การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Advertisements

Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
EC451 International Trade Theory and Policy
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
บริการทางการเงินของ ธสน.
โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านในประเทศอาเซียนกับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
1. 2 สถานะโครงการสำคัญในปีงบประมาณ 2559 พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย ส่งมอบ 10 โครงการ 1,384 หน่วย อยู่ระหว่างก่อสร้าง จะแล้วเสร็จ.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
The Brief (global) History of the Un-sustainabilities
Managerial Accounting for Management
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
กฤษณ์พชร โสมณวัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ
การเงินระหว่างประเทศ
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
การค้าระหว่างประเทศ International Trade
กฎหมายการค้าของเอกชนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
การใช้เครื่องมือการจัดการในองค์การภาครัฐ
The Theory of Comparative Advantage: Overview
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
The Faculty of International Studies
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ขั้นตอนการร้องเรียน.
Globalization and the Law
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
ระเบียบวาระการประชุม
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
สิทธิรับรู้ของประชาชน
เรื่อง การปรับปรุงค่าตอบแทนภาคราชการ
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
The Theory of Comparative Advantage: Overview
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ....
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และ 801
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
International Commercial Terms
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
History M.4 Chapter 3 Ancient in Thai Territory
ของรายงานการทำโครงงาน
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ผศ.ดร. พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Outlines การค้าระหว่างประเทศ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ธุรกิจระหว่างประเทศ กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ การเงินระหว่างประเทศ กฎหมายการเงินระหว่าง ประเทศ

การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษา 1. ทฤษฎีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Theory of Absolute Advantage) 2. ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Theory of Comparative Advantage)** 3. มีทฤษฎียุคใหม่อีกมากมายที่ได้รับการพัฒนาจากสองทฤษฎีแรก

การค้าระหว่างประเทศ แนวคิดของสองทฤษฎีแรก: สองทฤษฎีแรกมีแนวคิดคล้ายกันคือ เป็นแนวคิดที่สนับสนุนการค้าเสรี โดยใช้ หลักการ ว่าแต่ละประเทศไม่ควรผลิตสินค้าทุกชนิดที่ตนต้องการบริโภค แต่ควรมุ่ง ผลิตแต่ สินค้าที่ตนได้เปรียบ (ผลิตได้ด้วยต้นทุนต่ำ) และนำเข้าสินค้าที่ตน เสียเปรียบ (ผลิตได้ด้วยต้นทุนสูง) ซึ่งจะทำให้เกิดการแบ่งงานกันทำ (Division of Labor) และผล ที่ตามมาคือความชำนาญ (Specialization) ซึ่งจะทำให้ผลผลิตของโลกสูงขึ้น ใช้ ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ทั้งสองทฤษฎีได้นิยามความหมาย ของ การได้เปรียบแตกต่างกัน (นิยามของต้นทุนการผลิตแตกต่างกัน) ซึ่งจะ ให้ผลที่ได้แตกต่างกันตามไปด้วย

การค้าระหว่างประเทศ สมมติฐานที่สำคัญของสองทฤษฎีแรก 1. มีเพียงสองประเทศในโลก และทั้งสองประเทศใช้นโยบาย การค้าเสรี 2. แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตชนิดเดียว และมีลักษณะและคุณภาพ เหมือนกันทั้งหมด 3. ผลิตสินค้าเพียงสองชนิด 4. ไม่มีค่าขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 5. ฯลฯ

การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Theory of Absolute Advantage) Adam Smith: ประเทศควรส่งออกสินค้าที่ตนได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (ใช้ ต้นทุนการผลิตน้อยกว่า) และนำเข้าสินค้าที่ตนเสียเปรียบโดยสมบูรณ์ ดังนั้น ประเทศจะได้ประโยชน์จากการค้าถ้าตนมีสินค้าที่ได้เปรียบโดยสมบูรณ์มากกว่า ประเทศคู่ค้า นอกจากนั้น การค้าระหว่างประเทศจะไม่เกิดขึ้นถ้าประเทศไม่มี สินค้าที่ตนได้เปรียบโดยสมบูรณ์เลย ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) ตามทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติภายใน ระบบเศรษฐกิจจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อการผลิตและการค้าระหว่างประเทศตั้งอยู่บน พื้นฐานความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของระบบเศรษฐกิจนั้นๆ ซึ่งความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ หมายถึงความสามารถของประเทศใดประเทศหนึ่งในการผลิตสินค้าและบริการด้วยต้นทุนที่ตํ่ากว่า ประเทศอื่นๆ โดยทฤษฎีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (The Principle of Absolute Advantage) ของ Adam Smith ได้กล่าวไว้ว่า การค้าระหว่างประเทศจะช่วยให้ประเทศคู่ค้าทั้งสองได้ประโยชน์มากขึ้น ทั้งสองฝ่ายก็ต่อเมื่อแต่ละประเทศมุ่งผลิตเฉพาะสินค้าที่ตนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ (Specialization) แล้วนำ มาแลกเปลี่ยนกัน แต่ก็เกิดคำ ถามขึ้นว่าถ้าประเทศหนึ่งไม่มีความได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ในการ ผลิตสินค้าชนิดใดเลยเมื่อเทียบกับอีกประเทศหนึ่งจะสามารถทำ การค้าระหว่างประเทศได้หรือไม่

การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Theory of Comparative Advantage) David Ricardo : ประเทศควรส่งออกสินค้าที่ตนได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (ใช้ต้นทุนการผลิตโดยเปรียบเทียบน้อยกว่า) และนำเข้าสินค้าที่ตนเสียเปรียบโดย เปรียบเทียบ ดังนั้น แม้ว่าประเทศหนึ่งๆอาจมีต้นทุนการผลิตสูงกว่าประเทศคู่ค้าทุก ชนิด (สินค้าทุกชนิดเสียเปรียบโดยสมบูรณ์) แต่ประเทศนั้นยังสามารถได้รับ ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศโดยผลิตและส่งออกสินค้าที่ตนได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบ เพราะเป็นไปไม่ได้ว่าจะมีประเทศใดที่มีสินค้าที่เสียเปรียบโดย เปรียบเทียบทุกชนิด David Ricardo ได้เสนอทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (The Principle of Comparative Advantage) เพื่อตอบคำ ถามข้างต้น โดยมีแนวคิดว่าการค้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นได้ เมื่อประเทศทั้งสองมีความแตกต่างเชิงเปรียบเทียบในต้นทุนการผลิต (Comparative Cost) อย่างไรก็ ตามแนวคิดนี้ไม่สามารถหาสาเหตุของความแตกต่างเชิงเปรียบเทียบในต้นทุนการผลิตได้

การค้าระหว่างประเทศ เป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการซึ่งเกิดขึ้นในอาณาเขตระหว่างประเทศ สาเหตุที่ทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ ประเทศมีทรัพยากรแตกต่างกัน แรงงานมีความชำนาญแตกต่างกัน ประเทศผลิตสินค้าแต่ละชนิดโดยเสียต้นทุนแตกต่างกัน ประเทศมีรสนิยมในการบริโภคแตกต่างกัน (Silk Road, Spice Trade)

Silk Road (red) and spice trade routes (blue) Picture Source: https://en.wikipedia.org/wiki/Spice_trade History of Silk Road, Spice Trade

Source: http://geology.com/world/world-map.shtml

China’s proposal on New Silk Road Former Sri Lankan President Mahinda Rajapaksa, right, with Chinese President Xi Jinping during their meeting in Colombo, Sri Lanka, on Sept.16, 2014. Xi was visiting countries in South Asia to seek closer relations and support for his vision of a modern maritime “Silk Road”, a sea route connecting China with Europe. (AP Photo/Eranga Jayawardena) Source: http://www.forbes.com/sites/ckgsb/2015/04/08/mapping-chinas-new-silk-road-initiative/ Recommended Website: http://www.wsj.com/articles/chinas-new-trade-routes-center-it-on-geopolitical-map-1415559290

การค้าระหว่างประเทศ ข้อดี/ข้อเสียของการค้าระหว่างประเทศ ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ -ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตได้อย่างเต็มที่ - ส่งเสริมการออมและการลงทุน ภายในประเทศมากขึ้น - มีการแข่งขันของผู้ประกอบการมากขึ้น -ประชาชนมีสินค้าบริโภคหลากหลายขึ้น -ช่วยบรรเทาปัญหาด้านการคลังของรัฐบาล ปัญหาที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ -ปัญหาการขาดดุลการค้า -ปัญหาด้านอัตราการค้า -ปัญหาการเลียนแบบการบริโภค

การค้าระหว่างประเทศ การ ค้า ระหว่าง ประเทศ จึงหมายถึง การส่งสินค้าออกไปขายต่าง ประเทศ (exports)และ การนำสินค้าเข้ามาจำหน่ายในประเทศ (imports)การ ค้า ระหว่าง ประเทศ มีความแตกต่าง และ มีความสลับซับซ้อนมากกว่าการค้าภายใน ประเทศ การค้าระหว่างประเทศภายใต้พิธีการทางการค้าที่ ยุ่งยากมากกว่าการค้าภายใน ประเทศ เพราะ ผู้ซื้อ และ ผู้ขาย อยู่คนละประเทศกัน ต้อง มี การเคลื่อนย้าย สินค้า จากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่ง ที่มา: สราวุธ ปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

Source: http://www.yangshuo-hostel.com/market.htm

Source: http://www.europas.irtea.gr/?page_id=186

Youtube clip International Trade Supply Chains

กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับ การค้า ระหว่างประเทศ เป็น กฎหมาย ทั้ง ที่ เป็น กฎหมาย ใน ประเทศ ผู้ ส่งออกสินค้ากฎหมายภายในของประเทศผู้นำเข้าสินค้าตลอดจน ความ ตกลง ระหว่าง ประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับ การ ค้าระหว่างประเทศ ใน เรื่อง ต่างๆ ได้แก่ การ ซื้อ ขาย ระหว่าง ประเทศ การชำระ เงิน ตามสัญญาซื้อขายระหว่าง ประเทศ การขนส่งระหว่างประเทศ การประกันภัยทางทะเล และ การระงับ ข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ

การลงทุนระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการ มาจาก การค้าระหว่างประเทศ เมื่อได้มีการ จัดตั้งหน่วยการผลิต หรือ บริการขึ้นในต่าง ประเทศ การลงทุน อาจหมายรวมถึง การเข้าไปพัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภค โดยบริษัทต่างชาติในประเทศต่างๆ ที่มา: สราวุธ ปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

Source: http://www. nationmultimedia

นายจุฬา สุขมานพ ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/annual_meet/56/G4/Yearend2013G4_jula.pdf

Source: http://uk. reuters

กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายภายใน ของ ประเทศ ที่ เกี่ยวข้อง ความตกลงระหว่างรัฐ ที่ เกี่ยวกับการลงทุน โดย เฉพาะ ในเรื่อง สิทธิ ประโยชน์ และ ข้อจำกัดเกี่ยวกับการลงทุนสัญญาการลงทุน ระหว่างประเทศ การถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างประเทศ และ การระงับข้อพิพาททางการ ลงทุน

ธุรกิจระหว่างประเทศ ด้วยเหตุที่กฎหมายไม่มี คำจำกัดความ คำว่าธุรกิจ ระหว่างประเทศ (international business หรือ international business transactions) ไว้ โดย เฉพาะดังนั้น การ พิจารณาความ หมายของคำว่า “ ธุรกิจระหว่างประเทศ ” จึงควรทำการศึกษาคำว่า “ธุรกิจ” (business) และระหว่างประเทศ (international) ก่อน โดยคำว่า “ธุรกิจ” หมายถึงการผลิต (production) การจำหน่าย (distribution) และ การให้บริการ (services) ที่มา: สราวุธ ปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

ธุรกิจระหว่างประเทศ หรือ อีก นัย หนึ่ง “ ธุรกิจ ” หมายถึง การอุตสาหกรรม การพาณิชยกรรม และ การ บริการ “การอุตสาหกรรม” หมายถึง การผลิตสินค้า และ สิ่งของ ต่างๆ เช่น การ ผลิต รถจักรยานยนต์ การผลิตเครื่องจักร เป็นต้น ส่วนการพาณิชยกรรม หมาย ถึง การค้า หรือ การจำหน่าย สินค้า และ สิ่งของต่างๆ ที่ ผลิตขึ้นมา แล้ว และ “การบ ริกา ร” หมาย ถึงการให้บริการหลังการจำหน่ายสินค้า หรือ สิ่งของ ต่างๆ เช่น การ ให้ คำแนะนำในการใช้ การซ่อมแซม รวมถึงการ ให้ บริการ ทาง ด้านวิชาชีพ เช่น กฎหมาย บัญชี ตลอดจน การขนส่ง การประกันภัย เป็นต้น ที่มา: สราวุธ ปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

ส่วน คำ ว่า “ระหว่างประเทศ ” หมายถึงข้าม พรมแดน จาก ประเทศ หนึ่ง ไป ยัง อีก ประเทศหนึ่ง การข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ นี้ อาจ เป็นการ ข้าม พรมแดน ระหว่าง ประเทศ ฉะนั้น คำว่า ธุรกิจระหว่างประ เทศ (international business หรือ international business transactions) จึงหมายถึง กิจกรรม ทางด้านการผลิต การจำหน่าย และ การให้บริการ ที่มีการ ข้ามพรมแดน ระหว่าง ประเทศ จากประเทศ หนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง หรือ อีกนัย หนึ่ง“ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ” หมาย ถึง การค้าและการพาณิชย์ ทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับการ หมุนเวียน หรือ เปลี่ยนมือของสินค้า การ บริการ ทุนเงินตรา ตลอดจนเทคโนโลยี ข้าม พรมแดนระหว่างประเทศ ที่มา: สราวุธ ปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

Source: http://philippinesbusinessprocessoutsourcing. blogspot

กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประ เทศ ” (international business law หรือ legal aspects of international business transactions) จึงหมาย ถึงกฎหมาย ที่ใช้ บังคับกับ การประกอบ ธุรกิจ ข้าม พรมแดน ระหว่าง ประเทศ อัน ประกอบ ด้วยกฎหมายทางการค้าการขนส่ง การลงทุน การเงิน และ การถ่ายทอดเทคโนโลยี ระหว่างประเทศ หรือ อีกนัยหนึ่ง เป็น กฎหมายซึ่งใช้ บังคับกับการค้า และ การพาณิชย์ ทั้งปวง ที่เกี่ยวข้อง กับ การ หมุนเวียน หรือ เปลี่ยน มือ ของสินค้า การบริการ ทุนเงินตรา ตลอดจน เทคโนโลยี ข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ ฉะนั้น กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ จึง เป็น กฎหมาย ที่ กว้าง และ ครอบคลุม ถึง กฎหมายภายในสาขา ต่างๆ หลาย สาขา ที่มา: สราวุธ ปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

การเงินระหว่างประเทศ ทุน (capital) จาก แหล่ง ทุนต่างประเทศ เพื่อใช้ใน การค้า หรือ การลงทุน ภายใน ประเทศโดย เฉพาะ การกู้ยืมเงินระหว่าง ประเทศแหล่ง การกู้ยืมเงิน ระหว่าง ประเทศที่สำคัญ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ หรือ สถาบันการเงินใน ต่างประเทศ ธนาคาร หรือ สถาบันเงินกู้ระหว่าง ประเทศ เช่น ธนาคารโลก ส่ง ออก (export credit) ใน ต่างประเทศ และ การกู้ยืมเงินจากตลาดเงิน ต่างๆ เช่น ตลาดเงินตรายุโรป Eurocurrency ตลาด เงินตราดอลลาห์ US Dollars ตลาดเงินหยวน ที่มา: สราวุธ ปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

Source: http://graduateinstitute

กฎหมายการเงินระหว่างประเทศ การ ศึกษา กฎหมาย ที่ เกี่ยวข้องกับการเงินระหว่างประเทศ ได้แก่ การศึกษา ถึง ระเบียบ และ การปฏิบัติ ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับ การเงิน ข้ามประเทศ ใน รูปแบบ ต่างๆ เช่น กฎหมาย ที่ เกี่ยวข้อง กับ การ กู้ ยืม เงิน ระหว่าง ประเทศ (international loan) การ ออก พันธบัตร เงิน กู้ (bond issues) ใน ต่าง ประเทศ การ กู้ ยืม เงิน จาก กลุ่ม ผู้ให้กู้ (syndication) การกู้ยืมเงินตามโครงการ (project finance) กฎหมายการป้องกันการฟอกเงิน

ตัวอย่างการนำเงินเข้าออกประเทศ ผู้ โดยสารสามารถนำเงินตราไทย-เงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยการชำระเงินตราต่าง ประเทศเข้ามาหรือออกไป นอกราชอาณาจักรไทยได้ตามมูลค่าที่กฎหมายกำหนด โดยไม่ต้องขออนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนี้ เงินไทย ผู้ โดยสารสามารถนำติดตัวเดินทางไปต่างประเทศได้ คนละไม่เกิน 50,000 บาท ยกเว้นนำออกไปยังประเทศที่มี พรมแดนติดกับประเทศไทย เช่น พม่า สปป ลาว เขมร มาเลเซียและเวียดนาม นำออกได้คนละไม่เกิน 500,000 บาท ในกรณี การนำเข้า ผู้โดยสารสามารถนำเงินตราไทยนำเข้าได้ไม่จำกัดมูลค่า หากผู้โดยสารต้องการนำเงินตรา ไทยออกนอกราชอาณาจักรมูลค่าเกินกว่าที่กฎหมาย กำหนด ต้องขออนุญาตธนาคารแห่งประเทศไทย และ นำ หลักฐานการได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธต.5) มาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากร ณ ท่าอากาศยานระหว่าง ประเทศในขณะเดินทางออกนอกประเทศ เงินตราต่างประเทศ บุคคล ใดๆที่นำเงินตราต่างประเทศที่เป็นธนบัตรหรือเหรียญกษาปณ์ออกไปนอกหรือเข้ามา ใน ราชอาณาจักร โดยมีมูลค่ารวมกันเกินกว่า 20,000 ดอลล่าร์สหรัฐ หรือเทียบเท่า ต้องสำแดงรายการเงินตรา ต่างประเทศนั้นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ศุลกากร ณ ขณะผ่านด่านศุลกากร หากไม่สำแดงหรือสำแดงรายการไม่ถูกต้องมี ความผิดทางอาญา ที่มา http://internet1.customs.go.th/ext/Traveller/TravellerInfo.jsp

ตัวอย่าง ธนาคารแห่งประเทศไทย_ “ข้อควรทราบเกี่ยวกับระเบียบควบคุมการ แลกเปลี่ยนเงิน”  https://www.bot.or.th/Thai/FinancialMarkets /ForeignExchangeRegulations/ResearchandPu blications/DocLib1/ ข้อควรทราบเกี่ยวกับระเบียบควบคุมการ แลกเปลี่ยนเงิน.pdf

จงอธิบายความแตกต่างของ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ กฎหมายการเงินระหว่าง ประเทศ

Active Learning Class- “Lawyers and works in international business laws, investment laws, trade law and financial laws”

แต่ละกลุ่ม อธิบายลักษณะ ความสำคัญของสาขากฎหมายที่ ตนอยากเป็น แบ่งกลุ่มเป็น 3-4 กลุ่ม ให้แต่ละ กลุ่มเลือกสาขากฎหมายที่กลุ่ม ตนอยากจะเป็น แต่ละกลุ่ม อธิบายลักษณะ ความสำคัญของสาขากฎหมายที่ ตนอยากเป็น แต่ละกลุ่ม นำเสนออาชีพที่อยากจะ ทำตามกฎหมายที่ตนอธิบาย พร้อม ทั้งให้เหตุผล