GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
Advertisements

สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
จัดทำโดย ด. ช. กรธวัช นนทนาคร ม.1/4 เลขที่ 1 ด. ช. ไชยภัทร ธรรมเพียร ม.1/4 เลขที่ 4 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ Next.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชาคมอาเซียน.
ประวัติเมืองเชียงเหียน
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
ศาสนาคริสต์111
ชุมชนปลอดภัย.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ไฟฟ้า.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ธงชาติประเทศในอาเซียน
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
ระบบเศรษฐกิจ.
รายงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรม
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
หลุยส์ ปาสเตอร์.
ความสัมพันธ์จีน - เมียนมา: แนวโน้มการลงทุนจากต่างประเทศ
6. อุตสาหกรรม ยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศมีประชากรผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
แผนที่กรีกโบราณ. แผนที่กรีกโบราณ ไอโอเนียน เอเคียน และดอเรียน จึงได้อพยพเข้าไปอยู่ในแหลมกรีก ตามลำดับ ชาวกรีกเป็นพวกอินโด – ยูโรเปียน ซึ่งมีหลักแหล่งดั้งเดิมอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำดานูบ.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ลำดับเวลาของเปาโล LAMP.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
วิชา สังคมไทยในบริบทโลก
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ระบบวรรณะ Caste System ( Varna )
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP Northern Asia GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

Desert Social & Economy

ประชากรในไซบีเรีย ดินแดนไซบีเรียนเป็นดินแดนที่กว้างใหญ่ไพศาลมาก แต่เป็นดินแดนที่มีสภาพอากาศที่หนาวเย็นจัดเกือบตลอดทั้งปี จึง เป็นบริเวณมีประชากรอาศัยอยู่อย่างเบาบางมาก ดินแดนไซบีเรียเดิมเป็นที่อยู่คนชนหลายกลุ่ม เช่น พวกฮั่น(Hun) พวกอุยกูร์(Uyghurs) เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชนผิวเหลือง(มองโกลอยด์) ในช่วงศตวรรษที่ 13 พวกมองโกลเข้ายึดครอง จนต่อมา ศตวรรษที่ 17 จักรวรรดิรัสเซียได้แข็งแกร่งและขยายอิทธิพลครอบครองจากฝั่งยุโรปมาทางตะวันออกมายังดินแดนไซบีเรีย และ ดินแดนไซบีเรียถูกปกครองเป็นดินแดนของรัสเซียตั้งแต่นั้นมา โดยในช่วงแรก ๆ ดินแดนไซบีเรียถูกใช้เป็นที่เนรเทศนักโทษของรัสเซีย เพราะเป็นดินแดนที่มีผู้คนไม่มากจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นจัด ต่อมาเมื่อมีการสร้างทางรถไฟการสร้างทางรถไฟสายทรานส์ไซบีเรียที่ถูกสร้างขึ้น ในสมัยพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 ปีค.ศ. 1891-1905 ซึ่งเชื่อมโยงดินแดนรัสเซียตะวันตก(ฝั่งยุโรป)และรัสเซียตะวันออก(ไซบีเรีย)เข้าด้วยกัน อันทำให้มีผู้เข้ามาอาศัยในไซบีเรียตะวันออกมากขึ้นทั้งชาวรัสเซียจากยุโรปเองที่เริ่มเข้ามาอาศัยอยู่ ซึ่งต่อมาได้มีการสำรวจและพบว่าดินแดนไซบีเรียเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากมาย ที่สำคัญ มีการตั้งเขตอุตสาหกรรมในไซบีเรียมากขึ้น สมัยที่เป็นสหภาพโซเวียต

ในระหว่างกลางศตวรรษที่ 20 ดินแดนหลายแห่งของไซบีเรียถูกพัฒนากลายเป็นเขตนิคมอุตสาหกรรมขึ้นทั่วทั้งเขตเนื่องด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่ห่างไกลจากรัสเซียฝั่งยุโรปมาก รวมไปถึงสภาพทางเศรษฐกิจที่แตกต่าง จึงทำให้เกิดการแบ่งเขตเศรษฐกิจตั้งแต่ ค.ศ. 1960 ในสมัยอดีตสหภาพโซเวียต ดินแดนไซบีเรียมีทรัพยากรทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ทั้งป่าไม้ พันธุ์พืช รวมไปถึงแร่ธาตุต่างๆ น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ ปัจจุบัน เขตเศรษฐกิจไซบีเรีย เป็นเขตอุตสาหกรรมที่สำคัญของสหพันธรัฐรัสเซีย อันเป็นผลมาจากความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุในไซบีเรียตะวันออกนั่นเอง