ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
กองคลัง ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ยุทธศาสตร์กองคลัง
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ISO/DIS 9001 ระบบบริหารงานคุณภาพ New Version Purpose for Training only.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
1. ขอบเขต 2. เอกสารอ้างอิง 3. คำศัพท์ และคำจำกัดความ
มาตรฐาน ISO ใครควรทำ ทำแล้วได้อะไร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
Continuous Quality Improvement
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การติดตาม (Monitoring)
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ

ภาวะผู้นำ (5) ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ (4) วางแผน (Plan) ปฎิบัติงาน (Do) แก้ไขปรับปรุง (Act) ตรวจสอบ (Check) การสนับสนุน และการปฏิบัติการ (7,8)   บริบทขององค์กร (4) ข้อกำหนดของลูกค้า ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4) ความพึงพอใจของลูกค้า ผลลัพธ์ของการบริหารจัดการเรือ การให้บริการเรือ ภาวะผู้นำ (5) การประเมินสมรรถนะ (9) การปรับปรุง (10) ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ (4) การวางแผน (6)  

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน กำหนดกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กร พร้อมทั้งวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งขององค์กร 4.1 ความเข้าใจในองค์กรและบริบทขององค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดอ่อน จุดแข็งขององค์กร ระบุในคู่มือคุณภาพ ระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรในการบริหารเรือ 4.2 ความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนร่วม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียระบุในคู่มือคุณภาพ ระบุขอบเขตการขอรับรองระบบ และข้อกำหนดที่ขอรับการยกเว้น 4.3 การพิจารณาขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพ ขอบเขตการขอรับรองระบบระบุในคู่มือคุณภาพ จัดทำคู่มือคุณภาพ รวมทั้งแผนผังธุรกิจขององค์กร คู่มือคุณภาพ 4.4 ระบบบริหารคุณภาพ

สิ่งที่ต้องคำนึงในการจัดทำระบบ องค์กรต้องพิจารณากำหนดประเด็นทั้งภายในและภายนอก ที่มีความเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ และการส่งผลกระทบต่อความสามารถในการบรรลุตามระบบ ISO 9001:2015 4.1 องค์กรต้องกำหนดขอบเขตและการประยุกต์ใช้ของระบบ ISO 9001:2015 เพื่อระบุขอบเขตการใช้งานในเรื่องของการให้บริการทางเรือ และระบุข้อกำหนดที่ทำการยกเว้นที่ไม่ประยุกต์ใช้ในระบบ ISO 9001:2015 4.3 องค์กรต้องพิจารณากระบวนการที่จำเป็นต่อการดำเนินงานของระบบ ISO 9001:2015 และการประยุกต์ใช้ทั่วองค์กร สำหรับขอบเขตที่จำเป็น องค์กรจะต้องควบคุมเอกสารที่สนับสนุนกระบวนการทำงาน 4.4 องค์กรต้องพิจารณาพิจาณาข้อกำหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับระบบ ISO 9001:2015 4.2

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 5.1 ความเป็นผู้นำและความมุ่งมั่น ผู้บริหารจัดตั้งนโยบายคุณภาพ วัตถุประสงค์คุณภาพ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กร นโยบายคุณภาพ วัตถุประสงค์คุณภาพ ระบุในคู่มือคุณภาพ ผุ้บริหารสื่อสาร และทบทวนนโยบาย วัตถุประสงค์คุณภาพ ให้พนักงานในองค์กรเข้าใจและปฏิบัติตาม 5.2 นโยบายคุณภาพ สื่อสารนโยบายผ่านคู่มือคุณภาพ จัดทำแผนผังองค์กร หน้าที่รับผิดชอบของพนักงานในองค์กร 5.3 บทบาท หน้าที่ และอำนาจ แบบฟอร์มกำหนดหน้าที่รับผิดชอบ

สิ่งที่ต้องคำนึงในการจัดทำระบบ ผู้บริหารระดับสูงต้องแสดงให้เห็นภาวะผู้นำและความมุ่งมั่นต่อระบบ ISO 9001:2015 โดยจัดทำนโยบายและวัตถุประสงค์คุณภาพ และสอดคล้องกับบริบทและทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร 5.1

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 6.1 การระบุความเสี่ยงและโอกาส วางแผนงานพร้อมประเมินความเสี่ยงและโอกาสในทุกกระบวนการทำงาน แบบฟอร์มประเมินความเสี่ยง 6.2 วัตถุประสงค์คุณภาพและแผนบรรลุวัตถุประสงค์ กำหนดเป้าหมาย และวางแผนงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ แบบฟอร์ม KPI 6.3 การวางแผนการเปลี่ยนแปลง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงาน จำเป็นต้องวางแผนงานเพื่อให้เป้าหมายการทำงาน แบบฟอร์มบันทึกการเปลี่ยนแปลง

สิ่งที่ต้องคำนึงในการจัดทำระบบ องค์กรต้องพิจารณาถึงความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงระบบ ISO 9001:2015 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงจะต้องดำเนินการภายในแผนงานอย่างสม่ำเสมอ 6.3 องค์กรต้องพิจารณาประเด็นที่ระบุในข้อกำหนด 4.1 และ 4.2 เพื่อพิจารณาความเสี่ยงและโอกาสที่จำเป็นที่จะต้องระบุเพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถบรรลุตามวัตถุประงค์ขององค์กรได้ และกิจกรรมที่ใช้ประเมินความเสี่ยงและโอกาส ควรอยู่บนความสมเหตุสมผลต่อแนวโน้มที่จะเกิดผลกระทบต่อความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์และบริการทางเรือ - ทางเลือกในการระบุความเสี่ยงและโอกาส อาจรวมถึง การหลีกเลี่ยง, นำความเสี่ยงไปแสวงหาโอกาส - โอกาสสามารถนำไปสู่การปรับใช้วิธีการใหม่ มีตลาดกลุ่มใหม่ มีลูกค้ารายใหม่ มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ เป็นต้น 6.1

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 7.1 ทรัพยากร จัดหาทรัพยากรทั้งในด้านบุคลากรสำนักงาน และเรือ รวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ แบบฟอร์มประเมินผล 7.2 ความสามารถ ฝึกอบรมพนักงานสำนักงาน และเรือ ให้ตรงตามคุณสมบัติของพนักงาน แบบฟอร์มบันทึกการฝึกอบรม 7.3 ความตระหนัก พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจในระบบบริหารคุณภาพ จากการฝึกอบรมและปฏิบัติตาม แบบประเมินหลังการฝึกอบรม

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 7.4 การสื่อสาร สื่อสารให้พนักงานรับทราบถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับระบบ ISO ระบุช่องทางสื่อสารในคู่มือคุณภาพ 7.5 เอกสารข้อมูล บันทึกข้อมูล ควบคุม และแจกจ่ายเอกสารให้ทันสมัยอยู่เสมอ แบบฟอร์มร้องขอดำเนินการเอกสาร 8.1 การวางแผนการดำเนินงานและการควบคุม ดำเนินงาน และควบคุมกระบวนการทำงาน เอกสารวิธีการปฏิบัติงาน

สิ่งที่ต้องคำนึงในการจัดทำระบบ การกำหนดสิทธิ์ในการเข้าดูเอกสาร รวมถึงสิทธ์ในการอ่าน และแก้ไขเอกสาร 7.5

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 8.2 ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ ปฏิบัติตามข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ของลูกค้าและการให้บริการบริหารเรือ สัญญาของลูกค้า 8.3 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ ขอรับการยกเว้น เนื่องจากบริษัทไม่มีการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ ขอยกเว้นข้อกำหนดระบุในคู่มือคุณภาพ 8.4 การควบคุมกระบวนการ ผลิตภัณฑ์และการบริการจากภายนอก ควบคุมกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ และการให้บริการจากภายนอก เช่น ควบคุมการทำงานของฝ่ายจัดซื้อ เป็นต้น แบบประเมินหน่วยงานภายนอก

สิ่งที่ต้องคำนึงในการจัดทำระบบ องค์กรต้องมั่นใจว่าสินค้าและบริการที่ได้รับจากผู้ให้บริการภายนอก ในกระบวนการ ผลิตภัณฑ์และบริการมีความสอดคล้องกับข้อกำหนด องค์กรต้องดูแลทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าหรือผู้ให้บริการภายนอกในขณะที่อยู่ภายใต้การจัดเก็บภายในองค์กร โดยจัดทำเป็นเอกสารข้อมูลไว้ 8.4 8.5

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 8.5 การผลิตและการบริการ ควบคุมการให้บริการ และทรัพย์สินของลูกค้า แบบบันทึกข้อมูลและทรัพย์สินลูกค้า 8.6 การตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการ ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ก่อนขนส่งผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้า แบบฟอร์มลงบันทึกการรับ-จ่ายสินค้า 8.7 การควบคุมผลลัพธ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ก่อนขนส่งผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้า แบบฟอร์มข้อร้องเรียนของลูกค้า

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 9.1 การเฝ้าติดตาม การวัด วิเคราะห์และการประเมินผล ประเมินผลความพึงพอใจของลูกค้า แบบประเมินความพึงพอใจของลูกค้า 9.2 การตรวจประเมินภายใน ตรวจประเมินภายในให้สอดคล้องกับระบบคุณภาพ - แบบตรวจประเมินคุณภาพภายใน - แบบฟอร์มแก้ไขความไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด (CAR) 9.3 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ประชุมทบทวนโดยฝ่ายบริหาร แบบฟอร์มบันทึกการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร

สิ่งที่ต้องคำนึงในการจัดทำระบบ ผู้บริหารสูงสุดต้องทำการทบทวนระบบ ISO 9001:2015 ขององค์กร ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อให้มั่นใจว่ามีความเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง และมีความสอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร ซึ่งต้องมีหัวข้อการประชุมที่ระบุไว้ตามข้อกำหนดอย่างครบถ้วน พร้อมเสนอแนะแนวทางแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 9.3 องค์กรต้องดำเนินการวิเคราะห์และประเมินผล ข้อมูลที่ได้จากการตรวจประเมินตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ 9.2

ข้อกำหนด กระบวนการ เอกสารสนับสนุน 10.1 การปรับปรุง ปรับปรุงในสิ่งที่เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า และเสริมสร้างความพึงพอใจของลูกค้า แบบฟอร์มแก้ไขความไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด (CAR) 10.2 การไม่เป็นไปตามข้อกำหนดและการแก้ไข ปรับปรุงแก้ไขเมื่อเกิดความไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด แบบฟอร์มแก้ไขความไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด (CAR) 10.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการอย่างต่อเนื่อง CAR Log

สิ่งที่ต้องคำนึงในการจัดทำระบบ เมื่อพบสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดรวมถึง ข้อร้องเรียนจากลูกค้า องค์กรต้องทำการควบคุมแก้ไข และบันทึกจัดเก็บเป็นเอกสาร 10.1