งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช.
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช.

2 ที่มา : ความสำคัญ จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระดับปานกลางถึงทั้งหมดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ ๒. ศักยภาพของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ ถดถอยลง จากขนาดครอบครัวที่เล็กลง การเคลื่อนย้ายแรงงานจากชนบทสู่เมือง การทำงานนอกบ้านของสตรี ระบบบริการสาธารณสุขและบริการด้านสังคมที่ผ่านมาอยู่ในลักษณะตั้งรับ สามารถให้บริการหลักแก่กลุ่มที่ไม่มีภาวะพึ่งพิง สำหรับกลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิง บริการมีจำกัด และมักเป็นในรูปการสงเคราะห์เป็นครั้งคราว ไม่ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ รัฐบาลได้ให้งบค่าบริการ LTC ด้านการแพทย์ สำหรับผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน ๖๐๐ ล้านบาท ครอบคลุมร้อยละ ๑๐ ของกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่

3 สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ไทย และโลก
หน่วย: เปอร์เซ็นต์ ผลการประมาณการโดย UN ระบุว่าประเทศ ไทยมีอัตราผู้สูงอายุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก ในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ เป็นต้นมา ที่มา: Population Division of the Department of Economic and Social Affairs of the United Nations Secretariat, World Population Prospects: the 2010 Revision,

4 ทางเลือกการออกแบบระบบ LTC
Hospital based มีศักยภาพ ความพร้อมในการจัดการและบริการด้านการแพทย์ ไม่ครอบคลุมสิทธิประโยชน์บริการด้านสังคม การบูรณาการกับงานอื่นและหน่วยงานอื่นมีข้อจำกัด ภาระทางการเงินสูงมาก (๔๐๐ บาทx๓๖๕ วัน = ๑๔๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี) Community based มีกองทุน matching fund ของ อปท.กับ สปสช.ทุกตำบลทั่วประเทศ ประสบการณ์ ๘ ปี บูรณาการได้ทั้งบริการด้านการแพทย์และด้านสังคม แนวโน้ม อปท.มีบทบาทและงบประมาณเพิ่มมากขึ้น ภาระทางการเงินไม่สูง ( ๑๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี) สรุป ใช้ Community based เป็นหลักภายใต้การสนับสนุนทางวิชาการและบริการจาก Hospital based

5 หลักสำคัญในการออกแบบระบบ
๑. เน้นบูรณาการด้านบริการสาธารณสุขและบริการด้านสังคมในระดับพื้นที่ (ตำบล/หมู่บ้าน/ครอบครัว) ๒. คำนึงถึงความยั่งยืนและเป็นไปได้ของงบประมาณระยะยาวในอนาคต ๓. สนับสนุนให้ อปท. (เทศบาล/อบต.) เป็นเจ้าภาพหลักในการบริหารระบบ ผ่านทางระบบการบริหารของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.ภายใต้การสนับสนุนของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่

6 หลักสำคัญในการออกแบบระบบ
๔. พัฒนาและขยายระบบบริการ LTC โดยมีผู้จัดการ Care Manager (พยาบาล หรือนักกายภาพบำบัด หรือนักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ) และอาสาสมัคร Care giver ที่ผ่านการฝึกอบรมและขึ้นทะเบียนดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเชิงรุกในพื้นที่ ๑ : ๑๐ คน โดยได้รับค่าตอบแทนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. ที่มีอยู่แล้วภายใต้การบริหารของ อปท.

7 สรุปภาพรวมกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.
จัดสรร45 บาท/คน สมทบ > 30-60%

8 กองทุนหลักประกันฯ อบต.เทศบาล
โครงการสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ตั้งแต่ปี รวม 625,386 โครงการ กองทุนหลักประกันฯ อบต.เทศบาล ผู้ใหญ่ 93,857 โครงการ เอดส์ 5,919 โครงการ เบาหวาน/ความดัน 55,937 โครงการ หัวใจ 1,728 โครงการ มะเร็ง 28,297โครงการ อนามัยแม่และเด็ก 47,650 โครงการ สุขภาพวัยเรียน/วัยรุ่น ,850 โครงการ สุขภาพผู้สูงอายุ 59,565 โครงการ คนพิการ 22,991 โครงการ

9 ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพึงในพื้นที่ ปี ๒๕๕๙ (จำนวน ๖๐๐ ล้านบาท) ๑๐๐ ลบ.(on top) บริการ LTC ในหน่วยบริการ สธ. ซื้อบริการ ๕๐๐ ลบ. เครือข่าย รพ.และรพ.สต. กองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. สปสช. พม. มหาดไทย สสส. สช. สวรส. เอกชน สนับสนุนบริการ LTC ในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผส. บริการเชิงรุกที่ศูนย์ฯ Care manager Care givers บริการเชิงรุก ที่บ้าน บริการเชิงรุกที่บ้าน ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หมายเหตุ ชุดสิทธิประโยชน์บริการ LTC ด้านสาธารณสุขตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ การดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงฯ หรือ สปสช.กำหนด

10 ชุดสิทธิประโยชน์บริการ LTC เชิงรุกในพื้นที่
บริการด้านสาธารณสุข เช่น - บริการการตรวจคัดกรอง ประเมินความต้องการดูแล - บริการดูแลที่บ้าน บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค, - บริการกายภาพบำบัด, บริการกิจกรรมบำบัด และอุปกรณ์เครื่องช่วยทางการแพทย์ ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือ สปสช. กำหนด ๒. บริการด้านสังคม เช่น บริการช่วยเหลืองานบ้าน การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน , บริการ อุปกรณ์ช่วยเหลือทางสังคม ,กิจกรรมนอกบ้าน และอื่นๆ

11 ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
บทบาท/หน้าที่ - จัดทำข้อมูลและแผนดูแลกลุ่มเป้าหมายเป็นรายคน - ฝึกอบรม (In service training) และบริหาร Care giver ให้บริการเชิงรุก - ให้บริการ Day care (ฟื้นฟูและกิจกรรมบำบัด) ๒. มี Care manager (พยาบาล/นักกายภาพ/นักสังคมสงเคราะห์) และ Care giver (อาสาสมัครผ่านหลักสูตรฝึกอบรมตามมาตรฐาน)

12 เป้าหมายการดำเนินงานใน ๓ ปี (ทั่วประเทศ)
ปีที่ ๑ (ปี ๒๕๕๙) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ๑๐% ประมาณ ๑,๐๐๐ พื้นที่ (เทศบาลหรือ อบต. ขนาดใหญ่ และกรุงเทพมหานคร) ดูแล ๑๐๐,๐๐๐ ราย ปีที่ ๒ (ปี ๒๕๖๐) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ๕๐% ประมาณ ๕,๐๐๐ เทศบาล/ตำบล และ ๕๐๐,๐๐๐ ราย ปีที่ ๓ (ปี ๒๕๖๑) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ๑๐๐% หรือ ทุกเทศบาล/ตำบล ประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ราย

13 หลักเกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย ปี ๒๕๕๙(ประมาณ ๑๐๐๐ แห่ง ครอบคลุมเทศบาล หรือ อบต. ของทุกอำเภอ และกรุงเทพมหานคร) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง (ทุกอำเภอ) และ อบต.ขนาดใหญ่ที่พร้อมเข้าร่วม ประมาณ ๙๐๐-๑,๐๐๐ แห่ง ๑.๑ พื้นที่ที่มีการนำร่องดำเนินงาน LTC ของหน่วยงานต่างๆ เช่น สธ. สสส. พม. เป็นต้น ๑.๒ พื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.เกรด A+,A ๒. กรุงเทพมหานคร (ทุกศูนย์บริการสาธารณสุข) ประมาณ ๕๐-๑๐๐ พื้นที่

14 ตัวชี้วัดด้านกระบวนการดำเนินงานในพื้นที่
บทบาทของหน่วยบริการปฐมภูมิ ๑.๑ มีบริการ LTC ภายในหน่วยบริการ ๑.๒ มีทีมหมอครอบครัวให้บริการ LTC เชิงรุกในพื้นที่รับผิดชอบ (เริ่มจาก สำรวจและทำ Care plan ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในพื้นที่เป็นรายคน และจัดบริการโดยได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.) ๑.๓ มีการให้การสนับสนุนระบบบริการ LTC ของ อปท. ในพื้นที่ ๒. บทบาทของ อปท.ในการจัดการระบบบริการ LTC ๒.๑ มีการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. ตามหลักเกณฑ์ที่ ประกาศอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ มีการจัดระบบและสนับสนุนให้บริการ LTC ในพื้นที่ร่วมกับหน่วยบริการ ปฐมภูมิและเครือข่ายในพื้นที่ (ซื้อบริการ) ตามแผนการบริการ LTC ของกลุ่มเป้าหมายเป็นรายคน (Care plan) ๒.๓ มีการสนับสนุนการจัดบริการ LTC ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุในชุมชน (ถ้าพร้อม)

15 ตัวชี้วัดด้านผลผลิตในภาพรวม
ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงระบบบริการสุขภาพ สัดส่วนผู้ดูแลผู้สูงอายุเมื่อเทียบกับจำนวนสูงอายุ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ๓. จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลตามแผนการดูแล รายบุคคล (Care plan) ที่มีระดับคะแนน ADL ดีขึ้น จากกลุ่มติดเตียงเป็นติดบ้านและกลุ่มติดบ้านเป็น กลุ่มติดสังคม (ตัวชี้วัดระดับพื้นที่)

16 ประชาชนเป็นเจ้าของระบบหลักประกันสุขภาพ ...สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ รักษาการเลขาธิการ สปสช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google