บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
Advertisements

การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์ที่สนใจ โปรแกรม Sony Sound Forge 9.0
การอ่าน สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันว่า “ ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 8 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 8 : ออดิโอ (Audio).
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แผ่นดินไหว.
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
SMS News Distribute Service
บทที่ 2 การนำเสนอมัลติมีเดีย ในรูปแบบดิจิตอล
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ศาสนาเชน Jainism.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ทำความรู้จักกับออดิโอ คุณสมบัติของเสียง องค์ประกอบของระบบออดิโอ ประเภทของเสียง อุปกรณ์สำหรับควบคุมและบันทึกเสียง การประมวลผลไฟล์เสียง (Sound Processing) รูปแบบไฟล์เสียง ออดิโอกับมัลติมีเดีย

ทำความรู้จักกับออดิโอ ออดิโอ (Audio) หรือ เสียง (Sound) อยู่ ในรูปพลังงานที่สามารถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไป ยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ เป็นคลื่นที่ประกอบด้วยแอมพลิจูดและความถี่

ทำความรู้จักกับออดิโอ [2] การวัดระดับเสียง มีการใช้อยู่ 2 หน่วย คือ Decibel (dB) และ Hertz (Hz) ระดับเสียง (dB) ชนิดของเสียง เสียงที่แผ่วเบาที่สุดที่มนุษย์ได้ยิน 30 เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด 60 เสียงพูดคุยตามปกติ เสียงจักรเย็บผ้า 85 เสียงตะโกนข้ามเขา หรือพื้นที่โล่ง เพื่อให้ได้ยินเสียงสะท้อนกลับ 90 เสียงเครื่องตัดหญ้า เครื่องจักรโรงงาน รถบรรทุก (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 8 ชม.) 100 เสียงเลื่อยไฟฟ้า เครื่องเจาะที่ใช้ลม (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 2 ชม.) 115 เสียงระเบิดหิน คอนเสิร์ตร็อค แตรรถยนต์ (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 15 นาที) 140 เสียงยิงปืน เครื่องบินเจ็ต ควรสวมอุปกรณ์ป้องกันเสมอ

คุณสมบัติของเสียง คลื่นเสียงจะมีคุณสมบัติทางฟิสิกส์ได้แก่ แอมพลิจูด (Amplitude) ความสูงของคลื่น เมื่อวัดจากแนวปกติ ใช้กำหนดความดัง ของเสียง ความถี่ (Frequency) จำนวนครั้งในการ สั่นของอนุภาคต่อ 1 หน่วยเวลา ใช้ กำหนดเสียงสูงและเสียงทุ้ม รูปแบบคลื่น (Waveform) เป็นลักษณะการ เคลื่อนที่ของคลื่นเสียง ที่แหล่งกำเนิด ต่างกันจะมีรูปแบบคลื่นต่างกัน ความเร็ว (Speed) จะขึ้นอยู่กับการเดินทาง ของเสียงผ่านตัวกลางและอุณหภูมิของ ตัวกลาง ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากจะ ส่งผลให้เสียงเดินทางได้ดีกว่า

องค์ประกอบของระบบออดิโอ การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งาน บนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการ บันทึก (Record), จัดการ (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) เครื่องมือสำหรับประมวลผลและแปลง เสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทาง ไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Mixer)

องค์ประกอบของระบบออดิโอ : ไมโครโฟน (Microphone) ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิด เสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ชนิดตามลักษณะโครงสร้าง คือ ไดนามิกไมโครโฟน (Dynamic Microphone) คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน (Condenser Microphone)

ไดนามิกไมโครโฟนและคอนเดนเซอร์ไมโครโฟน

องค์ประกอบของระบบออดิโอ : เครื่องขยายเสียง (Amplifier) เป็นอุปกรณ์สำหรับขยายสัญญาณอินพุตให้มี ความดังหรือแอมพลิจูดเพิ่มขึ้น แต่มีรูปแบบ คลื่นคงเดิม

องค์ประกอบของระบบออดิโอ : ลำโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงพลังงานไฟฟ้าให้ กลับมาเป็นพลังงานเสียง โดยจะรับสัญญาณ ทางไฟฟ้ามาจากเครื่องขยายเสียง

องค์ประกอบของระบบออดิโอ : อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึกและแก้ไขเสียงใน แต่ละแทร็คได้อย่างอิสระ เช่น ความดัง จังหวะ หรือระงับเสียง การเพิ่มเอฟเฟค เช่น เสียงคอรัส เสียงเอคโค เมื่อผสมเสียงแต่ละแทร็คแล้วจึงผสานเสียงลง ในช่องสัญญาณ หากเป็นระบบสเตอริโอจะใช้ 2 ช่องสัญญาณ แต่หากเป็นเซอราวด์จะ มากกว่า 2 ช่องสัญญาณขึ้นไป

อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer)

ประเภทของเสียง แบ่งได้ 2 ประเภทดังนี้ MIDI (Musical Instrument Digital Interface) คือเสียงสังเคราะห์ที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ สำหรับใช้กับเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์ Digital Audio คือเสียงที่ส่งมาจากแหล่งกำเนิด เสียงจริง ๆ แล้วนำข้อมูลมาแปลงให้อยู่ในรูป ดิจิตอล คุณภาพของสัญญาณเสียงจะขึ้นอยู่กับ อัตราการสุ่ม (Sampling Rate) มีหน่วยเป็น Hz

อุปกรณ์สำหรับควบคุมและบันทึกเสียง ประกอบไปด้วย การ์ดเสียง (Sound Card) เป็นอุปกรณ์ควบคุม เสียงบนคอมพิวเตอร์ มีโปรเซสเซอร์ที่ออกแบบ ให้ทำงานเฉพาะด้านเสียงเท่านั้น นอกจากนี้ยังมี DAC และ ADC ในการแปลงสัญญาณอีกด้วย อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (Audio Transmission) เป็นอุปกรณ์ถ่ายทอด สัญญาณเสียงระหว่างภาคส่งและภาครับ เช่น สายสัญญาณต่างๆ อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recorder) เช่น Audio-CD, DVD MiniDisc, เทป, Harddisk, etc.

Sound Card

1) Audio Jack, 2) RCA Jack, 3) XLR Connector

การประมวลผลไฟล์เสียง (Sound Processing) 1 บันทึกเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง 2 นำไฟล์เสียงเข้าสู่โปรแกรมสำหรับแก้ไขไฟล์เสียงโดยเฉพาะ 3 ปรับแต่ง แก้ไข ตัดต่อ หรือเพิ่มเติมเสียงตามความต้องการ 4 ทดสอบเสียงที่ได้จากการปรับแต่ง 5 นำไฟล์เสียงไปใช้งาน

รูปแบบไฟล์เสียง ไฟล์เสียงจะมีรูปแบบการบีบอัดไฟล์ 2 ประเภท คือ Lossless ที่เก็บรักษาข้อมูลไว้ อย่างครบถ้วน ส่วนอีกวิธีคือ Lossy ซึ่งจะมี การตัดข้อมูลเสียงบางส่วนออกไป ไฟล์เสียงแบบ Lossless ที่นิยมนำมาใช้งาน ได้แก่ WAV, AIFF, FLAC, MID ไฟล์เสียงแบบ Lossy ที่นิยมนำมาใช้งาน ได้แก่ MP3, WMA, OGG, VOC

ออดิโอกับมัลติมีเดีย วัตถุประสงค์ในการนำเสียงเข้ามาประยุกต์ใช้กับ งานด้านมัลติมีเดีย คือ เพื่อให้เข้าใจถึงเนื้อหาที่ต้องการนำเสนอ เพิ่มโอกาสการสื่อสารข้อมูลผ่านช่องทางที่ หลากหลายขึ้น สร้างความสุนทรีย์ในการรับชมสื่อมัลติมีเดีย

ออดิโอกับมัลติมีเดีย [2] ประเภทของเสียงที่นำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ได้แก่ เสียงพูด เป็นสื่อกลางการถ่ายทอดข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพ สื่อความหมายแทนตัวอักษรจำนวน มากได้ แบ่งเป็นเสียงพูดแบบดิจิตอล และเสียงพูด แบบสังเคราะห์ เสียงเพลง เป็นเสียงที่ใช้สื่อถึงอารมณ์ที่เกี่ยวข้อง กับข้อมูลที่ต้องการนำเสนอ และเพิ่มความน่าสนใจ ได้เป็นอย่างดี เสียงเอฟเฟกต์ ใช้สำหรับเพิ่มความแปลกใหม่และ ลูกเล่นให้กับข้อมูลที่ต้องการนำเสนอ แบ่งเป็นเสียง เอฟเฟกต์ธรรมชาติ และเสียงเอฟเฟกต์สังเคราะห์

ออดิโอกับมัลติมีเดีย [3] การนำเสียงไปใช้งานต้องคำนึงถึงความเหมาะสม ต่อไปนี้ ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับงานที่ออกแบบไว้ ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบ MIDI หรือเสียงแบบ ดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไร พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อ สำเร็จรูปมาใช้จึงจะเหมาะสม (มีเว็บไซต์สำหรับ แจกเสียงเพลงและเอฟเฟกต์ฟรีมากมาย) นำไฟล์เสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะกับ มัลติมีเดียที่ออกแบบ ทดสอบการทำงานของเสียงว่ามีความสัมพันธ์กับ งานมัลติมีเดียหรือไม่