CAN I WALK ? CANNON
Functional outcome for complete injury SCI C1 – C3 : ventilator dependent power W/C with head or mouth control
C3 – C4 : may be ventilator free independently operate adjustable bed
C5 : C6 – C7 : C8 – T1 : independence ADL with special equipment power W/C with hand control may push manual W/C for short distance C6 – C7 : more independence ADL with special equipment can use manual W/C for daily activities can independently transfer, press.relief, turn in bed C8 – T1 : can live independently without assistive device
T2 – T6 : T7 – L1 : increased ability for ADL in sitting independence ADL in sitting
Respiratory management Lesion above C4 : ventilator dependent Lesion below C4 : may be ventilator free Paraplegia (T1 Lesion and below ) : weakness abdominal muscle People with lesions below T12 have normal respiratory function
Respiratory management Weakness of intercostal and abdominal muscle Tidal volume Vital capacity Common complication Atelectasis Secretion obstruction Pneumonia Respiratory failure Ineffective cough
ระมัดระวังในผู้ป่วยที่ยังต้องใส่อุปกรณ์ประคองกระดูกสันหลังอยู่ กายภาพบำบัดทำอะไร ?? Secretion clearance Postural drainage Chest percussion, vibration Suction Breathing exercise Diaphragmatic breathing exercise Abdominal weight exercise Inspiratory muscle training Assisted cough ระมัดระวังในผู้ป่วยที่ยังต้องใส่อุปกรณ์ประคองกระดูกสันหลังอยู่
Maintain ROM and positioning ผู้ป่วย SCI มักเกิดภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ได้ เป็นความผิดปกติของระบบประสาทสั่งการ ที่ทำให้กล้ามเนื้อมี tone มากกว่าปกติ Spasticity ในผู้ป่วยบางรายอาจทำให้เกิดประโยชน์กับผู้ป่วย เช่น การเกิด spastic ของ flexor tendon of digits ของ SCI C6 สามารถนำมาช่วยกำมือโดยเทคนิค Tenodesis effect หรือ Spastic ของ SCI ต่ำกว่า L2 อาจช่วยในการยืน เดิน ได้
กายภาพบำบัด ทำอะไร ?? Positioning ช่วยลดเกร็ง และป้องกันข้อยึดติด กล้ามเนื้อที่มักพบการเกร็ง คือ Hip flexor, Hip adductor, Plantarflexor Passive range of motion exercise and Passive stretching exercise
Passive range of motion exercise กรณีที่กล้ามเนื้อมี tone เป็น flaccidity หรือเป็น mild spasticity ควรทำ passive ROM ทุกท่า ท่าละ 10 – 15 ครั้ง วันละ 2 – 3 รอบ เพื่อคงสภาพการเคลื่อนไหวของข้อต่อและกล้ามเนื้อไม่ให้ยึดติดหรือผิดรูป กรณีกล้ามเนื้อเกร็งกระตุก หรือเกิด shortening ให้ทำ prolonged stretching กล้ามเนื้อนั้นประมาณ 10 – 15 วินาที หรือจนกว่าอาการเกร็งจะลดลง ทำสม่ำเสมอ
Rehabilitation phase จะเริ่มเข้าสู่ rehabilitation phase เมื่อ clinical stable ก่อน โดยระหว่างนี้เราสามารถให้คนไข้ได้ฝึกลงน้ำหนักบน Tilt table ฝึก component ต่างๆ เพื่อให้คนไข้สามารถทำ functions ตามความสามารถสูงสุดที่ควรทำได้ Bed mobility Gross motor function Transfer Ambulation Strength Endurance Cardiovascular fitness Gait training Wheelchair ambulation
Ambulation Wheelchair ambulation Gait training with gait aids
Wheelchair ambulation ข้อบ่งชี้ว่าต้องใช้เก้าอี้ล้อเข็น ผู้ป่วยอัมพาตที่ระดับสูงกว่า L1 Complete lesion/ incomplete ASIA class B หรือ C ไม่มีภาวะ orthostatic hypotension ไม่มีข้อห้ามในการใช้เก้าอี้ล้อเข็น
Wheelchair ambulation ประเมินทักษะการบังคับรถ เข็นทางตรง ทางโค้ง เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา เลี้ยววงแคบ กรณีที่มีการทรงตัวดีและมีทักษะการใช้เบื้องต้นแล้ว ให้เพิ่มการประเมินการเก็บของจากพื้น เข็นข้ามขอบประตู เข็นข้ามขอบทาง เข็นทางลาด การกระดกรถและทรงตัวบนล้อหลัง
Gait training with gait aids ปัจจัยบ่งชี้ว่ามีโอกาสเดินได้ คือ incomplete lesion การรับความรู้สึกแหลม และมีกำลังกล้ามเนื้อของ key muscles ของขารวมกันได้ตั้งแต่ 20 ขึ้นไป เช่น central cord syndrome หรือ incomplete lesion ASIA class C หรือ D มีความสามารถในการทรงตัวระดับ “ดี” ขึ้นไป ระดับพยาธิสภาพต่ำว่า T11 ผู้ที่มีกำลังกล้ามเนื้องอสะโพก ทั้งสองข้างและกล้ามเนื้อเหยียดเข่า 1 ข้าง กำลังกล้ามเนื้ออย่างน้อยระดับ 3
Ambulation with gait aids Step training to WALK Sit to stand Standing balance Shift weight Ambulation with gait aids
Click ตรงนี้
“When we have hope, we discover power within ourselves we may never have known – the power to make sacrifices, to endure, to heal and to love. Once we choose hope, everything is possible” Christopher Revee C2 SCI survivor