เภสัชวิทยา (Pharmacology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนภูมิที่ 1 แสดงการรักษาโรค Croup
Advertisements

Approach to airways disease and smoke related disease
Inhalation therapy Anakapong Phunmanee M.D. Associated Professor
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics)
Pseudoephedrine Hero or murderer ? Sirirat Rattanaarpa M.D.
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
Holistic Management of Asthma
ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ซักซ้อม SRRT แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนเตรียมพร้อมรับมือการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ สำนักระบาดวิทยา.
Neuromuscular Blocking Agents
Pawitra Pulbutr M.Sc. in Pharm (Pharmacology)
Vilasinee Hirunpanich B. Pharm(Hon), MSc in Pharm (Pharmacology)
1 DRUGS AFFECTING AUTONOMIC NERVE TERMINALSรศ.ดร. นพมาศ วงศ์วิทย์เดชา Noppamars Wongwitdecha, Ph.D. Associate Professor Center of Neuro-Psychopharmacology.
Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion
Physiology of therapeutic heat
หัวหน้าหน่วยโรคภูมิแพ้ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชนและ การบริหารยาในเด็ก สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
Patient profile หลังผู้ป่วยฉีด telebrix ประมาณ 5 นาที เกิดผื่นขึ้นตามตัว แพทย์วินิจฉัยแพ้ระดับ mild ประเมินความสัมพันธ์ระดับ probable.
Laryngeal disorders ผศ.นพ.ยงยุทธ วศินวงศ์.
ธนกร ศิริสมุทร เภสัชสนเทศ กลุ่มการบริบาลเภสัชกรรม ฝ่ายเภสัชกรรม
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
ร.ท.นพ.วิศรุต การุญบุญญานันท์ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช
Karoon Ramkaroon, Resident 2 nd year. Patient information  หญิงไทย คู่ อายุ 40 ปี  อาชีพ ค้าขาย  ภูมิลำเนา อ. รัษฎา จ. ตรัง  Chief complaint  แน่นหน้าอก.
Drug-induced Kidney Stone ความสำคัญของโรค - โรคไต (kidney stone-obstructive nephropathy) รองจากเบาหวานและความดันโลหิต /100,000 พ. ศ /100,000.
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
Clinical Correlation Cardiovascular system
Nursing Care of patients with arthritis
Upper Airway Obstruction
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
Andrographis paniculata
การอบรมการใช้ยา HAD.
Chapter 7 Nursing Care of the Child with Respiratory System
จัดทำข้อมูลวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การแพ้ยา
สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
The Child with Respiratory dysfunctionII
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ยาที่ใช้ในระบบทางเดินหายใจ
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
ICD 10 TM for PCU ศวลี โสภา เจ้าพนักงานเวชสถิติชำนาญงาน โรงพยาบาลสตูล.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
โครงการกำจัดโรคหัด.
กลุ่มอาการแพ้ยาที่รุนแรง
การใช้ยา.
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
D 1 E 2 S E M N G ม. I G I T Symptoms A L 4.0.
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
Rational Drug Use (RDU)
ความเป็นพิษ อันตราย และการปฐมพยาบาล
(กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ)
STOP TB จุฑามาศ โกมลศิริสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
บทที่ 7 พฤติกรรมผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
Blood transfusion reaction
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เภสัชวิทยา (Pharmacology) การเทียบเคียงฤทธิ์ของยาสมุนไพรตามระบบแพทย์แผนปัจจุบัน : ระบบทางเดินหายใจ ผลึกพล ตาบทิพย์วรรณ crystalwart@hotmail.com

โรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย เภสัชวิทยา (Pharmacology) โรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย โรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย ไข้หวัด หอบหืด

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Common cold ไข้หวัด (Common cold) เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งมีอยู่มากกว่า 100 ชนิด มักเป็นเชื้อไวรัส Rhinovirus บ่อยที่สุด ผู้ใหญ่มักเป็น 2-4 ครั้งต่อปี เด็ก 6-8ครั้งต่อปี หายได้เองใน 1 สัปดาห์ หรือถ้ารักษา จะรักษาตามอาการ เมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่เยื่อบุโพรงจมูก เชื้อจะเกาะและเข้าสู่เซลล์เยื่อบุ แบ่งตัวเพิ่มจำนวนและทำให้เซลล์ถูกทำลายเกิดการอักเสบของเยื่อบุโพรงจมูก เยื่อบุบวมและแดง ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 1-3 วัน

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Common cold อาการไข้หวัด ไอ (Cough) เจ็บคอ (Sore throat) จาม (Sneezing) คัดจมูก (Nasal congestion) น้ำมูกไหล (Rhinorrhea) มีไข้ (Fever) ปวดศีรษะ (Headache)

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Nasal congestion / Rhinorrhea เชื้อ/สิ่งสร้างการระคายเคือง ระคายเคือง คัดจมูก เยื่อบุเริ่มอักเสบ หลั่งน้ำมูก/น้ำมูกไหล

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Nasal congestion ยาแผนปัจจุบัน Pseudophedrine ยาในกลุ่ม sympathomimetic ออกฤทธิ์ต่อระบบส่วนกลาง ทำให้กระตุ้นทั้ง Alpha และ beta receptor ทำให้เกิด vasoconstriction (การบีบตัวของหลอดเลือด) ทำให้เยื่อบุบวมลดลง และคัดจมูกลดลง

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Nasal congestion ยาแผนปัจจุบัน Xylometazoline ยาในกลุ่ม sympathomimetic เช่นเดียวกัน แต่เป็นแบบ tropical ออกฤทธิ์โดยตรงต่อโพรงจมูกทำให้หลอดเลือดที่โพรงจมูกเกิด vasoconstriction สามารถออกฤทธิ์ได้นานกว่าแบบแรก

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Nasal congestion

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Rhinorrhea Rhinorrhea ยาแผนปัจจุบัน Antihistamine (H1 –receptor antagonist) Allergic inflammation Mediator release ยาแบบง่วงนอน Chlorpheniramine ยาแบบไม่ง่วงนอน Fexofenadine

เภสัชวิทยา (Pharmacology) H1 receptor antagonist Histidine Histamine synthesis inhibitors Histamine Histamine release inhibitors Histamine release Histamine receptor Antagonist Histamine receptor Reaction Reaction inhibitions

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Rhinorrhea

ยาสมุนไพรที่ใช้รักษาอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล เภสัชวิทยา (Pharmacology) ยาสมุนไพรที่ใช้รักษาอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล หอมแดง Allium ascalonicum Linn. Essential oil รสร้อน Glycoside :quercetin – inhibit the release of histamine and reduce inflammation

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Cough ไอ (Cough) กำจัดสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ ขับเสมหะ Cough reflex จะเกี่ยวข้องกับ CNS, PNS และกล้ามเนื้อเรียบของ bronchial

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Cough

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Cough ไอ Cough ยาแผนปัจจุบัน Cough suppressant (Dextromethorphan) เป็นอนุพันธ์ของ Codeine มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทหลายอย่าง แต่ที่ต้องการคือกดประสาท CNS ทำให้ไอยาก หรือลดอาการไอลง ถ้า Dose สูงมากๆ จะทำให้เกิด CNS depression ได้ เกิดปรากฏการณ์ของ Drug abuse บ่อย โดยเฉพาะวัยรุ่น

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Cough ไอ Cough สมุนไพร เคลือบเยื่อบุทางเดินหายใจเหนือกล่องเสียง ลดการระคายเคืองและรู้สึกชุ่มคอ เช่นน้ำผึ้ง รากชะเอม(Glycyrrhiza glabra L.) รสเปรี้ยว กัดเสมหะ, High vitamin C เช่น มะนาว มะขามป้อม (Phyllanthus emblica) เพิ่มการขับเสมหะ เช่น มะแว้งต้น(Solanum indicum) มะแว้งเครือ (Solanum trilobatum)

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Cold Common cold สมุนไพรสำหรับ Common cold ฟ้าทะลายโจร Andrographis paiculate Anti-inflamamtion Antipyretic effect Antiviral effect Immunostimulation Effect in early acute upper respiratory infection

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma หอบหืด Asthma Bronchoconstriction การตีบของหลอดลม Respiratory hypersensitivity Airway inflammation Factors Allergens Air pollution Passive smoking

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma หอบหืด Asthma Pharmacotherapy Relax bronchial smooth muscle Inhibit airway inflammation to control disease

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma หอบหืด Asthma ยาแผนปัจจุบัน Bronchodilators ขยายหลอดลม B2 – agonist Anticholinergic

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma หอบหืด Asthma ยาแผนปัจจุบัน β2 – agonist β2 receptor พบมากในปอด Inhibit the release of inflammatory mediator แบบ Short-acting : Terbutaline, Albuterol แบบ Long-acting : Salmeterol

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma หอบหืด Asthma ยาแผนปัจจุบัน Anticholinergic Block muscarinic receptor: M3 receptor Inhibit Ach release Ipratropium bromide

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma หอบหืด Asthma สมุนไพร ปีป (Millingtonia hortensis Linn.f.) ใช้ใบ ดอกแห้ง สาร Flovonoid : hispidulin hortensin* วิธีใช้ มวนสูบ

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma หอบหืด Asthma สมุนไพร ลำโพงขาว (Datura metel Linn.) ใช้ ดอกแห้ง สาร Alkaroid: atropine, hyoscine*,hyoscyamine Anticholinergic วิธีใช้ มวนสูบ

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Asthma