้าน/ติดเตียง

สรุปประเด็นสำคัญ (คำนิยาม) ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๑ ให้เพิ่มบทนิยามดังต่อไปนี้ “ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า ผู้สูงอายุ หรือบุคคลอื่นๆที่มีคะแนน ประเมินความสามารถในการดำเนิน ชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า ๑๑ คะแนน ซึ่งแบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม (ติด บ้าน ๒ กลุ่ม ติดเตียง ๒ กลุ่ม) และมีสิทธิ ได้รับบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิ ประโยชน์ในเอกสารแนบท้าย

สรุปประเด็นสำคัญ (คำนิยาม) ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ “การบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า การบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ใน เอกสารแนบท้าย ที่เป็นการให้บริการ ณ ครัวเรือน หรือที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุในชุมชน หรือที่หน่วยบริการ หรือที่ สถานบริการ ที่ให้บริการดูแลระยะยาวด้าน สาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง โดยบุคลากรสาธารณสุขหรือผู้ช่วยเหลือดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

สรุปประเด็นสำคัญ(คำนิยาม) ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน” หมายความว่า ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการ หรือศูนย์ที่มีชื่ออย่างอื่นตาม ข้อ ๗(๓) ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น หรือที่คณะอนุกรรมการตามข้อ ๘/๑ เห็นชอบ

สรุปประเด็นสำคัญ(คำนิยาม) ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ “ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า บุคคล(Care giver) ที่ผ่านการอบรมตาม หลักสูตรที่คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการ ดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือคณะอนุกรรมการอื่นภายใต้ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เห็นชอบ

สรุปประเด็นสำคัญ ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๕/๑ และข้อ ๕/๒ ของประกาศฯ พ.ศ. ๒๕๕๗ “ข้อ ๕/๑ นอกจากเงินหรือทรัพย์สินในกองทุน หลักประกันสุขภาพตาม ข้อ ๕ แล้ว ให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อม ความเหมาะสม ซึ่งได้แสดงความจำนงเข้าร่วม และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เห็นชอบ ได้รับเงินเพิ่มจากกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ในส่วนค่าบริการสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามที่ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กำหนด

สรุปประเด็นสำคัญ ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ เงินที่ได้รับตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นเงินหรือ ทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ แต่ให้ เปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร(ธ.ก.ส.) ชื่อ “บัญชีกองทุน หลักประกันสุขภาพ (....ชื่อองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น) เพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะ พึ่งพิง” แยกออกจากบัญชีกองทุน หลักประกันสุขภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น ค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการบริการดูแล ระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มี ภาวะพึ่งพิง ทั้งนี้ภายใต้บังคับของ ข้อ ๗/๑ และ ให้สามารถใช้ในปีงบประมาณถัดๆ ไปได้

สรุปประเด็นสำคัญ ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ “ข้อ ๕/๒ ให้เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามข้อ ๕ สามารถใช้ในปีงบประมาณ ถัดๆไปได้ และสามารถนำไปใช้เป็น ค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ทั้งนี้ภายใต้บังคับของ ข้อ ๗/๑ ได้”

สรุปประเด็นสำคัญ ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๗/๑ ของ ประกาศฯ พ.ศ.๒๕๕๗ “ข้อ ๗/๑ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามข้อ ๕/๑ และข้อ ๕/๒ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการดูแลระยะยาวด้าน สาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตาม ชุดสิทธิประโยชน์ และอัตราที่กำหนดใน เอกสารแนบท้ายของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุในชุมชน หรือหน่วยบริการ หรือสถาน บริการ ที่จัดบริการดูแลระยะยาวด้าน สาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ คณะอนุกรรมการตามข้อ ๘/๑ เห็นชอบ ทั้งนี้ กรณีที่ใช้เงินกองทุนตามข้อ ๕/๑ และ ข้อ ๕/๒ ให้คณะอนุกรรมการรายงานให้คณะกรรมการ กองทุนทราบ

สรุปประเด็นสำคัญ ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้จ่ายเป็น ค่าตอบแทนของบุคลากรที่เกี่ยวข้องตาม อัตราที่หน่วยงานที่จัดบริการกำหนดได้ และ รวมถึงจ่ายเป็นค่าตอบแทนของผู้ช่วยเหลือ ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในอัตราที่ แตกต่างกันได้ตามอัตราที่หน่วยงานที่ จัดบริการกำหนดหรือตามที่คณะอนุกรรมการ ตามข้อ ๘/๑ กำหนดหรือเห็นชอบ แต่ต้องไม่ เกินค่าแรงขั้นต่ำที่รัฐบาลกำหนด”

(แทรก) สาระสำคัญ ข้อ ๗/๑ ๑. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพที่นำมาใช้ คือ ข้อ ๕/๑ และข้อ ๕/๒ ๒. ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการดูแล ระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุที่มีภาวะ พึ่งพิงตามชุดสิทธิประโยชน์และอัตราที่กำหนดใน เอกสารแนบท้าย ๓. หน่วยที่มีสิทธิขอรับเงิน ๓.๑ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หรือ ๓.๒ หน่วยบริการ หรือ ๓.๓ สถานบริการ ๔. ให้คณะอนุกรรมการตามข้อ ๘/๑ เห็นชอบ ๕. ให้คณะอนุกรรมการรายงานให้คณะกรรมการกองทุน ทราบ ๖. นำไปจ่ายเป็นค่าตอบแทนของบุคลากร ทีมหมอ ครอบครัว, CM และ CG ได้ ประกาศคณะกรรมการหลัก

สรุปประเด็นสำคัญ ในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๘/๑ ของ ประกาศฯ พ.ศ.๒๕๕๗ “ข้อ ๘/๑ ให้คณะกรรมการกองทุน แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการชุดหนึ่งชื่อ “คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแล ระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” มี หน้าที่พิจารณาจัดหา กำหนดอัตราการชดเชย ค่าบริการ และเห็นชอบให้ศูนย์พัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หรือหน่วยบริการ หรือ สถานบริการ เข้าร่วมจัดบริการดูแลระยะยาว ด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามข้อ ๗/๑ เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ได้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์และอัตราที่ กำหนด ในเอกสารแนบท้าย โดยให้มี องค์ประกอบอย่างน้อย ดังต่อไปนี้

สรุปประเด็นสำคัญในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑) ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรปกครองท้องถิ่นหรือ ประธานอนุกรรมการ ผู้บริหารอื่นที่ได้รับมอบหมาย (๒) ผู้แทนกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ (๒ คน) อนุกรรมการ (๓) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลของรัฐในพื้นที่ หรือผู้แทน (๑ คน) อนุกรรมการ (๔) สาธารณสุขอำเภอในพื้นที่หรือผู้แทน (๑ คน) อนุกรรมการ (๕) หัวหน้าหน่วยบริการปฐมภูมิของรัฐในพื้นที่ (๑ คน) อนุกรรมการ (๖) ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขใน พื้นที่ (๑ คน) อนุกรรมการ (๗) ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (๑ คน) อนุกรรมการ (๘) ปลัดองค์กรปกครองท้องถิ่นหรือ อนุกรรมการและเลขานุการ เจ้าหน้าที่อื่นที่ได้รับมอบหมาย (๑ คน)

สรุปประเด็นสำคัญในประกาศฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๙ ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ (นายปิยะสกล สกลสัต ยาทร) รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุข ประธานกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ

เอกสารแนบท้าย ประกาศคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ชุดสิทธิประโยชน์ และ อัตราการชดเชย ค่าบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มี ภาวะพึ่งพิง (เหมาจ่าย/ราย/ปี) (รายละเอียดตามประกาศฯ)

(แทรก) สิทธิประโยชน์และอัตราที่กำหนดในเอกสารแนบท้าย ๑.ประเภทของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง จำแนกออกเป็น ๔ ประเภท ประกาศคณะกรรมการหลัก

(แทรก) สิทธิประโยชน์และอัตราที่กำหนดในเอกสารแนบท้าย ๒.ประเภทและกิจกรรมบริการ ( ชุดสิทธิประโยชน์) ๑. ประเมินก่อนให้บริการและวางแผนการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (Care Plan) ๒. ให้บริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข โดยบุคลากรสาธารณสุข(ทีมหมอครอบครัว)(กิจกรรม รูปแบบการให้บริการ และความถี่ในการให้บริการขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงแต่ละรายเป็นสำคัญ ) ๓. บริการดูแลที่บ้าน/ชุมชนและให้คำแนะนำแก่ญาติและผู้ดูแล โดยผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ(caregiver) หรือเครือข่ายสุขภาพอื่นๆหรืออาสาสมัคร จิตอาสา(กิจกรรม รูปแบบการให้บริการ และความถี่ในการให้บริการขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงแต่ละรายเป็นสำคัญ ตามคำแนะนำ/มอบหมายของบุคคลากรวิชาชีพ ๔. จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ (อุปกรณ์การแพทย์และอุปกรณ์เครื่องช่วยอาจได้รับจากสิทธิบริการอื่นๆ เช่น จาก อปท. หรือสถานบริการสาธารณสุข หรือ ภาคเอกชน) ๕. ประเมินผลการดูแลและปรับแผนการให้บริการ ประกาศคณะกรรมการหลัก

(แทรก)สิทธิประโยชน์และอัตราที่กำหนดในเอกสารแนบท้าย ๓. อัตราชดเชยค่าบริการ (เหมาจ่าย/ราย/ปี) กลุ่มที่ ๑ เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ ๒ เหมือนกลุ่มที่ ๑ แต่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ ๓ เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง กลุ่มที่ ๔ เหมือนกลุ่มที่ ๓ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต ไม่เกิน ๔,๐๐๐ บาท/คน/ปี ๓,๐๐๐ – ๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี ๔,๐๐๐ – ๘,๐๐๐ บาท/คน/ปี ๕,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ ๔. สนับสนุนแก่หน่วยจัดบริการ แบบเหมาจ่าย/ ราย/ปี ประกาศคณะกรรมการหลัก

ค่าตอบแทน / case / เดือน ตัวอย่าง...การกำหนดอัตราค่าตอบแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุ Care giver : CG (50 บาท/ชม.) กลุ่ม จำนวนชั่วโมง / ครั้ง จำนวนครั้ง / เดือน ค่าตอบแทน / ชม. ค่าตอบแทน / case / เดือน ค่าตอบแทน / case / ปี กลุ่มติดบ้าน  1 จำนวน 1.30 ชม. ต่อ 1 ครั้ง อย่างน้อย 2 สัปดาห์ ต่อ 1 ครั้ง ค่าตอบแทน ชม. ละ 50 บาท 150 1,800 (จำนวน 2 ครั้ง, คิดเป็น 3 ชม./เดือน) กลุ่มติดบ้าน  2 จำนวน 1.30 ชม. ต่อ 1 ครั้ง จำนวน 1 ครั้ง ต่อ สัปดาห์ 300 3,600 (จำนวน 4 ครั้ง, คิดเป็น 6 ชม./เดือน) กลุ่มติดเตียง  3 กลุ่มติดเตียง  4 จำนวน 2 ชม. ต่อ 1 ครั้ง อย่างน้อยสปดาห์ละ 2 ครั้ง 800 9,600 (จำนวน 8 ครั้ง, คิดเป็น 16 ชม./เดือน)

รูปแบบการสนับสนุนงบ LTC ปี 2560 -จ่ายค่าตอบแทน (เบิกจ่ายตามประกาศฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 -จ่ายค่าวัสดุทางการแพทย์ 2. ขอรับการสนับสนุนงบ LTC โดย หน่วยบริการ -จ่ายค่าตอบแทน (เบิกจ่ายตามแนวทาง กระทรวงสาธารณสุข)

รูปแบบการดำเนินงานระบบ LTC หน่วยบริการ ผู้ช่วยเหลือดูแล ผส. FCT/CG CM Care Plan จัดสรรงบประมาณ ตาม จำนวน ผส. (ที่มีภาวะพึ่งพิง) ADL: <=11 x 5,000/ราย FCT/CG กองทุนมีบทบาทเป็นผู้ซื้อบริการ : ตามมติอนุกรรมการ LTC Care Plan ผู้ช่วยเหลือดูแล ผส. บทบาทหน้าที่ อนุกรรมการ LTC 1. พิจารณาจัดหาผู้จัดบริการ 2. กำหนดอัตราการชดเชยค่าบริการ -ค่าตอบแทน CM/CG/FCT -ค่าวัสดุการแพทย์ที่จำเป็นตามสภาพของ ผส. 3. เห็นชอบให้ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หรือหน่วยบริการ หรือสถานบริการ เข้าร่วมจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับ ผส. (LTC) ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผส. (LTC center) CM/CG

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หมายถึง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน จัดตั้ง โดย อปท. หรือร่วมกับ พม. ศูนย์ที่มีชื่ออื่นตาม ประกาศฯ พ.ศ. 2557 ข้อ 7(3) ซึ่งจัดตั้งโดย อปท. หรืออนุกรรมการ LTC ตามประกาศฯ พ.ศ. 2559 ข้อ 8/1 เห็นชอบ

แนวทางการสนับสนุนงบกองทุนฯ ตามประกาศฯ พ.ศ. 2557 ข้อ 7 (3) และประกาศฯ พ.ศ. 2559 (ฉบับที่ 2) ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผส. กองทุนตำบล 45 บ. จัดกิจกรรม Day care ซื้อบริการ : ตามมติ คกก. กองทุนฯ จัดกิจกรรม ส่งเสริม/ป้องกัน จัดกิจกรรม Home care กองทุน LTC 5,000 บ. ซื้อบริการ : ตามมติอนุกรรมการ LTC ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผส.

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขอรับงบ LTC เสนอโดยหน่วยบริการหรือสถานบริการ หรือศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โครงการการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง แบบข้อเสนอการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง -ส่วนที่ 1 ข้อเสนอ -ส่วนที่ 2 แผนการดูแล (Care Plan) รายบุคคล -ส่วนที่ 3 : ผลการพิจารณา 3. ข้อตกลงการสนับสนุนงบประมาณฯ LTC 4. มติคณะอนุกรรมการ LTC หมายเหตุ : เสนอปรับปรุง/เพิ่มเติมประกาศฯ LTC ในระเบียบกองทุนฯ

แบบฟอร์มตัวอย่างเสนอขอรับงบ LTC 1 โครงการเสนอขอรับงบ

แบบฟอร์มตัวอย่างเสนอขอรับงบ LTC 2 แบบเสนอขอจัดบริการ

แบบฟอร์มตัวอย่างเสนอขอรับงบ LTC 3 ข้อตกลง (MOU)

แบบฟอร์มตัวอย่างเสนอขอรับงบ LTC 4 ระเบียบกองทุนฯ

เวปไซด์ดาวน์โหลดคู่มือ LTC http://www.nhso.go.th/ เมนู กองทุนต่างๆ กองทุนระบบ การดูแลระยะยาวฯ (LTC) ดาวน์โหลดเอกสาร คู่มือ LTC

ขั้นตอนการเปิดรับสมัคร อปท. ร่วมดำเนินงาน LTC ปีงบประมาณ 2561 อปท. ประสานหน่วยบริการ ในพื้นที่ในการสำรวจและประเมินผู้สูงอายุ อปท. ส่งแบบแสดงความจำนงเข้าร่วมดำเนินการ ให้ สปสช. อปท. เปิดบัญชี เพื่อรับงบประมาณ และส่งให้ สปสช. อปท. (โดย คกก. กองทุนสุขภาพตำบล) แต่งตั้ง อนุกรรมการ LTC คณะอนุกรรมการ พิจารณาเบิกจ่ายเงินตาม Care plan (ชุดสิทธิประโยชน์) 1 2 3 4 5 เมษายน – มิถุนายน 60 กรกฎาคม 60 หมายเหตุ : อาจมีการเปิดรับสมัครพื้นที่ อปท. เพิ่มเติม ในปี 60

ระบบการรายงานการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง Saturday, November 24, 2018 ระบบการรายงานการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care : LTC) Internet ข้อมูลหน่วยงาน ข้อมูลการเงิน ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูล CM, CG ข้อมูลลงพื้นที่ ระบบรายงาน 34 อปท./หน่วยจัดบริการ สปสช. ผู้เกี่ยวข้อง

ติดต่อประสานงาน นายอัษฎาวุธ สาระสิทธิ์ หัวหน้างาน สปสช. เขต 6 ระยอง Tel : 084-544-1004 E-mail : adsadawut.s@nhso.go.th