การพัฒนาตลาดสด น่าซื้อ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นายสุวิศิษฎ์ ช่างทอง งานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ศูนย์อนามัยที่ 6
TOPICS [Today] บทบาทหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น ภายใต้ พรบ.การสาธารณสุข 2535 มาตรฐานตลาสด น่าซื้อ แนวทางการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาตลาด (อยากให้ผู้อบรมวันนี้แจ้งท้องถิ่นเพิ่มความเข้มข้นในการตรวจให้ได้ตามมาตรฐานปีละ 2 ครั้ง)
บทบาทหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น ภายใต้ พรบ.การสาธารณสุข 2535 บทบาทหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น ภายใต้ พรบ.การสาธารณสุข 2535 ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น เพื่อใช้บังคับในเขตอำนาจของท้องถิ่น ออกใบอนุญาตและหนังสือรับรองการแจ้ง ออกคำสั่งในการปรับปรุงแก้ไข หรือหยุดกิจการ ออกคำสั่งในการพักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาต ตรวจตราดูแลกิจการต่าง ๆ
พรบ.การสาธารณสุข 2535 ให้อำนาจ ราชการส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนด ในเรื่อง ... สุขลักษณะของตลาด (ม.35) สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร (ม.40)
พรบ.การสาธารณสุข 2535 ให้อำนาจ ราชการส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนด ในเรื่อง... แบบหนังสือรับรองการแจ้ง วิธีการแจ้ง การขอใบแทน การออกใบแทน หลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไข การขอและการออกใบอนุญาต การต่อใบอนุญาต ใบแทนและการออกใบแทนใบอนุญาต อัตราค่าธรรมเนียม (รายละเอียดอ.ใบเฟิรน์)
มาตรฐานตลาดสด น่าซื้อ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านอาหารปลอดภัย ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
๑. ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม (Environmental Health) สุขลักษณะทั่วไปของตลาด (ความสูงของแผง) การจัดการมูลฝอย(ถังขยะ ที่พักขยะ) การจัดหาน้ำดื่ม น้ำใช้ การจัดการน้ำเสีย (รางระบาย บ่อดักไขมัน)
ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม(ต่อ) (Environmental Health) 5. การจัดการสิ่งปฏิกูล(ห้องน้ำ ไม่ HAS แต่ขอให้สะอาดมีที่ล้างมือ สบู่ น้ำใช้เพียงพอ) 6. การป้องกัน การควบคุมสัตว์และแมลงพาหะนำโรค(เน้นการป้องกันหนู แมลงวัน) 7. การจัดการบริหารด้านสิ่งแวดล้อม 8. สุขวิทยาส่วนบุคคลของผู้ขาย/ผู้ช่วยขายของ
๒.ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จัดให้มีเครื่องชั่งกลางที่ได้ มาตรฐานไว้บริการผู้บริโภค ในตลาดอย่างน้อย 1 จุด และติดป้ายบอกไว้ชัดเจน
ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จัดให้มีตู้แสดงความคิดเห็นจากประชาชน (ข้อ 35) จัดให้มีบอร์ดให้ความรู้แก่ผู้บริโภค
ด้านความปลอดภัยอาหาร แผงขายอาหารในตลาดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
ด้านความปลอดภัยอาหาร ตรวจไม่พบ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สารฆ่าแมลง (ไม่พบ/หรือตรวจพบในเกณฑ์ที่ปลอดภัย) สารเร่งเนื้อแดง
ด้านความปลอดภัยอาหาร
กลยุทธ์ในการพัฒนาตลาด สู่การเป็น......ตลาดสด น่าซื้อ
แนวทางในการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาสถานที่จำหน่าย/สะสมอาหาร 1. การตรวจประเมินเพื่อรับรองสถานประกอบการ 2. การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ 3. สร้างและพัฒนาเครือข่ายในการทำงาน 4. การประกาศเกียรคิคุณ กิจกรรมรณรงค์
เพื่อรับรองสถานประกอบการ ๑. การตรวจประเมิน เพื่อรับรองสถานประกอบการ
การจัดพิธีมอบป้ายสัญญลักษณ์ / การจัดมหกรรมอาหาร การตรวจแนะนำตามมาตรฐานการรับรอง เช่น ตลาดสด น่าซื้อ 3 ดาว หรือ 5 ดาว ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ออกเอกสารรับรอง ประกาศนียบัตร, ป้ายสัญญลักษณ์ ให้คำแนะนำเพื่อปรับปรุงแก้ไข จัดทำทะเบียนสถานประกอบการ การจัดพิธีมอบป้ายสัญญลักษณ์ / การจัดมหกรรมอาหาร
๒. การพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบกิจการ
การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการ จัดอบรมผู้ประกอบกิจการ ผู้สัมผัสอาหาร ให้มีความรู้เรื่องมาตรฐาน ข้อปฎิบัติ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง จัดทำและส่งเสริมการติดบัตรผู้สัมผัสอาหาร จักทำทะเบียนผู้ผ่านการอบรม ส่งเสริม/จัดตั้งชมรม : ชมรมผู้ประกอบการตลาด / ชมรมผู้ขาย จัดการศึกษาดูงาน / กิจกรรมสร้างสัมพันธ์ เป็นต้น
การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการตลาด / ผู้ขายของในตลาด
๓. การสร้างและพัฒนาเครือข่าย
โครงการพัฒนาตลาดสดวิถีไทย สร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค ThemeGallery is a Design Digital Content & Contents mall developed by Guild Design Inc. ThemeGallery is a Design Digital Content & Contents mall developed by Guild Design Inc.
โครงการพัฒนาตลาดสดวิถีไทย สร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค เพิ่มพื้นที่ตลาดสดวิถีไทย กรมอนามัยให้ งบประมาณนำร่อง 30,000 บาท ThemeGallery is a Design Digital Content & Contents mall developed by Guild Design Inc.
โครงการพัฒนาตลาดสดวิถีไทย สร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค
ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย ตรวจเยี่ยมตลาดเสรี
๔. การประกาศเกียรติคุณ กิจกรรมรณรงค์
ภาพกิจกรรมการตรวจเยี่ยมตลาดสด
ภาพกิจกรรมการตรวจเยี่ยมตลาดสด
ระบบงานด้านสุขาภิบาลอาหาร 1. กระบวนงานรับรองสถานประกอบการ 2. กระบวนงานพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ 3. กระบวนงานร้องเรียน 4. กระบวนงานเฝ้าระวัง 5. กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ
การรับรอง ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับร้านอาหาร 15 ข้อ แผงลอย ตลาดสด(ตลาดประเภทที่ 1) ตลาดนัด(ตลาดประเภทที่ 2) ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับร้านอาหาร 15 ข้อ ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับแผงลอย 12 ข้อ มาตรฐานตลาดสด น่าซื้อ ระดับดีและดีมาก มาตรฐานตลาดนัด น่าซื้อ ระดับพื้นฐาน ดี และ ดีมาก
ระบบงานด้านสุขาภิบาลอาหาร 1. กระบวนงานรับรองสถานประกอบการ 2. กระบวนงานพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ 3. กระบวนงานร้องเรียน 4. กระบวนงานเฝ้าระวัง 5. กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ
ทำไมต้องจัดทำระบบงาน ? ระบบงานคืออะไร ? ระบบงานมีประโยชน์อะไร? ระบบงานหน้าตาเป็นอย่างไร? ?????????
ปชช. ได้รับบริการที่มีคุณภาพ มีระบบเพื่อ........... ปชช. ได้รับบริการที่มีคุณภาพ มีความพึงพอใจ จนท. ความมีศักดิ์ศรี มีสมรรถนะ ได้รับการยอมรับ ระบบ EHA ได้รับการประเมินรับรอง1002
การพัฒนากระบวนงานของระบบงานด้านสุขาภิบาลอาหาร จัดทำ SOP ของแต่ละกระบวนงาน จัดทำคู่มือตามแนวทาง SOP จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมของ แต่ละ SOP ตลาดสด/ตลาดนัดได้รับการรับรองในประเด็น EHA ในกระบวนงานที่ 6 และ 7 ในประเด็น EHA 1002
คู่มือการปฏิบัติงาน Standard Operating Procedure SOP
SOP (Standard Operating Procedure) เป็นเอกสารที่แนะนำวิธีการปฏิบัติงานที่ทำเป็นประจำ โดย จะระบุวิธีการปฏิบัติเป็นขั้นตอน จะทำให้การปฏิบัติงานนั้นๆ มีความสม่ำเสมอและน่าเชื่อถือ
วัตถุประสงค์ของการจัดทํา SOP 1. เพื่อให้การปฏิบัติงานในปัจจุบันเป็นมาตรฐาน เดียวกัน ลดการทำงานผิดพลาด 2. ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าควรปฏิบัติงานอย่างไร เมื่อใด กับใคร 3. เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ และเป้าหมายขององค์กร
วัตถุประสงค์ของการจัดทํา SOP 4. เพื่อให้สามารถติดตามงานได้ทุกขั้นตอน 5. เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรม 6. ใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการทำงาน 7. ใช้เป็นสื่อในการประสานงาน
ประโยชน์ของการจัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน (SOP) • ได้งานที่มีคุณภาพตามที่กำหนด • ผู้ปฏิบัติงานไม่เกิดความสับสน • แต่ละหน่วยงานรู้งานซึ่งกันและกัน • บุคลากรหรือเจ้าหน้าที่สามารถทำงานแทนกันได้ • สามารถเริ่มปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วเมื่อ มีการโยกย้ายตำแหน่งงาน • ลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อน
ประโยชนของการจัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน (SOP) • ลดข้อผิดพลาดจากการทำงานที่ไม่เป็นระบบ • ชวยเสริมสร้างความมั่นใจในการทำงาน • ชวยให้เกิดความสม่ำเสมอในการปฏิบัติงาน • ชวยลดเวลาในการสอนงาน • ชวยในการออกแบบระบบงานใหม่และปรับปรุงงาน
เนื้อหา SOP วัตถุประสงค์ เป็นการบอกถึงสิ่งที่ต้องการ จากการปฏิบัติตาม SOP นั้นๆ ขอบเขตของงาน เป็นการระบุว่า SOP ที่ใช้ในการปฏิบัติงานนั้นครอบคลุมสิ่งใดบ้าง หน่วยงานที่รับผิดชอบ ระบุหน่วยงาน / ตำแหน่งบุคคลที่นำ SOP ไปปฏิบัติเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์
เนื้อหา SOP เครื่องมือ อุปกรณ์ ระบุเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติตาม SOP เอกสารอ้างอิง ระบุชื่อและหมายเลขเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ SOP นั้นๆ แผนภูมิการทำงาน เป็นการแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยย่อ เพื่อให้ทราบว่า ใคร ทำอะไร รายละเอียดขั้นตอนการทำงาน เป็นการบรรยายรายละเอียดของการทำงานตามแผนภูมิ
กลยุทธ์ในการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาตลาดสด 1. กลยุทธ์การประกันคุณภาพ 2. กลยุทธ์การสร้างพหุภาคี(หลายหน่วยงาน) 3. กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ 4. กลยุทธ์สร้างความยั่งยืน
"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
ขอบคุณค่ะ 48