การภาษีอากร 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
1.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ภาษีอากร.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสุโขทัย
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การเบิกจ่ายเงิน ตามโครงการฝึกอบรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
โดย นางสุลัดดา บุญรักษ์
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT )
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลลูกจ้างชั่วคราว พ.ศ. 2545
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การภาษีอากร 1

หัวข้อหลักในการบรรยาย 1. ความรู้ทั่ว ๆ ไป เกี่ยวกับภาษีอากร 2. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3. ภาษีธุรกิจเฉพาะ 4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม 5. ภาษีเงินได้นิติบุคคล 6. ภาษีท้องถิ่น

1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร ภาษีอากร หมายถึง รายได้หรือทรัพยากรที่ได้มีการเคลื่อนย้ายจากภาคเอกชนไปสู่ภาครัฐบาลและไม่ก่อให้เกิดภาระชำระคืนแก่รัฐบาล วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีอากร เพื่อหารายได้มาใช้จ่ายในกิจการของรัฐ เพื่อควบคุมหรือส่งเสริมพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อการกระจายรายได้และทรัพย์สินให้เป็นธรรม เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

ลักษณะของภาษีอากรที่ดี มีความเป็นธรรม มีความแน่นอนและชัดเจน มีความสะดวก มีประสิทธิภาพ มีความเป็นกลางทางเศรษฐกิจ อำนวยรายได้ มีความยืดหยุ่น

โครงสร้างของกฎหมายภาษีอากร ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากร ฐานภาษีอากร อัตราภาษีอากร การประเมินจัดเก็บภาษีอากร การอุทธรณ์ภาษีอากร เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และโทษ

การจำแนกประเภทภาษีอากร พิจารณาจากลักษณะการรับภาระภาษีอากรนี้ แบ่งภาษีอากรออกเป็น2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ ภาษีทางตรง ได้แก่ ภาษีที่ภาระภาษีตกแก่บุคคลที่กฏหมายประสงค์จะให้รับภาระผู้เสียภาษีผลักภาระภาษีไปผู้อื่นไม่ได้ เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีทางอ้อม ได้แก่ ภาษีที่ภาระภาษีไม่แน่ว่าจะตกแก่บุคคลที่กฏหมาย ประสงค์จะให้ผู้เสียภาษีผลักภาระภาษีไปให้ผู้อื่นได้ง่าย เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต

ภาษีที่กรมสรรพากรจัดเก็บจากผู้มีเงินได้ 6 ประเภท ได้แก่ ภาษีที่กรมสรรพากรจัดเก็บจากผู้มีเงินได้ 6 ประเภท ได้แก่ 1.ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2.ภาษีเงินได้นิติบุคคล 3.ภาษีมูลค่าเพิ่ม 4.ภาษีธุรกิจเฉพาะ 5.อากรแสตมป์ 6.ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ ภาษีที่จัดเก็บจากบุคคลทั่วไป หรือจากหน่วยภาษีที่มีลักษณะพิเศษ ตามที่กฎหมายกำหนดและมีรายได้เกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นภาษีที่ส่วนใหญ่ จัดเก็บจากกำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการประกอบกิจการของบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นภาษีที่เก็บจากการขายสินค้าหรือให้บริการ โดยคำนวณภาษีที่ต้องเสียจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อ

ภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ประมวลรัษฎากร

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 2. เกณฑ์เงินได้ขั้นต่ำ 3. วิธีการคำนวณภาษี 3.1 วิธีที่ 1 3.2 วิธีที่ 2 4. กำหนดเวลาการชำระภาษีและแบบแสดงรายการ 5. การขอคืน 6. บทกำหนดโทษ

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 5 ประเภท 1. บุคคลธรรมดา 2. ผู้ถึงแก่ความตาย 3. กองมรดกที่ยังมิได้แบ่ง 4. ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล 5. คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล มีเงินได้ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำที่กฎหมายกำหนด

เกณฑ์ขั้นต่ำของเงินได้ที่ต้องยื่นเสียภาษี ไม่มีสามีหรือภริยา (โสด) ประเภทที่ 1 อย่างเดียว เกิน 50,000 บาทต่อปี ประเภทที่ 1 และอื่นๆ เกิน 30,000 บาทต่อปี มีสามีหรือภริยา (มีคู่สมรส) ประเภทที่ 1 อย่างเดียว เกิน 100,000 บาทต่อปี ประเภทที่ 1 และอื่นๆ เกิน 60,000 บาทต่อไป

- กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง เกิน 30,000 บาทต่อปี - ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคลเกิน 30,000 บาทต่อปี - คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลเกิน 30,000 บาทต่อปี

การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา วิธีที่ 1 ม.48(1) แห่งประมวลรัษฎากร เงินได้พึงประเมิน – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน = เงินได้สุทธิ เงินได้สุทธิ * อัตราภาษี = ภาษีที่ต้องเสีย วิธีที่ 2 ม.48(2) แห่งประมวลรัษฎากร กรณีมีเงินได้พึงประเมิน(ไม่รวมเงินได้จากการจ้างแรงงาน เช่น เงินเดือน) ให้คำนวณภาษีในอัตราร้อยละ 0.5 หากมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาทให้ยกเว้นภาษี (พ.ร.ฎ.480)

เงินได้พึงประเมิน หมายถึง 1. เงิน 2. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน 3. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน 4. เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ 5. เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกำหนด

แหล่งเงินได้มี 2 ประเภท 1. แหล่งภายในประเทศ 2. แหล่งภายนอกประเทศ

แหล่งภายในประเทศ 1. หน้าที่งานที่ทำในประเทศ 2. กิจการที่ทำในประเทศ 3. กิจการของนายจ้างในประเทศ 4. ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศ ต้องเสียภาษีให้กับประเทศไทย

แหล่งภายนอกประเทศ จะเสียภาษีให้กับประเทศไทยก็ต่อเมื่อ 1. หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ 2. กิจการที่ทำในต่างประเทศ 3. ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ จะเสียภาษีให้กับประเทศไทยก็ต่อเมื่อ 1. ผู้มีเงินได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้น และ 2. ผู้มีเงินได้นำเงินได้นั้นเข้ามาในประเทศไทยในปีภาษีนั้นด้วย

คำว่า “ผู้อยู่ในประเทศไทย”หมายความว่า บุคคลผู้อยู่ในประเทศไทยชั่วระยะเวลาหนึ่งหรือ หลายระยะรวมทั้งหมดถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวันในปีภาษี “ปีภาษี” หมายความว่า ปีปฏิทิน เริ่ม 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของทุกปี

1. บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษี 2. เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี การยกเว้นภาษี 1. บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษี 2. เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี 21

บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามข้อผูกพันที่รัฐบาลไทยมีอยู่ตามสัญญาความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคกับรัฐบาลต่างประเทศ ( พรฎ.9/2499) องค์การและทบวงการชำนัญพิเศษสหประชาชาติ, เจ้าหน้าที่, ผู้เชี่ยวชาญขององค์การหรือทบวงการดังกล่าว ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในไทยตามข้อผูกพันในอนุสัญญาหรือความตกลง (พรฎ.10/2500) 22

บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3. สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล บุคคลใคณะทูตในคณะกงสุล ตามข้อตกลงตามหลักถ้อยที่ถ้อยปฏิบัติต่อกัน (พ.ร.ฎ.10/2500) 4. บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษีตามอนุสัญญาภาษีซ้อน 5. บุคคลตามความตกลงกับองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ผอ.ซีเบส, พนักงานระหว่างประเทศ ตามความเห็นชอบจากเจ้าหน้าที่ไทยผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาซีเบส (ประกาศคณะปฏิวัติ 17/2515) 23

บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้ที่ผู้ว่าการ ผู้ว่าการสำรอง กรรมการ กรรมการสำรอง พนักงาน ลูกจ้าง ผู้เชี่ยวชาญของธนาคารพัฒนาเอเชีย (พ.ร.บ.ให้อำนาจ ปฏิบัติการเกี่ยวกับธนาคารพัฒนา เอเซีย 2509) บุคคลธรรมดาสัญชาติอเมริกันของบริษัทฯ นิติบุคคลของสหรัฐฯ ตามโครงการเงื่อนไขที่รัฐบาลไทยเห็นชอบ (คำสั่งหัวหน้าคณะปฏิวัติ 79/2515) 24

เงินได้ที่รับการยกเว้น(มาตรา 42) 1. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ - ที่เอกชนจ่ายให้ตามความจำเป็นในการปฏิบัติงานและจ่ายหมดไป เพื่องานนั้น 2. ค่าพาหนะ เบี้ยเลี้ยง ที่รัฐบาลจ่ายให้ข้าราชการ - เพื่อการไปปฏิบัติราชการนอกท้องที่ 25

เงินได้ที่รับการยกเว้น(มาตรา 42) 3. ค่าเดินทางของลูกจ้างที่มารับงานครั้งแรก และกลับเมื่องานสิ้นสุดลง 4. ยกเลิก 5. เงินเพิ่มพิเศษประจำตำแหน่ง ค่าเช่าบ้านของทูตไทยที่อยู่ต่างประเทศ 6. ขายแสตมป์ 7. เบี้ยประชุม ค่าสอน ค่าสอบ ที่ทางราชการหรือศึกษาราชการจ่าย เงื่อนไข เช่น สอนราม สอนจุฬา 8. ดอกเบี้ยออมทรัพย์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาท 26

เงินได้ที่รับการยกเว้น(มาตรา 42) 9. ขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก 10. เงินได้จากการอุปการะหน้าที่ธรรมจรรยา เงินได้จากรับมรดกหรือการให้โดยเสน่หาตามขนบธรรมเนียมประเพณี 11. รางวัลเพื่อการศึกษา ค้นคว้า ประกวด แข่งขัน รางวัลจากสลากกินแบ่งรัฐบาล รางวัลจากสลากออมสินรัฐบาล 12. บำนาญพิเศษ บำเหน็จตกทอด 13. ค่าสินไหมจากการละเมิด (ละเมิด คือ ประมาทเลินเล่อให้ผู้อื่นเสียหายซึ่งต้องชดใช้ค่าเสียหายทดแทนให้คงสภาพเดิม) 27

เงินได้ที่รับการยกเว้น(มาตรา 42) 14. เงินส่วนแบ่งกำไร ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล 15. การขายข้าวของชาวนา 16. เงินได้จากกองมรดก (ที่เคยเสียภาษีแล้ว) 17. กฎกระทรวง 126 18. รางวัลสลากกาชาดไทย 19. ดอกเบี้ยตาม ม.4 ทศ 20. -21. -22. ยกเลิก 23. เงินได้จากการขายหน่วยลงทุนในกองทุนรวม 24. เงินได้ของกองทุนรวม 25. ประโยชน์ทดแทนจากกองทุนประกันสังคม 28

การยกเว้นภาษีเงินได้ จากรายรับตามกฎกระทรวง 126 1. โรงเรียนเอกชน 2. การจำหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล 3. ค่าจ้างทำงานระหว่างปิดภาคการศึกษาของนักศึกษาต่างด้าวในไทย 4. ค่ารักษาพยาบาลที่นายจ้างให้ลูกจ้าง คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน 29

การยกเว้นภาษีเงินได้ จากรายรับตามกฎกระทรวง 126 5. เงินค่าเช่าบ้าน ค่าศึกษาบุตรที่ราชการจ่าย 6. เงินค่าเช่าบ้านที่รัฐวิสาหกิจจ่าย 7. เงินช่วยเหลือบุตร ค่าการศึกษาบุตร ที่รัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจจ่ายให้ 8. รางวัลเพื่อการป้องกันมิให้กระทำผิดทางภาษีอากรที่ราชการจ่าย 9. เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรือได้มาโดยเสน่หา อยู่นอกเขตกรุงเทพ เทศบาลและสุขาภิบาล เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 200,000 บาท 30

การยกเว้นภาษีเงินได้ จากรายรับตามกฎกระทรวง 126 10. เงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์อสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย (ไม่รวมบุตรบุญธรรม) โดยไม่มีค่าตอบแทน 11. เงินได้จากมูลค่าของเครื่องแบบที่ลูกจ้างได้รับจากนายจ้างในจำนวน คนละไม่เกิน 2 ชุดต่อปี (ถ้าเป็นเสื้อนอกไม่เกิน 1 ตัวต่อปี) 12. เงินได้เท่าที่ลูกจ้างจ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วย กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ในอัตราไม่เกิน 15% ของค่าจ้างเฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท 31

การยกเว้นภาษีเงินได้ จากรายรับตามกฎกระทรวง 126 13. เงินได้เท่าที่สามชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการจ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 500,000 บาท 14. เงินได้เท่าที่จ่ายเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัย จากอาคาร สถาบันการเงิน บริษัท สหกรณ์ ฯลฯ เฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท 15. เงินได้เท่าที่จ่ายเป็นเบี้ยประกันสำหรับการประกันชีวิตของผู้มีเงินได้ ตามจ่ายจริงเฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร 32

การยกเว้นภาษีเงินได้ จากรายรับตามกฎกระทรวง 126 เงินได้เท่าที่นายจ้างจ่ายเป็นเบี้ยประกันภัยกลุ่มที่มีกำหนดเวลาไม่เกิน หนึ่งปี เฉพาะในส่วนที่คุ้มครองค่ารักษาพยาบาลสำหรับลูกจ้าง สามี ภริยา บุพการีหรือผู้สืบสันดานซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของลูกจ้าง เงินได้ของวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ซึ่งมีเงินได้ไม่เกิน 1,800,000 บาท ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2553 33

ประเภทของเงินได้ (8 ประเภท ม.40) ประเภทที่ 1 การจ้างแรงงาน เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง ประเภทที่ 2 หน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำหรือรับทำงานให้ เช่น ค่านายหน้า ประเภทที่ 3 ค่าสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ เงินปี เงินรายปี

ประเภทของเงินได้ (8 ประเภท ม.40) ประเภทที่ 4 ดอกเบี้ย เงินปันผล ประเภทที่ 5 ให้เช่าทรัพย์สิน ผิดสัญญาเช่าซื้อ ผิดสัญญาซื้อขาย เงินผ่อน ประเภทที่ 6 วิชาชีพอิสระ เช่น วิชากฎหมาย ประกอบโรคศิลป การบัญชี

ประเภทของเงินได้ (8 ประเภท ม.40) ประเภทที่ 7 รับเหมาฯ ประเภทที่ 8 การธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขายอสังหาริมทรัพย์ และอื่น ๆ นอกจาก 1 - 7

ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายมี 2 ประเภท 1. เป็นการเหมา: กำหนดไว้เป็นอัตราร้อยละโดยไม่ต้องแสดงหลักฐาน ค่าใช้จ่าย 2. ตามความจำเป็นและสมควร(ตามจริง): เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงและเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การหารายได้โดยต้องแสดงหลักฐานค่าใช้จ่าย

การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท ประเภทที่ 1-2 - ประเภทที่ 1 อย่างเดียว หักได้ 40%ไม่เกิน 60,000 บาท - ประเภทที่ 2 อย่างเดียว หักได้ 40%ไม่เกิน 60,000 บาท - ประเภทที่ 1 และ 2 รวมกัน หักได้ 40% ไม่เกิน 60,000 บาท

การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท ประเภทที่ 3 เฉพาะค่าลิขสิทธิ์หักได้ 40% ไม่เกิน 60,000 บาท อื่น ๆ ไม่ให้หักค่าใช้จ่าย ประเภทที่ 4 ไม่ให้หักค่าใช้จ่าย ประเภทที่ 5 - การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน หักได้ 20% - การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน หักได้ 20%

การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท การให้เช่าทรัพย์สิน - หักตามความจริง - หักเป็นการเหมา - บ้าน โรงเรือน หักได้ 30% - ที่ดินใช้ในการเกษตรกรรม หักได้ 20% - ที่ดินมิได้ใช้ในการเกษตรกรรม หักได้ 15% - ยานพาหนะ หักได้ 30% - ทรัพย์สินอย่างอื่น หักได้ 10%

การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท ประเภทที่ 6 - หักตามความจริง - หักเป็นการเหมา - การประกอบโรคศิลป หักได้ 60% - อาชีพอิสระอื่น ๆ หักได้ 30% ประเภทที่ 7 - หักเป็นการเหมา หักได้ 70%

การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท ประเภทที่ 8 1. หักเป็นการเหมา เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรืออสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการให้โดย เสน่หาหักร้อยละ 50 ของเงินได้ 2. หักตามความจริงหรือเป็นการเหมา - เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยมิได้ มุ่งในทางการค้าหรือหากำไรหักตามอัตราที่ กฎหมายกำหนด

การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท - เงินได้จากกิจการ 43 รายการ ที่กำหนดใน พรฎ. ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2502 ม.8) เช่น - ขายของ 80% - โรงแรม/ภัตตาคาร 70% - ร้านตัดผม 70% - ตัดเย็บเสื้อผ้า 70% 3. หักตามความจริง เงินได้อื่นนอกจาก 1 และ 2

ค่าลดหย่อน (ALLOWANCES) 1. ผู้มีเงินได้ 30,000 บาทต่อปี 2. คู่สมรส 30,000 บาทต่อปี 3. บุตร 15,000 บาท ต่อคนต่อปี 4. การศึกษาบุตร 2,000 บาท ต่อคนต่อปี

ค่าลดหย่อน (ALLOWANCES) 5. บิดามารดารวมทั้งบิดามารดาของคู่สมรส 30,000 บาท ต่อคนต่อปี 6. เบี้ยประกันชีวิต(ของผู้มีเงินได้และหรือคู่สมรส) แต่ละฝ่ายลดหย่อนได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ฝ่ายละ 100,000 บาท (รวมค่าหย่อนและยกเว้น)

ค่าลดหย่อน (ALLOWANCES) 7. เงินสะสมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ของผู้มีเงินได้และหรือ คู่สมรส) แต่ละฝ่ายลดหย่อนได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินฝ่ายละ 10,000 บาท (ส่วนที่เกินได้รับยกเว้นอีกไม่เกิน 490,000 บาท)

ค่าลดหย่อน (ALLOWANCES) 8. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม(ของผู้มีเงินได้และ หรือคู่สมรส) แต่ละฝ่ายหักลดหย่อนได้ตามจำนวนที่ จ่ายจริงแต่ไม่เกินอัตราร้อยละตามกฎหมายประกันสังคม 9. ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมซื้อบ้านที่อยู่อาศัยหักลดหย่อนได้ตาม จำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท (รวมค่า ลดหย่อนและยกเว้น)

ค่าลดหย่อน (ALLOWANCES) 10. ค่าอุปการะเลี้ยงดูคู่สมรส บิดามารดา บุตร ซึ่งพิการคนละ 60,000 บาท 48

ค่าลดหย่อน (ALLOWANCES) 11. เงินบริจาคสาธารณกุศลหักลดหย่อนได้ตามจำนวน ที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของยอดเงินได้หลังจาก หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนรายการที่ 1-10 แล้ว (ยอดเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอื่นๆ ก่อนหักเงินบริจาค)

คุณสมบัติในการหักลดหย่อนบุตร บุตรชอบด้วยกฎหมาย หรือบุตรบุญธรรมของผู้มีเงินได้ รวมทั้งบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีหรือภริยา 2. อายุไม่เกิน 25 ปี และยังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย หรือชั้นอุดมศึกษา หรือเป็นผู้เยาว์ หรือศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ 3. อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดู 4. ไม่มีเงินได้พึงประเมินตั้งแต่ 15,000 บาท ขึ้นไป

การหักลดหย่อยเบี้ยประกันภัย กรมธรรม์ประกันชีวิตมีกำหนดตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป ได้ประกันไว้กับผู้รับประกันภัยที่ประกอบกิจการ ประกันชีวิตในราชอาณาจักร หักลดหย่อนตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ยกเว้นภาษีสำหรับ เงินได้ที่จ่ายเป็นเบี้ยประกันภัยตาม จำนวนที่จ่ายจริงเฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท

ค่าลดหย่อน 1. ผู้มีเงินได้มิได้เป็นผู้อยู่ในไทยหักได้เฉพาะสามี หรือภริยาและบุตรที่อยู่ในประเทศไทย 2. ผู้ถึงแก่ความตาย หักได้เสมือนผู้ตายมีชีวิตอยู่

ค่าลดหย่อน 3. กองมรดกที่ยังมิได้แบ่งหักได้ 30,000 บาท 4. ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลหัก ผู้เป็นหุ้นส่วนหรือบุคคลในคณะบุคคลแต่ละคนที่อยู่ ในประเทศไทยคนละ 30,000 บาท รวมกันไม่เกิน 60,000 บาท

กำหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการภาษี - ครึ่งปี ก.ค. - ก.ย. ของปีภาษี แบบ ภ.ง.ด.94 - สิ้นปี ม.ค. - มี.ค. ของปีภาษีถัดไป แบบ ภ.ง.ด.90, 91

ภาษีครึ่งปี (ภ.ง.ด.94) วิธีที่ 1 1. เงินได้ประเภทที่ 5, 6, 7, 8 (ม.ค.-มิ.ย.) 2. แต่ละประเภท หักค่าใช้จ่ายได้เต็มอัตราที่ กฎหมายกำหนด หรือตามจริง 3. หักลดหย่อนได้กึ่งหนึ่งตามที่กฎหมายกำหนด 4. เงินได้สุทธิ 5. คำนวณภาษี

วิธีที่ 2 1. เงินได้ประเภทที่ 5, 6, 7, 8 ก่อนหักค่าใช้จ่ายรวมกัน 2. คูณด้วย 0.5% หรือ 5/1000 (คำนวณภาษีหากมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาท ให้ ยกเว้นภาษี – พ.ร.ฎ.480 หมายเหตุ ให้เสียภาษีจากจำนวนที่มากกว่า ระหว่าง ผลของวิธีที่ 1 และ วิธีที่ 2

สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี - สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา ( กทม. + ต่างจังหวัด) - ไปรษณีย์ – ส่งกองคลัง (กทม.) - ธนาคารพาณิชย์ (กทม. + ต่างจังหวัด) - อินเตอร์เน็ต < http://www.rd.go.th >

การผ่อนชำระภาษี 1. มีภาษีที่ต้องชำระตั้งแต่ 3,000 บาทขึ้นไป 2. ขอผ่อนชำระได้ 3 งวดๆ ละเท่า ๆ กัน งวดที่ 1 ภายในวันที่ 30 กันยายน ของปี(ภาษีครึ่งปี) ภายในวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป (ภาษีสิ้นปี) งวดที่ 2 ภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่ชำระงวดที่ 1 งวดที่ 3 ภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่ชำระงวดที่ 2

3. หากชำระภายในเวลาผ่อนชำระไม่ต้องรับผิดเสีย เงินเพิ่ม แต่หากเกินกำหนดเวลาดังกล่าวต้องรับผิดเสีย เงินเพิ่มร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของ งวดที่เหลือ 4. การยื่นเสียภาษีเกินกำหนดเวลายื่นแบบ จะขอ ผ่อนชำระไม่ได้

การขอคืนภาษี - ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่งไว้เกินกว่าที่จะต้องชำระ หรือ ได้ยื่นชำระภาษีไว้เกินกว่าที่ต้องชำระ - ขอคืนภายใน 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีที่ถูกหักเกินไป (31 ธ.ค.) หรือวันสุดท้ายแห่งกำหนดเวลายื่นแบบแล้วแต่กรณี (31 มี.ค.) - ใช้แบบ ภ.ง.ด.90,91 หรือ ค.10 แล้วแต่กรณี - ค.10 ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่..หรือพื้นที่สาขา.. ท้องที่ที่มีภูมิลำเนา

อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้สุทธิ แต่ละขั้น อัตราภาษีร้อยละ ภาษี 0 ถึง 100,000 100,000 5 (ยกเว้นภาษี) -- 100,001-150,000 150,001 ถึง 500,000 50,000 350,000 10 - 35,000 500,001 ถึง 1,000,000 500,000 20 1,000,001 ถึง 4,000,000 3,000,000 30 900,000 4,000,001 ขึ้นไป 37

3. ภาษีธุรกิจเฉพาะ

หลักการจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะ จัดเก็บจากการขายสินค้าหรือให้บริการบางประเภท ฐานภาษี คือ รายรับทั้งสิ้นจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ ภาษีธุรกิจเฉพาะคำนวณจากฐานภาษี ซึ่งเป็นรายรับก่อนหักรายจ่าย ไม่มีการคืนภาษีดังเช่นภาษีมูลค่าเพิ่ม

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ กิจการธนาคารตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารพาณิชย์ การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และเครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กิจการประกันชีวิตตามกฎหมายว่าด้วยประกันชีวิต กิจการรับจำนำตามกฎหมายว่าด้วยโรงรับจำนำ การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (พรฎ.342) การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การประกอบกิจการอื่นตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาเช่น ธุรกิจแฟคเตอริ่ง มาตรา 91/2

การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ ยกเว้นตามมาตรา 91/3 กิจการธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน สหกรณ์ออมทรัพย์ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ การเคหะแห่งชาติ กิจการรับจำนำของราชการ ยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ เช่น การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ฐานภาษี กิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน หรือการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยง ธนาคารพาณิชย์ มาตรา 91/5 ได้แก่ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ กำไรก่อนหักรายจ่ายจากการซื้อขายตั๋วเงิน กำไรก่อนหักรายจ่ายจากการแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตรา กิจการรับประกันชีวิต ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ

ฐานภาษี กิจการโรงรับจำนำ ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม เงินที่ได้รับจากการขายของหลุดจำนำ อื่น ๆ เช่น การขายอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ รายรับก่อนหักรายจ่าย

อัตราภาษี กิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน ร้อยละ 3.0 กิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน ร้อยละ 3.0 กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ร้อยละ 3.0 กิจการรับประกันชีวิต ร้อยละ 2.5 กิจการโรงรับจำนำ ร้อยละ 2.5 การขายอสังหาริมทรัพย์ ร้อยละ 3.0 การขายหลักทรัพย์ ร้อยละ 1.0 รวมภาษีท้องถิ่นอีกร้อยละ 10.0

การคำนวณรายรับ คำนวณตามหลักเกณฑ์ทางบัญชี มาตรา 91/8 เกณฑ์เงินสด เกณฑ์สิทธิ

การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม

เนื้อหาประจำหน่วย ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม การคำนวณมูลค่าฐานภาษี อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม การบันทึกรายการ การจัดทำรายงาน

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม ขายสินค้า หรือให้บริการทั่วไป ฐานภาษีคือ มูลค่าทั้งหมดที่ได้รับจากการขายสินค้า หรือให้บริการ รวมทั้งภาษีสรรพสามิตที่ต้องชำระ (ถ้ามี) ไม่รวม ส่วนลดการค้า ค่าชดเชย ภาษีขาย ค่าตอบแทนที่มีลักษณะเงื่อนไขตามประกาศอธิบดี

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. การส่งออก ฐานภาษี คือมูลค่าสินค้าที่ส่งออกตามราคา F.O.B. บวก ภาษีสรรพสามิต และภาษีหรือค่าธรรมเนียมอื่น ไม่รวมอากรขาออก

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม 3. การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ 3.1 รับขนคนโดยสาร ฐานภาษี คือ มูลค่าของค่าโดยสาร ค่าธรรมเนียม หรือประโยชน์อื่นที่เรียกเก็บในประเทศก่อนหักรายจ่าย 3.2 รับขนสินค้า ฐานภาษี คือ มูลค่าของค่าระวางค่าธรรมเนียม หรือประโยชน์อื่นที่เรียกเก็บในหรือนอกประเทศก่อนหักรายจ่าย

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม 4. การนำเข้า ฐานภาษี คือ มูลค่าของสินค้าใช้ราคา C.I.F. บวกอากรขาเข้า ภาษีสรรพสามิต ค่าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายส่งเสริมการลงทุน ภาษีและค่าธรรมเนียมอื่นตามกฎหมาย

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม 5. ขายผลิตภัณฑ์น้ำมัน 5.1 น้ำมันดิบ 5.1 น้ำมันดิบ ฐานภาษี คือ ราคา F.O.B บวกภาษีสรรพสามิต 5.2 ผลิตภัณฑ์น้ำมัน ฐานภาษี คือ มูลค่าผลิตภัณฑ์น้ำมันหัก VAT ออกจากราคาขายปลีกของสินค้า

การคำนวณมูลค่าฐานภาษี ขายสินค้าหรือให้บริการ ให้ถือมูลค่าฐานภาษีเมื่อความรับผิดใน VAT เกิดขึ้น เว้นแต่ (1) – (5) ขายสินค้าโดยไม่มีค่าตอบแทน หรือขายต่ำกว่าราคาตลาด นำสินค้าหรือบริการไปใช้เอง สินค้าขาดจากรายงาน สินค้าเสียVAT อัตราร้อยละ 0 สินค้าคงเหลือในวันเลิกกิจการ

การคำนวณมูลค่าฐานภาษี ราคาตลาด = ราคาเฉลี่ยที่ซื้อขายกันตามความจริงทั่วไป ในวันที่ความรับผิดใน VAT เกิดขึ้น

การคำนวณมูลค่าฐานภาษี ค่าตอบแทนที่ ไม่ ต้องนำมารวมคำนวณ มูลค่าฐานภาษี ( 1 ) – ( 20) เช่น มูลค่าสินค้าที่แถม , สินค้าที่แจก, ให้เป็นรางวัล, สินค้าตัวอย่าง,สินค้าทดลองใช้ สินค้าในเขตปลอดอากร อาหารและเครื่องดื่มที่จัดหาให้พนักงานเป็นสวัสดิการฯ ค่าเครื่องแบบ บริจาคให้แก่ส่วนราชการ

เงินที่ได้รับยกเว้นVAT การโอนทรัพย์สิน หรือขายสินค้า เนื่องจากการดำเนินการสนับสนุนการศึกษาตามโครงการที่ ก.ศึกษาฯ เห็นชอบ และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศ

การคำนวณมูลค่าฐานภาษี เงินล่วงหน้า ประกัน มัดจำ หรือเงินจอง ไม่รวม เงินจองหรือมัดจำที่ต้องจ่ายคืนเมื่อไม่ประสงค์จะซื้อขาย หรือเงินมัดจำค่าภาชนะบรรจุสินค้า ให้นำมูลค่าทั้งหมดจากการขายสินค้า, ให้บริการ มาความคำนวณเป็นมูลค่าฐานภาษี VAT เมื่อมีการคืนเงินดังกล่าวให้ลูกค้า ให้ออกใบลดหนี้

อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. อัตราปกติ ร้อยละ 10 ยังไม่รวมภาษีท้องถิ่นอีกร้อยละ 10 ของ VAT ปัจจุบันลดเหลือ ร้อยละ 6.3 เมื่อรวมภาษีท้องถิ่น จะเท่ากับ 7% 2. อัตราร้อยละ 0 สำหรับกิจการดังนี้ เช่น ส่งออก ให้บริการในราชอาณาจักรแต่ใช้ในต่างประเทศ ขนส่งระหว่างประเทศ ฯ

การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม แยกเป็น 2 นัย ภาษีที่ต้องเรียกเก็บจากผู้ซื้อ = ฐานภาษี X อัตราภาษี (รวมภาษีท้องถิ่น) ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ

การบันทึกรายการ กิจการให้บริการ บันทึกรายการโดยใช้เกณฑ์เงินสด 1.1 เมื่อออกใบแจ้งหนี้ ให้บันทึกรายการในบัญชีพัก เป็นค่าภาษีขายที่รอเรียกเก็บ/ยังไม่ถึงกำหนดชำระ 1.2 เมื่อออกใบกำกับภาษี ให้บันทึก ภาษีขาย และลดยอดบัญชีพัก (ค่าภาษีขายที่รอเรียกเก็บ/ยังไม่ถึงกำหนดชำระ) ตัวอย่าง....(P 6-9)

การบันทึกรายการ 2. กิจการขายสินค้า 2.1 ขายสินค้าปกติ ใช้เกณฑ์คงค้างตามความรับผิดในVAT ที่เกิดขึ้น - ส่งมอบ, - รับชำระ, - ออกใบกำกับภาษี แล้วแต่เหตุการณ์ใดจะเกิดก่อน) ตัวอย่าง......(p. 6-11)

การบันทึกรายการ 2.2 ขายเชื่อ (ภายหลังเกิดเกิดหนี้สูญ) 2.2 ขายเชื่อ (ภายหลังเกิดเกิดหนี้สูญ) ให้นำภาษีขายที่คำนวณจากส่วนหนี้สูญ ไปหักจากภาษีซื้อเดือนที่เกิดหนี้สูญ หนี้สูญได้รับคืน ให้นำภาษีขายที่คำนวณจากส่วนหนี้สูญ ไปรวมกับภาษีขายในเดือนที่ได้รับชำระหนี้ ตัวอย่าง (P.6-12)

การบันทึกรายการ 3. การฝากขาย ตั้งตัวแทนเพื่อขาย ความรับผิดในVAT เกิดเมื่อตัวแทนส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อ ไม่มีการตั้งตัวแทนขาย ความรับผิดในVAT เกิด 2 ช่วง คือ (1) ส่งสินค้าให้ตัวแทน (2) ตัวแทนส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อ

การบันทึกรายการ 4. ขายโดยให้ส่วนลด ให้นำส่วนลดมาหักจากฐานภาษี เช่น ส่วนลดการค้า โดยต้องแสดงจำนวนส่วนลดไว้ในใบกำกับภาษีเต็มรูป หรือไม่แสดงในใบกำกับภาษีอย่างย่อก็ได้ ฐานภาษี คือ ราคาขายสุทธิ (ขายหักส่วนลดการค้า) ส่วนลดเงินสด ไม่สามารถนำไปหักจากราคาสินค้าได้ ตัวอย่าง...(P. 6-14 )

การบันทึกรายการ 5. ขายโดยมีค่าขนส่งให้ลูกค้า ขายสินค้าโดยรวมค่าขนส่ง ถือว่าเป็นการขายพร้อมกับให้บริการ ฐานภาษีจะใช้มูลค่าสินค้ารวมค่าขนส่ง ขายสินค้า โดยแยกรายการค่าสินค้าออกจากค่าขนส่ง ฐานภาษีจะใช้เฉพาะมูลค่าของสินค้าเท่านั้น

การบันทึกรายการ 6. การเพิ่มยอดขายหรือค่าบริการ เกินกว่าจำนวนที่ตกลงกัน ให้ออกใบเพิ่มหนี้ Debit Note โดยออกในเดือนใดต้องบันทึกการขายในเดือนนั้น เดบิต ลูกหนี้ XX เครดิต ขาย XX ภาษีขาย XX

การบันทึกรายการ 7. การลดยอดขาย หรือค่าบริการหลังการขาย ให้ออกใบลดหนี้ Credit Noteโดยนำภาษีขายที่คำนวณจากมุลค่าสินค้าที่ลดลง หักจากภาษีขายของเดือนที่ออกใบลดหนี้ ตัวอย่าง..(P.6-15)

การบันทึกรายการ 8. ให้เช่าทรัพย์สิน เช่าลิสซิ่ง เช่าซื้อ ให้เช่าสังหาฯ เช่าลิสซิ่ง ถือเป็นการให้บริการเสียVAT เมื่อได้รับเงินค่าเช่า การให้เช่าซื้อ ถือเป็นการขาย เสียVAT ตามงวดที่ถึงกำหนดชำระเงิน การขายผ่อนชำระ ให้รับรู้รายได้เมื่อเก็บเงินค่าสินค้าได้

การบันทึกรายการ 9. การขายที่มีการส่งเสริมการขาย มูลค่าสินค้าของแจก แถม ต้องไม่เกินมูลค่าของสินค้า การแจกแถมที่ไม่เข้าเงื่อนไขฯ ถือเป็นการขายต้องเสียVAT และไม่สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ตัวอย่าง ...(P.6-17)

การบันทึกรายการ 3. นำเข้าสินค้า ความรับผิดในVAT เกิดขึ้นเมื่อ ต้องชำระอากรขาเข้า, วางหลักประกันอากรขาเข้า, หรือจัดให้มีผู้ค้ำประกันอากรขาเข้า ตัวอย่าง...(P.6-18)

การบันทึกรายการ 4. ภาษีซื้อต้องห้าม (1) ให้หักเป็นค่าใช้จ่าย หรือถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ตัวอย่าง....(P.6-19) (2) เป็นรายจ่ายต้องห้าม ภาษีซื้อที่มีสิทธิ์นำไปหักจากภาษีขายแต่ไม่ได้ใช้สิทธินั้น จึงเป็นรายจ่ายต้องห้าม

การบันทึกรายการ 5. การจ่ายค่าบริการให้แก่ผู้ให้บริการในต่างประเทศ การจ่ายเงินค่าบริการที่ผลิตผลของงานในต่างประเทศ แต่ได้นำงานนั้นเข้ามาในราชอาณาจักร ผู้จ่ายต้องนำส่ง VAT 10 % ของมูลค่าค่าจ้างนั้น ตัวอย่าง...(P.6-20)

การจัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม รายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายงานสินค้าและวัตถุดิบ

รายงานภาษีขาย บันทึกจำนวนภาษีขายที่กิจการได้เรียกเก็บ ในแต่ละเดือนภาษี ให้ลงรายการภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ระบุในใบกำกับภาษี รายการที่ต้องนำมาบันทึกในรายงานภาษีขาย เช่น การขายสินค้า ให้บริการ การส่งออก ให้เช่าซื้อ ส่งสินค้าให้ตัวแทน สินค้าขาดจากรายงาน นำสินค้าไปใช้ส่วนตัว หนี้สูญได้รับคืน ฯ การลงรายการในรายงานภาษีขาย ตัวอย่าง...(P.6-22)

รายงานภาษีซื้อ ใช้บันทึกจำนวนภาษีซื้อที่ถูกเรียกเก็บ ในแต่ละเดือนภาษี ภาษีซื้อที่ไม่ได้นำมาลงในรายงานภาษีซื้อ มีสิทธินำปหักในเดือนภาษีหลังจากนั้นได้ ไม่เกิน 6 เดือน นับจากเดือนที่ออกใบกำกับภาษี รายการที่ต้องนำไปบันทึกในรายงานภาษีซื้อ เช่น การซื้อสินค้า การนำเข้าสินค้า การเช่าซื้อ การรับฝากขายสินค้า การเพิ่มราคาสินค้าหรือบริการ การส่งคืนสินค้า การลดราคา ฯ การลงรายการในรายงานภาษีซื้อ ตัวอย่าง ...(P.6-23)

รายงานภาษีซื้อ การจัดเก็บใบกำกับภาษี แยกเก็บเป็นรายเดือนภาษี โดยเรียงตามลำดับ ควรแยกแฟ้มภาษีซื้อตั้งพัก และแฟ้มภาษีซื้อ

รายงานสินค้าและวัตถุดิบ จัดทำเพื่อแสดงปริมาณ สินค้าและวัตถุดิบที่มีอยู่ ได้มา และขายไป สามารถใช้บัญชีคุมสต๊อกสินค้าแต่ละชนิดเป็นรายงานสินค้าและวัตถุดิบได้ ตัวแทนผู้รับฝากขาย ต้องจัดทำรายงานสินค้าวัตถุดิบ แยกต่างหากจากสินค้าของตน รายการที่ต้องนำมาบันทึกในรายงานสินค้าและวัตถุดิบ คือ รายการเกี่ยวกับสินค้าที่นำไปลงในรายงานภาษีขาย และภาษีซื้อ

รายงานสินค้าและวัตถุดิบ การลงรายการในรายงานสินค้าแลวัตถุดิบ ตัวอย่าง...(P.6-25) ผู้ขายสินค้าที่มีการรับประกัน ให้จัดทำรายงานการเปลี่ยนอะไหล่หรือซ่อมแซมอีก 1 รายงาน ผู้ให้บริการที่ไม่ได้ขายสินค้า ไม่ต้องจัดทำรายงานนี้

ระยะเวลาที่ต้องจัดเก็บเอกสาร จัดเก็บและรักษารายงานไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันที่ต้องจัดทำรายงาน อธิบดีอาจกำหนดให้เก็บเกิน 5 ปีได้ แต่ต้องไม่เกิน 7 ปี ให้จัดเก็ฐไว้ในสถานประกอบการที่ทำรายงานนั้น หากจะเก็บที่อื่นต้องขออนุญาตและต้องเก็บครบ 1 ปีแล้ว เลิกกิจการ ให้จัดเก็บต่อไม่น้อยกว่า 2 ปี

รายงานสินค้าและวัตถุดิบ รายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นแบบรายงานเพื่อแสดงปริมาณสินค้าหรือวัตถุดิบที่รับมาหรือจ่ายไปจริง และปริมาณสินค้าที่คงเหลือยู่ การจัดทำรายงานต้องมีเอกสารประกอบเป็นใบสำคัญรับหรือจ่ายสินค้า ซึ่งควรแยกออกเป็นแต่ละประเภท ชนิดและขนาด

ภาษีเงินได้นิติบุคคล 106 106

สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 2. ฐานภาษี 3. วิธีการคำนวณภาษีแต่ละฐานภาษี 4. กำหนดเวลาการชำระภาษีและแบบที่ใช้ 5. การขอคืนภาษี 6. บทกำหนดโทษ 107 107

ความหมายของนิติบุคคล บุคคลที่เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย นิติบุคคล คือ บุคคลที่เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย 108

นิติบุคคลเกิดโดยกฎหมาย กฎหมายที่ให้กำเนิดนิติบุคคล ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายพิเศษ 109

นิติบุคคลตาม ป.พ.พ. บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มูลนิธิ สมาคม 110

นิติบุคคล ตามกฎหมายพิเศษ เช่น - พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการ - พ.ร.บ สหกรณ์ - พ.ร.บ. สงฆ์ - พ.ร.บ. นิติบุคคลอาคารชุด - พ.ร.บ. พรรคการเมือง - พ.ร.บ. มหาวิทยาลัย ฯลฯ 111

บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร 1. บจ./ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่จัดตั้งขึ้นตาม ก.ม.ไทย 2. บริษัท/ห้างหุ้นส่วนที่จัดตั้งขึ้นตาม ก.ม.ต่างประเทศ (ก) เข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทย (สาขา) (ข) ประกอบกิจการขนส่งผ่านประเทศไทย (ค) มิได้ประกอบกิจการในไทย แต่มีเงินได้ตาม ม.40(2) – (6) ที่จ่ายจาก หรือในประเทศไทย 112

บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร (ง) มีลูกจ้าง หรือผู้ทำการแทนหรือ ผู้ทำการติดต่อ เป็นเหตุให้ได้รับเงินได้ในประเทศไทย 3. กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางการค้าหรือหากำไร โดย - รัฐบาลต่างประเทศ - องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ - นิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตาม ก.ม.ของต่างประเทศ 113

บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร 4. กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางการค้าหรือหากำไร โดย - บริษัท + บริษัท - บริษัท + ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล + ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - บริษัท , ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล + บุคคลธรรมดา, คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล, ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือนิติบุคคลอื่น 114

บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร 5. มูลนิธิ หรือสมาคม 6. นิติบุคคลอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด 115

ฐานภาษี 1. กำไรสุทธิ (1, 2 (ก), 2 (ง) ,3 , 4 ) 2. รายได้ก่อนหักรายจ่าย (2 (ข),5) 3. เงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย (2 (ค)) 4. การจำหน่ายกำไรออกไปนอกประเทศ 116

รอบระยะเวลาบัญชี = 12 เดือน 117

รอบระยะเวลาบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน รอบระยะเวลาบัญชีอาจน้อยกว่า 12 เดือน ได้ในกรณี เริ่มประกอบกิจการ , รอบแรก เลิกกิจการ , รอบสุดท้าย ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนวันสุดท้ายของรอบ เลิกกัน, ควบเข้ากัน 118

กำไรสุทธิ กำไรสุทธิ = รายได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการ ที่กระทำในรอบ บ/ช หักด้วย รายจ่ายตามเงื่อนไข ตามกรมสรรพากรกำหนด (มาตรา 65 ทวิ , 65 ตรี) เกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณกำไรสุทธิ ใช้เกณฑ์สิทธิ (ท.ป. 1/2528 แก้ไขโดย ท.ป. 155/2549)

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% กิจการวิเทศธนกิจ 10 % ลดอัตราบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 2.1 อัตราร้อยละ 20 ของกำไรสุทธิสำหรับบริษัทที่ นำหลักทรัพย์มาจดทะเบียน “ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ”

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 2.2 ลดเหลือภาษีร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิ สำหรับบริษัทที่นำ หลักทรัพย์มาจดทะเบียน นอกเหนือจากกรณี “ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ” - นำหลักทรัพย์มาจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน 2544 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2548 โดยจะได้รับสิทธิเป็นเวลาห้ารอบระยะเวลาบัญชี (ตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 387))

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% - นำหลักทรัพย์มาจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2551 และได้รับการจดทะเบียนหลักทรัพย์ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยจะได้รับสิทธิเป็นเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชี (ตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 467) และแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฏีกา(ฉบับที่ 474))

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 3. ลดอัตราภาษีบริษัทตลาดหลักทรัพย์ ที่ไม่ได้ สิทธิตามข้อ 2 หรือตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 460) 3.1 ลดเหลือร้อยละ 20 ของกำไรสุทธิเฉพาะส่วน ที่ไม่เกินยี่สิบล้านบาท สำหรับบริษัทที่มี หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย “ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ”

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 3.2 ลดเหลือร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิเฉพาะส่วน ที่ไม่เกินสามร้อยล้านบาท สำหรับบริษัทที่มี หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกเหนือจากกรณี “ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ”(ตามพระราชกฤษฎีกาฯฉบับที่ 475)

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 4. SMEs ทุนชำระแล้ว ณ วันสุดท้าย ไม่เกิน 5 ล้านบาท 15% เฉพาะกำไรส่วนที่เกิน 150,000-1,000,000 บาท 25% เฉพาะกำไรส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท – 3 ล้านบาท 30% เฉพาะกำไรส่วนที่เกิน 3 ล้านบาท (กำไรสุทธิ 150,000 บาทได้รับยกเว้น ) (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 471))

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 5. สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค 10% (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 405)) 6. บริษัทฯ ที่ได้รับใบอนุญาตให้ค้าน้ำมันเชื้อเพลิง 10% (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 426))

การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 7. ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เหลือร้อยละ 3 ของ กำไรสุทธิให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมี สถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2552

การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ

ภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ รายได้ - รายจ่าย = กำไรสุทธิ = (ขาดทุนสุทธิ)

การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ประมวลรัษฎากรกำหนด เช่น -ม.65 (ท.ป.1/2528 แก้ไข ท.ป.155/2549) -ม.65 ทวิ - ม.65 ตรี 130

มาตรา 65 ทวิ (1) รายการที่ระบุใน ม.65 ตรี ไม่ให้ถือเป็นรายจ่าย ม.65 ทวิ (1) รายการที่ระบุใน ม.65 ตรี ไม่ให้ถือเป็นรายจ่าย (2) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (3) ราคาทรัพย์สินอื่นนอกจาก (6) ถือตามราคาที่พึงซื้อได้ตามปกติ 131

มาตรา 65 ทวิ (4) กรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ ให้กู้ยืมโดยไม่ค่าตอบแทน (5) เงินตรา หรือทรัพย์สินซึ่งมีราคาเป็นเงินตราต่างประเทศเหลืออยู่ในวันสิ้นรอบให้ตีราคาเป็นเงินตราไทย (6) ราคาสินค้าคงเหลือในวันสิ้นรอบฯ ใช้ราคาทุน/ราคาตลาดแล้วแต่อย่างใดต่ำกว่า 132

มาตรา 65 ทวิ (7) การคำนวณราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากตปท. (8) ถ้าราคาของสินค้าเป็นเงินตปท. ให้คำนวณเป็นเงินตราไทย (9) การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ (10) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกำไร (11) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 133

มาตรา 65 ทวิ (12) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกำไรที่อยู่บังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม (13) มูลนิธิหรือสมาคม ไม่ต้องนำค่าบำรุงสมาชิก/ค่าลงทะเบียน เงินบริจาคมาเป็นรายได้ (14) ภาษีขาย ไม่ต้องนำมาเป็นรายได้ 134

มาตรา 65 ตรี (1) เงินสำรองต่าง ๆ ม.65 ตรี (1) เงินสำรองต่าง ๆ (2) เงินกองทุน เว้นแต่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (3) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว เสน่หาฯ (4) ค่ารับรองหรือค่าบริการที่ไม่เป็นตามกฎกระทรวง 135

มาตรา 65 ตรี (5) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (6) เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญา ภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล (6 ทวิ) Vat ที่ชำระและภาษีซื้อ (7) การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 136

มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเอง (8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนที่เกินสมควร (9) รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเอง (10) ค่าตอนแทนซึ่งบจ.เป็นเจ้าของและใช้เอง (11) ดอกเบี้ยที่คิดให้สำหรับทุน กองทุนของตนเอง 137

มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไร/กิจการโดยเฉพาะ (12) ผลเสียหายอันได้กลับคืนจากการประกัน (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไร/กิจการโดยเฉพาะ (14) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในปทท. (15) ค่าซื้อทรัพย์สินและรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อ/ขายที่เกินปกติ 138

มาตรา 65 ตรี (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ราคาต่ำลง (16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไป (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ราคาต่ำลง (18) รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ (19) รายจ่ายใด ๆ ที่กำหนดจ่ายจากกำไรเมื่อสิ้นรอบ (20) รายจ่ายที่มีลักษณะทำนองเดียวกับ (1) – (19) 139

กำไรสุทธิทางบัญชี - กำไรสุทธิทางภาษี การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ต้องทำการปรับปรุง กำไรสุทธิทางบัญชีเป็น กำไรสุทธิทางภาษี

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี กำไรสุทธิทางบัญชี = xx หัก - รายได้ที่ กม.ยกเว้น xx - รายจ่ายที่ กม.ให้หักได้เพิ่ม xx = xx คงเหลือ = xx บวก - รายได้ที่ กม. กำหนดขึ้น xx - รายจ่ายที่ กม.ห้ามหัก xx = xx รวม = xx

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี หัก ขาดทุนสุทธิไม่เกิน 5 รอบ xx คงเหลือ xx บวก รายจ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา เพื่อสนับสนุน ด้านการเรียนรู้และนันทนาการส่วนที่เกินร้อยละ 10 = xx บวก รายจ่ายเพื่อสนับสนุนการกีฬาตามโครงการ ฯ ส่วนที่เกินร้อยละ 20 = xx

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี บวก รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือ สาธารณประโยชน์ส่วนที่เกินร้อยละ 2 = xx บวก รายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือการกีฬา ส่วนที่เกินร้อยละ 2 = xx กำไรสุทธิทางภาษี = xx ภาษีเงินได้นิติบุคคล = xx X อัตราภาษี

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี รายได้บางอย่าง ทางบัญชีถือเป็นรายได้ แต่ทางภาษีไม่ต้องนำมาถือเป็นรายได้ทั้งหมดหรือบางส่วน เช่นเงินปันผล

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี กรณีเงินปันผลได้รับยกเว้นภาษีทั้งหมด บจ. ตั้งตาม ก.ม.ไทย จ่ายเงินปันผลให้ 1. บจ. จดทะเบียน 2. บจ. เครือเดียวกัน (ถือหุ้น บจ. ผู้จ่ายปันผลไม่น้อยกว่า 25 %) ภายใต้เงื่อนไขพิเศษ คือ บจ. ผู้รับปันผลต้องถือหุ้นไม่น้อยกว่า 3 เดือนก่อนจ่ายปันผลและถือต่อไปอีก 3 เดือนนับแต่จ่ายปันผล

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี กรณีเงินปันผลได้รับยกเว้นภาษีครึ่งเดียว บจ. ตั้งตาม ก.ม.ไทย จ่ายเงินปันผล ให้ บจ. ตั้งตาม ก.ม.ไทย มิใช่ บจ. จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ภายใต้เงื่อนไขพิเศษ

ไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ถือหุ้นบริษัทจ่ายเงินปันผล การยกเว้นเงินปันผล จ่าย รับ - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย - กองทุนรวม - สถาบันการเงินฯ - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย ไม่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ (1) กึ่งหนึ่ง - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย - กองทุนรวม - สถาบันการเงินฯ (2) ทั้งหมด - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย ไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ถือหุ้นบริษัทจ่ายเงินปันผล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย (3) ทั้งหมด รับโอนหุ้นมา รับเงินปันผล โอนหุ้นไป เงื่อนไข 3 เดือน 3 เดือน

พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 460) ขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ประกอบกิจการ ซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน ไม่นำมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือของเครื่องจักรที่ขายหักเป็นรายจ่าย

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี รายได้บางอย่างทางบัญชี ไม่ถือเป็นรายได้แต่ทางภาษีถือเป็นรายได้ เช่น การประเมินรายได้ตาม ม. 65 ทวิ(4)

รายได้ทางบัญชี - รายได้ทางภาษี ม.65 ทวิ(4) การโอนทรัพย์สิน โดยไม่มีค่าตอบแทน ค่าบริการหรือ ให้บริการ ดอกเบี้ย หรือ มีค่าตอบแทน ค่าบริการ ให้กู้ยืมเงิน หรือดอกเบี้ยต่ำกว่าราคาตลาด โดยไม่ มีเหตุอันสมควร เจ้าพนักงานประเมิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ย ตามราคาตลาดในวันโอนให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงิน

รายจ่ายทางบัญชี - รายจ่ายทางภาษี รายจ่ายบางอย่างทางบัญชีถือเป็นรายจ่ายได้ทั้งหมด แต่ทางภาษีถือเป็นรายจ่ายได้ไม่หมด เช่น รายจ่ายบริจาคเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือ สาธารณะประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา โดยทางภาษีให้หักได้ดังนี้ 1. รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือสาธารณะประโยชน์หักได้ไม่เกินร้อยละ 2 ของกำไรสุทธิ 2. รายจ่ายเพื่อการศึกษา หรือเพื่อการกีฬา หักได้ไม่เกินร้อยละ 2 ของกำไรสุทธิ

การหักรายจ่ายสำหรับการบริจาค กรณีมีรายจ่ายบริจาคกรณีเดียวหักได้ไม่เกิน 2/102 กรณีมีรายจ่ายบริจาคสองกรณีหักได้ไม่เกิน 2/104

รายจ่ายค่ารับรอง ค่ารับรอง ทางบัญชีหักได้เป็นรายจ่ายได้ทั้งหมด ทางภาษีอาจหักได้ไม่หมด - ถ้าเป็นสิ่งของหักได้ไม่เกินคนละ 2,000 บาท

รายจ่ายค่ารับรอง ถ้าเป็นเงินค่ารับรอง หักได้ เท่าจำนวนที่ต้องจ่ายแต่รวมกันต้องไม่เกินร้อยละ 0.3 ของจำนวนเงินยอดรายได้ หรือยอดขายที่ต้องนำมารวมคำนวณกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายใด ๆ หรือของเงินทุนที่ได้รับชำระแล้ว ณ วันสิ้นรอบ แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า แต่สูงสุดได้ไม่เกิน 10 ล้านบาท

รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายบางอย่างทางบัญชีถือเป็นรายจ่ายได้ แต่ทางภาษีถือเป็นรายจ่ายไม่ได้ เช่น 1. เบี้ยปรับหรือเงินเพิ่มภาษีอากร ค่าปรับทางอาญา ตาม ป.รัษฎากร 2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล /ภาษีมูลค่าเพิ่ม 3. ภาษีซื้อของผู้ประกอบการจดทะเบียน เว้นแต่ภาษีซื้อต้อง ห้ามมิให้นำมาหักจากภาษีขาย ตาม ม.82/5(4) (ภาษีซื้อค่ารับรอง) และภาษีซื้อต้องห้ามตามประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 42

ไม่จดทะเบียน VAT หักเป็นค่าใช้จ่ายได้ ภาษีซื้อ เครดิตภาษีซื้อได้ หักเป็นค่าใช้จ่ายไม่ได้ จดทะเบียน VAT (4) (6) หักเป็นค่าใช้จ่ายได้ เครดิตภาษีซื้อไม่ได้ (ม.82/5) (1) (2) (3) (5) หักเป็นค่าใช้จ่าย ไม่ได้

สิทธิประโยชน์ทางภาษีด้านรายจ่าย รายจ่ายบางอย่างทางภาษีหักได้มากกว่าที่ได้จ่ายไป (เป็นสิทธิประโยชน์ทางภาษีด้านรายจ่าย) 1. เงินที่ได้จ่ายเป็นค่าจ้างเพื่อทำ R & D ยกเว้นภาษีได้ ร้อยละ 100 ข้อสังเกตุ หน่วยงานวิจัยพัฒนา ต้องเป็นหน่วยงาน ของรัฐ หรือ หน่วยงานวิจัยของเอกชน ที่กระทรวงการคลังรับรอง (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 297))

สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีด้านรายจ่าย 2. เงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา ยกเว้นเป็นจำนวน 2 เท่า ของรายจ่าย แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420)) 3. เงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างและบำรุงรักษาสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของเอกชนหรือราชการ ยกเว้นเป็นจำจำนวน 2 เท่า ของรายจ่าย แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 428))

สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีด้านรายจ่าย 4. เงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน เพื่อการปรับเปลี่ยนแทนอุปกรณ์เดิมเป็นจำนวน ร้อยละยี่สิบห้าของค่าใช้จ่าย(ไม่รวมยานพาหนะ) (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 487))

สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีด้านรายจ่าย 5. เงินที่ได้จ่ายเป็นค่าการศึกษาหรือฝึกอบรมลูกจ้าง เพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน ยกเว้นภาษีได้ร้อยละ 100 ข้อสังเกตุ ต้องศึกษาหรือฝึกอบรมในสถานศึกษา สถานฝึกอบรมวิชาชีพ ที่ทางราชการ จัดตั้งหรือที่ รมว. คลังประกาศกำหนด (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 437))

สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีด้านรายจ่าย เงินได้ที่จ่ายเป็นค่าห้องสัมมนาและค่าห้องพักในการ อบรมภายในประเทศ ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดขึ้นให้แก่ลูกจ้างสำหรับเงินเป็นจำนวน ร้อยละ100(พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 482))

สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีด้านรายจ่าย 7. เงินที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการกีฬา ตามโครงการตามยุทธศาสตร์ 4 ปี สร้างกีฬาชาติ (พ.ศ.2548-2551) ให้แก่กองทุนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2542 (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 458)) - ยกเว้นเป็น 1.5 เท่าของรายจ่ายแต่ต้องไม่เกิน ร้อยละ 20 (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 458))

สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีด้านรายจ่าย บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ สำหรับเงินได้ ที่จ่ายเพื่อการลงทุนหรือการต่อเติมเปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินแต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม มาตรา 65 ตรี (5) เป็นจำนวนร้อยละยี่สิบห้าของเงินได้ที่ได้ค่าใช้จ่ายไปมี มูลค่าตั้งแต่ ห้าล้านบาทขึ้นไป (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 460))

สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีด้านรายจ่าย 9. รายจ่ายให้คนพิการ หรือรายจ่ายเกี่ยวกับการจัด อุปกรณ์ที่อำนวยความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการ หักรายจ่ายเป็น 100ของรายจ่าย(พ.ร.บ.การส่ง เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 )

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี ลักษณะของหนี้ที่จำหน่ายหนี้สูญได้ 1. ต้องเป็นหนี้จากการประกอบกิจการ หรือเนื่องจากการ ประกอบกิจการ 2. ต้องเป็นหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความ และมีหลักฐานชัดแจ้งที่สามารถฟ้องลูกหนี้ได้

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี วิธีการจำหน่ายหนี้สูญ (กฎกระทรวง 186) แบ่งตามวงเงินที่ลูกหนี้แต่ละรายเป็นหนี้ได้ 3 ระดับ ระดับ 1 หนี้เกิน 500,000 บาท ระดับ 2 หนี้ไม่เกิน 500,000 บาท ระดับ 3 หนี้ไม่เกิน 100,000 บาท ข้อสังเกตุ - พิจารณาจำนวนหนี้ของลูกหนี้แต่ละราย - หนี้ต้องถึงกำหนดชำระแล้ว

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี หนี้ระดับ 1 ต้องดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. ติดตามทวงถามโดยมีหลักฐาน และไม่ได้รับชำระหนี้โดยปรากฎว่า (ก) ล.น. ตาย + ไม่มีทรัพย์ใด ๆ จะชำระหนี้ได้ หรือ (ข) ล.น. เลิกกิจการ + มีหนี้ของ จ.น. อื่นมีบุริมสิทธิเป็น จำนวนมากกว่าทรัพย์สินของ ล.น.

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี 2. - ฟ้องคดีแพ่ง + ชนะคดี + บังคับคดี + ไม่มีทรัพย์สินใด ๆ ที่จะชำระหนี้ได้ - ขอเฉลี่ยหนี้ + ไม่มีทรัพย์สินใด ๆ ที่จะชำระหนี้ได้

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี 3. - ฟ้องคดีล้มละลาย , ยื่นคำขอรับชำระหนี้ + มีการประนอมหนี้ + ศาลเห็นชอบประนอม - ลูกหนี้ประนอมหนี้ไม่สำเร็จ + ศาลพิพากษาให้ล้มละลาย + แบ่งทรัพย์ครั้งแรกแล้ว

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี หนี้ระดับ 2 ไม่เกิน 500,000 บาท ต้องดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. ติดตามทวงถามโดยมีหลักฐานและไม่ได้รับชำระหนี้ โดย ปรากฎว่า (ก) ล.น. ตาย + ไม่มีทรัพย์ใดๆจะชำระหนี้ได้ หรือ (ข) ล.น. เลิกกิจการ + มีหนี้ของ จ.น. อื่นมีบุริมสิทธิเป็น จำนวนมากกว่าทรัพย์สินของ จ.น.

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี 2. ฟ้องศาลคดีแพ่ง + ศาลรับฟ้อง หรือ ยื่นขอเฉลี่ยหนี้ + ศาลรับคำร้อง 3. ฟ้องศาลล้มละลาย + ศาลรับฟ้อง หรือ ขอรับชำระหนี้ + ศาลสั่งรับคำขอรับชำระหนี้

หลักเกณฑ์การจำหน่ายหนี้สูญทางภาษี หนี้ระดับ 3 ไม่เกิน 100,000 บาท (กรณี จ.น. เป็นธนาคาร / บจ. เงินทุนลูกหนี้ไม่เกิน 200,000 บาท) 1. มีหลักฐานการทวงถาม + หากฟ้องไม่คุ้ม

รายจ่ายผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 รอบ บ/ช เพราะฉะนั้น รอบ บ/ช. 2546 500,000 - 100,000 - = 400,000 * อัตราภาษี - 500,000.- 2548 (500,000)(100,000) 100,000.- 2547 (600,000)(100,000) 2546 (600,000) 400,000.- 2545 (1,000,000) 200,000.- 2544 (1,200,000) 800,000.- 2543 2,000,000.- 2542 ขาดทุนสะสม ขาดทุนสุทธิ กำไรสุทธิ รอบ บ/ช

รายจ่ายรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน มูลค่าเกินทุนของทรัพย์สินประเภทรถยนต์นั่ง และ รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ส่วนที่เกินคันละ 1,000,000 บาท หักรายจ่ายไม่ได้

รายจ่ายรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ค่าเช่าทรัพย์สินประเภทรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน เฉพาะส่วนที่เกินคันละ 36,000 บาทต่อเดือนหรือเกิน 1,200 บาท ต่อวัน หักเป็นรายจ่ายไม่ได้

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินให้หักตามหลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนดโดย พ.ร.ฎ. ออกตามความในประมวลรัษฎากรฉบับที่ 145

หลักเกณฑ์ การหักค่าสึกหรอค่าเสื่อมตาม พ.ร.ฎ. 145 1. ต้องคำนวณหักตาม ระยะเวลาที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาใน แต่ละรอบ บ/ช เป็นรายวัน โดยเริ่มต้นหักตั้งแต่วันที่ ได้ทรัพย์สินนั้นมา

เช่น บริษัทซื้อรถบรรทุกไว้ใช้งาน 1 คัน ราคา 500,000 บาท ในวันที่ 1 ธ.ค. 2545 31/365 * 500,000 * 20/100 = 8,493.13

วันเริ่มต้นหัก คือ วันที่ทรัพย์สินพร้อมที่จะใช้งานได้หรือใช้ประโยชน์ได้ เช่น - วันติดตั้งเครื่องจักรเสร็จ เพียงแต่ วางรากฐานยังหักค่าสึกหรอไม่ได้ - ซื้อรถยนต์ แม้ยังไม่ได้จดทะเบียนโอน แต่กรรมสิทธิโอนมาเป็นของบริษัท แล้วจึงมีสิทธิหักได้

2. ต้องหักติดต่อกันไปทุกรอบ จะเว้นเพื่อนำไปหักในรอบ บ/ช อื่นไม่ได้ ขัดต่อ ม. 65 ตรี (9)

มูลค่าต้นทุนทรัพย์สิน = ราคาที่ซื้อมา + คชจ. ต่าง ๆ เช่นค่าติดตั้งดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม ระหว่างซื้อถึงวันที่ทรัพย์สินพร้อมจะใช้งาน (คชจ. หลังจากทรัพย์สินพร้อมใช้งานนั้น ต้องนำมาถือเป็นรายจ่าย)

ดอกเบี้ยเงินกู้ที่ต้องเสียในระหว่างการก่อสร้าง ถือเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (ตาม 65 ตรี (5))หักเป็นรายจ่ายไม่ได้ ต้องนำไปรวมเป็นต้นทุนทรัพย์สินเพื่อหักค่าเสื่อม

- คชจ. หลังจากทรัพย์สินพร้อมใช้งานแล้ว ต้องนำมาถือเป็นรายจ่าย - ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินที่เกิดตั้งแต่วันที่ทรัพย์สินอยู่ในสภาพพร้อมใช้ พ.ร.ฎ. 375 ให้ยกเว้นภาษี

มูลค่าต้นทุนทรัพย์สินต้องรวม VAT หรือไม่

คชจ. เกี่ยวกับการซ่อมบำรุงรักษาทรัพย์สิน หาก ทำให้ทรัพย์สินใช้ได้ยืนยาวขึ้น ถือเป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สิน เช่น คชจ. ยกเครื่องรถยนต์ แต่ถ้าเป็นค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาตามปกติถือเป็น คชจ.

เงื่อนไขการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ทรัพย์สินของกิจการแม้จะมีการซ่อมบำรุงรักษาเป็นประจำ โดยสภาพย่อมสึกหรอเพราะการใช้หรือเสื่อมราคาเพราะล้าสมัยตามกาลเวลา จึงต้องนำต้นทุนของทรัพย์มาเฉลี่ยถือเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณกำไรขาดทุน กระจายไปตลอดอายุการใช้งาน ซึ่ง ก.ม. กำหนดข้อจำกัดดังนี้

1. ทรัพย์สินที่หักค่าสึกหรอ ค่าเสื่อมราคาไม่ได้ - ที่ดิน - สินค้า - หลักทรัพย์ - ทอง

2. ทรัพย์สินประเภทรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน หักค่าสึกหรอ จากมูลค่าต้นทุนเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้าน เช่น ซื้อรถยนต์มาในราคา 1,300,000 บาท หักค่าสึกหรอได้ 1,000,000 * 20/100 = 200,000 และต่อมาแม้จะมีการขายรถคันนี้ไปก็จะนำต้นทุนเหลืออยู่คือ 300,000 มาคำนวณผลกำไรขาดทุนในการจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินไม่ได้ (พ.ร.ฎ. 315)

3. ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซื้อขายเงินผ่อน มูลค่าต้นทุนให้ถือตามราคาที่พึงต้องชำระทั้งหมด แต่ค่าสึกหรอที่จะนำมาหักในรอบ บ/ช ต้องไม่เกินค่าเช่าซื้อ หรือราคาที่จะต้องผ่อนชำระในรอบ บ/ช นั้น

ตัวอย่าง ซื้อทรัพย์สินราคา 1,000,000 บาท โดยผ่อนชำระค่าสึกหรอร้อยละ 20 ต่อปี ปีแรกชำระไป 150,000 บาท ค่าสึกหรอ 1,000,000 * 20/100 = 200,000 บาท เช่นนี้ จะหักเป็น คชจ. ได้ในรอบแรกเพียง 150,000 บาทเท่านั้น

ข้อสังเกต หลัก ใครเป็นเจ้าของคนนั้นมีสิทธิหักค่าสึกหรอ แต่ยกเว้น กรณีเช่าซื้อ ซื้อขายเงินผ่อน ก.ม. ยอมรับว่าผู้เช่าซื้อหรือผู้ซื้อผ่อนชำระ มีสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นเสมือนเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ดังนั้นในทางกลับกัน ผู้ให้เช่าซื้อ หรือผู้ขายเงินผ่อนย่อมไม่มีสิทธิหักค่าสึกหรอ

กรณีธุรกิจให้เช่าแบบลีสซิ่ง ถือหลักกรรมสิทธิเคร่งครัด เจ้าของกรรมสิทธิยังคงหักค่าสึกหรอได้ ส่วนผู้เช่าหักเป็นรายจ่ายประเภทค่าเช่า ดังนั้น แนวทางตีความของกรมถือว่าการทำลีสซิ่งเป็นการให้เช่าทรัพย์สินอย่างหนึ่ง

การหักค่าสึกหรอ จะหักจนหมด มูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้ การหักค่าสึกหรอ จะหักจนหมด มูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้

ทรัพย์สิน ถ้าได้ทำลายหรือขายไปก่อนหักค่าสึกหรอหมด บริษัทมีสิทธินำค่าสึกหรอที่ยังตัดไม่หมดไปหักเป็น รายจ่ายได้ทั้งจำนวน

อัตราค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ก. อัตราทั่วไป หักได้ไม่เกินอัตราร้อยละของมูลค่าต้นทุนตามประเภทของทรัพย์สินดังนี้

1. อาคาร อาคารถาวร ร้อยละ 5 อาคารชั่วคราว ร้อยละ 100 2. ต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สูญสิ้นไปได้ร้อยละ 5

3. ต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งสิทธิการเช่า - กรณีไม่มีหนังสือสัญญาหรือมีแต่มีข้อกำหนดให้ต่ออายุการเช่าได้ร้อยละ 10 - กรณีมีหนังสือสัญญาเช่าที่ไม่มีข้อกำหนดให้ต่อสัญญาเช่าหรือให้ต่อได้เพียงระยะเวลาที่จำกัดแน่นอน (ร้อยละ 100/ จำนวนปีอายุการเช่า + อายุที่ต่อได้)

4. ต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งสิทธิในกรรมสิทธิ สูตร กู้ดวิลล์ เครื่องหมายการค้า สิทธิ , ประกอบกิจการตามใบอนุญาต ลิขสิทธิ - ไม่จำกัดอายุการใช้ ร้อยละ 10 - จำกัดอายุการใช้ (ร้อยละ 100/จำนวนปีอายุการใช้)

ทรัพย์สินอย่างอื่นนอกจากที่ดินและสินค้า ร้อยละ 20 ทรัพย์สินอย่างอื่นนอกจากที่ดินและสินค้า ร้อยละ 20

ข้อสังเกต 1. อัตราร้อยละของค่าสึกหรอ จะเกินกว่าที่ ก.ม. กำหนดไม่ได้ แต่น้อยกว่าได้ เว้นแต่การหักค่าสึกหรอ ตามวิธีการทางบัญชีบางวิธีมีอัตราบางปีเกินกว่าที่ ก.ม. กำหนดก็ให้กระทำได้แต่จำนวนปีอายุการใช้งานต้องไม่น้อยกว่า 100 ของอัตราร้อยละที่กำหนดข้างต้น เช่นวิธีผลรวมจำนวนปีการใช้งาน

2. อายุการใช้งานจะน้อยกว่า 100/ อัตราร้อยละที่กำหนดไม่ได้ เว้นแต่ ทรัพย์สินประเภทคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ได้มาตั้งแต่ 31 ม.ค. 2545 สามารถเลือกหักภายใน 3 รอบ (พ.ร.ฎ 395 พ.ศ.2545)

ข. อัตรา สำหรับการหักค่าสึก หรือ ตามวิธี Double – Declining Balance Method (ยอดลดลงทวีคูณ)

ตั้งแต่ 23 ต. ค 42 เป็นต้นไป ทรัพย์สินอย่างอื่น ตาม ม ตั้งแต่ 23 ต.ค 42 เป็นต้นไป ทรัพย์สินอย่างอื่น ตาม ม.4 (5) ซึ่งไม่ใช่รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน จะใช้วิธีการหักแบบยอดลดลงทวีคูณ คือ 2 เท่าของอัตราที่กำหนด โดยคำนวณจากมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือ โดยจำนวนปีต้องไม่น้อยกว่า 5 ปี (เว้นแต่คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์) และในรอบสุดท้ายจะหักค่าสึกหรอ โดยรวมจำนวนมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือทั้งหมดด้วยก็ได้ แต่ต้องเหลือมูลค่าซากไว้

ตัวอย่าง เครื่องจักรราคาทุน 130,000 อายุการหักค่าสึกหรอ 5 ปี ปี การคำนวณ ค่าเสื่อม ค่าเสื่อมสะสม ราคาสุทธิตาม บ/ ช ต้นปีที่ 1 130,000 สิ้นปีที่1 40%ของ130,000 52,000 52,000 78,000 “ 2 40%ของ 78,000 31,200 83,200 46,800 “ 3 40%ของ46,800 18,720 101,920 28,080 “ 4 40%ของ28,080 11,232 113,152 16,848 “ 5 40%ของ16,848 6,739 119,891 10,109 119,891

ราคาซาก เหลือ 10,109 บาท ซึ่งในรอบสุดท้าย ให้นำมารวมจำนวนมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือ รอบสุดท้าย = 6,739 + 10,109 และให้เหลือซากไว้ 1 บาท

- การหักค่าสึกหรอด้วยวิธียอดลดลงทวีคูณใช้ได้กับทรัพย์สินทั่วไปทุกประเภท ยกเว้นรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ถ้าไม่ใช้อัตราข้อ ข. ก็ต้องหักตามอัตราทั่วไป ตามข้อ ก.

ค. อัตราสำหรับการหักค่าสึกหรอ ของเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการวิจัยและพัฒนาหักค่าสึกหรอ เบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินมาในอัตราร้อยละ 40 สำหรับมูลค่าต้นทุนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตราตาม พ.ร.ฎ. ฉบับที่ 145

เครื่องจักร อุปกรณ์ R & D - ต้องไม่ใช่เครื่องจักรที่ใช้ผลิตสินค้า หรือให้บริการ เว้นแต่ใช้เพื่อ ก. ทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ ข. ปรับปรุงการผลิต เพื่อลดต้นทุน หรือเพิ่มผลผลิต ฯลฯ ไม่ว่าวิจัยพัฒนาของตนเองหรือผู้อื่น - ต้องนำไปใช้งานได้ตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป - มีมูลค่าต้นทุนไม่ต่ำกว่า 100,000 บาท - ต้องยื่นแบบแจ้งการใช้เครื่องจักร ด้วยแบบ ค.จ.01

ง. อัตราการหักค่าสึกหรอของทรัพย์สินประเภทเครื่องบันทึกการเก็บเงิน (1) ร้อยละ 100 ของมูลค่าต้นทุนตามเงื่อนไข พ.ร.ฎ.145 (เฉลี่ยเป็นรายวัน) หรือ (2) หักค่าสึกหรอเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาอัตรา ร้อยละ 40 (ไม่เฉลี่ยรายวัน) ส่วนที่เหลือให้หักตามอัตราทั่วไปตาม พ.ร.ฎ. 145 (เฉลี่ยรายวัน)

เครื่องบันทึกการเก็บเงิน 1. เป็นทรัพย์สินของผู้ประกอบการจด VAT ที่ได้รับอนุมัติให้ใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินในการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ 2. เครื่องบันทึกการเก็บเงินชนิดคอมพิวเตอร์ มูลค่า ต้นทุนรวม Software และอุปกรณ์ส่วนต่อเชื่อม แต่ไม่รวมระบบควบคุมกลาง

ตัวอย่าง การหักค่าสึกหรอเบื้องต้นในอัตรา 40% ของมูลค่าต้นทุน - บจ. ก.จำกัด จดทะเบียนจดทะเบียน VAT ได้รับอนุมัติให้ออกใบกำกับภาษีอย่างย่อมีรอบบ/ช 1 ม.ค - 31 ธ.ค ได้ซื้อเครื่องบันทึกการเก็บเงินมาเมื่อวันที่ 1 ธ.ค 45 ในราคา 1,000,000 บาท หักด้วยวิธีเส้นตรงได้ดังนี้ - รอบบัญชี 2545 40 % = 400,000 - และหักได้อีก 20% ของส่วนที่เหลือ = 600,000 * 20/100 *31/365 = 10,191.78 รอบ 2545 หักได้ 400,000 + 10,191.78 = 510,191.78 - รอบบัญชี 2546 - 2549 หักได้รอบละ 120,000 รอบบัญชี 2550 = 600,000* 20/100* 334/365 = 109,808.22

(ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2551 รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์) จ. การหักค่าสึกหรอของทรัพย์สินประเภทคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (พ.ร.ฎ.395) พ.ย 2545 - หักได้ภายใน 3 รอบ บ/ช นับแต่วันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา เฉลี่ยรายวัน - ไม่รวมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ - ใช้กับทรัพย์สินที่ได้มาตั้งแต่ 31 ม.ค 45 ถ้าได้มาก่อนหักได้ 5 ปี ปีละ 20% - กรณีได้มาหลัง 31 ม.ค 45 จะเลือกหักแบบทั่วไปคือ 5 ปี ปีละ 20% ก็ได้ (ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2551 รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์)

ตัวอย่าง บริษัทซื้อคอมพิวเตอร์ เมื่อ 1 ก.ค 45 มูลค่า 50,000 บาท บริษัทเลือกหัก 3 รอบ บ/ช นับแต่วันที่ได้มาหักได้ดังนี้ รอบ 2545 (183/365* 50,000/3) = 8,333.33 บาท “ 2546 (365/365* 50,000/3) = 16,666.66 บาท “ 2547 (365/365* 50,000/3) = 16,666.66 บาท “ 2548 หักได้ตามมูลค่าต้นทุนที่เหลือ แต่คงมูลค่าซากได้อย่างน้อย 1 บาท

ฉ. การหักค่าสึกหรอ สำหรับทรัพย์สินบางประเภทของกิจการ SMEs.

สิทธิประโยชน์เกี่ยวกับการหักค่าสึกหรอสำหรับ SMEs. 1. คอมพิวเตอร์ , อุปกรณ์คอมฯ (ที่ได้มาตั้งแต่ 31 ม.ค. 45) - หักเบื้องต้นในอัตราร้อยละ 40 - ส่วนที่เหลือหักได้ภายใน 3 รอบ บ/ช ตาม จ. - ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2551 รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2. อาคารโรงงาน - หักเบื้องต้น ในอัตรา 25% - ส่วนที่เหลือหักตาม พ.ร.ฎ. ฉบับที่ 145 คือ 5% 3. เครื่องจักรและอุปกรณ์ - หักเบื้องต้นในอัตรา 40% - ส่วนที่เหลือหักตาม พ.ร.ฎ ฉบับที่ 145 คือ 20% 4. ทรัพย์สินอื่น - หักอัตราร้อยละ 100 - รวมกันไม่เกิน 500,000 (ได้มาและพร้อมใช้งานภายใน 31 ธ.ค.53) พรฎ.473

ช. การหักค่าสึกหรอ อาคารถาวรที่ได้มาระหว่าง 6 ก.ย 44 - 5 ก.ย 45 เพื่อใช้ประกอบกิจการมิใช่เพื่อขาย - หักเบื้องต้นได้ 40% - ส่วนที่เหลือหักตาม พ.ร.ฎ ฉบับที่ 145 คือ 5% การหักค่าสึกหรอเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ผลิตสินค้าหรือให้บริการ - หักเบื้องต้นได้ 40% - ส่วนที่เหลือหักตาม พรฎ. ฉบับที่ 145 หรือ 20% (ได้มาและพร้อมใช้งานภายใน 31 ธ.ค.53) พรฎ.473

การคำนวณบริจาคตาม 420,428,458 กำไรสุทธิ = 300 บวก (1) 420 + 428 (10%) 10 (2 เท่า = 20) (2) 458 (20%) 80 (1.5 เท่า = 120) กำไรก่อนหัก (420,428,458) 390 หัก (1) 420 + 428 (390 x 10/130) 20 คงเหลือ 370 (2) 458 390 x 20/130 = 60 370 x 20/120 = 61.67 61.67 กำไรสุทธิตามประมวลรัษฎากร 308.33

การคำนวณบริจาคตาม 420,428,458 และ ม.65 ตรี(3) กำไรสุทธิ = 110,000 หัก ได้ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน (1) (4,000 8,000) 110,000 x 10/130 = 8,461.57 8,000 (2) (2,500 3,750) 110,000 x 20/130 = 16,923.08 3,750 กำไรก่อนหักการกุศลสาธารณะ & การกีฬา (มาตรา 65 ตรี(3) 95,250 หัก ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน (1) การกุศล (1,000) 98,250 x 2/104 = 1,889.42 1,000 (2) การศึกษา การกีฬา(1,500) 98,250 x 2/104 = 1,889.42 1,500 กำไรสุทธิตามประมวลรัษฎากร 95,750

และกำหนดเวลาเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล แบบแสดงรายการ และกำหนดเวลาเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งรอบระยะเวลาบัญชียื่นด้วยแบบ ภ.ง.ด. 51 ภายใน 2 เดือน นับจากวันสุดท้ายของ 6 เดือนแรก ของรอบระยะเวลาบัญชี ภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ยื่นด้วยแบบ ภ.ง.ด. 50 ภายใน 150 วัน นับจากวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย บริษัทห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ประกอบกิจการขนส่งระหว่างประเทศ ทำกิจการที่อื่นรวมทั้งในประเทศไทย (ขนคนโดยสาร+ ขนของ) มูลนิธิสมาคม

นิติบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ มิได้ประกอบกิจการในไทย แต่มีเงินได้ หรือรับเงินกำไรจากไทย ฐานเงินที่จ่ายจากไทยหรือจ่ายในไทย นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศที่มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย และได้รับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย กฎหมายให้เสียโดยวิธีหักภาษี