สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ FTA Trade Barrier (NTB) Hub CM. การเมือง วิสัยทัศน์ผู้นำ นโยบายผู้ว่า CEO นโยบาย Food Safety การเมืองมีพรรคใหญ่ 2 พรรค ความโปร่งใส เผด็จการ และ.
Advertisements

การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
เติม STEM ให้เต็ม STEAM
Department of Mechanical & Aerospace Engineering King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, 1518 Pracharat 1 Road,
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
แนวโน้มการพัฒนากำลังคน สู่อนาคต
โครงการอบรมผู้บริหารมหาวิทยาลัยนเรศวร รุ่นที่ 4
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Project based Learning
Dr. Montri Chulavatnatol
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรการสอน
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีต่อคุณภาพชีวิต
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน สถานการณ์ปัญหาที่ 1
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
การจัดการประชุมที่มีประสิทธิผล
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
สรุปรายงานการติดตามผลโครงการสะเต็มอบรมครูผ่าน ETV และ DLTV (ระยะที่ 1)
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
Big Picture ความสำคัญและที่มา ความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
PRE 103 Production Technology
ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Science and Technology Infrastructure Databank (STDB)
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สะเต็มศึกษาและการออกแบบเชิงวิศวกรรม
Animal Health Science ( )
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
วัตถุประสงค์การวิจัย
PLC.
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
สิ่งสนับสนุน (ห้องต่าง ๆ เครื่องมืออุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก)
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
แนวทางการพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทำไมต้องสะเต็มศึกษา ประเทศไทยขาดกำลังคนด้านสะเต็ม (STEM workforce) ที่สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นักเรียนเห็นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นเรื่องไกลตัว ขาดแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

โลกในศตวรรษที่ 21 ยุคแห่งความเป็นโลกาภิวัตน์ (Globalization) สังคมข้อมูลข่าวสาร (Information Society ) การขยายตัวทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมบริการ การแข่งขันในด้านเศรษฐกิจ ความต้องการแรงงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ transtechpackersandmovers.com getsocialeyes.com http://phys.org/ http://agileimpact.org/

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

เป้าหมายของการเรียนการสอน S T M Science Literacy  ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา (หลัก กฎ และทฤษฎี) วิชาวิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และโลก อวกาศ ดาราศาสตร์) สามารถเชื่อมโยงความเกี่ยวเนื่องเนื้อหาระหว่างสาระวิชา และมีทักษะในการปฏิบัติการ เชิงวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถค้นหาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้

เป้าหมายของการเรียนการสอน S T M Mathematics Literacy ความสามารถในการวิเคราะห์ ให้เหตุผล และการประยุกต์แนวคิดทางคณิตศาสตร์ เพื่อสร้างอธิบายและทำนายปรากฏการณ์ต่างๆ ภายใต้บริบทที่แตกต่างกัน รวมถึงตระหนักถึงบทบาทของคณิตศาสตร์และสามารถใช้คณิตศาสตร์ช่วยในการวินิจฉัยและการตัดสินใจที่ดี

เป้าหมายของการเรียนการสอน S T M Technology Literacy  ความเข้าใจ และความสามารถในการใช้งาน จัดการ และเข้าถึงเทคโนโลยี (กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์) Engineering Literacy  ความเข้าใจการพัฒนาหรือการได้มาของเทคโนโลยีโดยการประยุกต์ความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีอยู่ กับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อสร้างเครื่องใช้หรือวิธีการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

สะเต็มศึกษา สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 วิชาได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน คำสำคัญ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม การบูรณาการ เชื่อมโยงระหว่าง 4 วิชา กับชีวิตจริงและการทำงาน

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

องค์ประกอบและลักษณะที่สำคัญของสะเต็มศึกษา มีการบูรณาการ ท้าทายผู้เรียน กระตุ้น Active learning มุ่งเน้นทักษะสำคัญในศตวรรษที่ 21 เชื่อมโยงกับชีวิตจริง

สะเต็มกับปากกาลูกลื่นแบบกด

สะเต็มกับปากกาลูกลื่นแบบกด สังเกตรูปร่างและการทำงานของปากกา เสียง “คลิก” ของปากกา เกิดขึ้นได้อย่างไร ส่วนประกอบชิ้นไหนมีส่วนทำให้เกิดเสียง “คลิก” ใคร/บุคลากรอาชีพใดที่เกี่ยวข้องกับการผลิตส่วนประกอบที่ทำให้เกิดเสียง “คลิก” ความรู้ที่ต้องใช้ในการผลิตวนประกอบที่ทำให้เกิดเสียง “คลิก” คืออะไรบ้าง

วิทยาศาสตร์ (Science) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) เทคโนโลยี (Technology) คณิตศาสตร์ (Mathematics) ตั้งคำถาม (เพื่อเข้าใจธรรมชาติ) นิยามปัญหา (เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิต) ตระหนักถึงบทบาทของ เทคโนโลยีต่อสังคม ทำความเข้าใจและพยายาม แก้ปัญหา พัฒนาและใช้โมเดล ใช้คณิตศาสตร์ในการสร้าง โมเดล ออกแบบและลงมือ ทำการค้นคว้า วิจัย ทดลอง เรียนรู้วิธีการใช้งานเทคโนโลยี ใหม่ๆ ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมใน การแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูล ให้ความสำคัญกับความแม่นยำ ใช้คณิตฯ ช่วยในการคำนวณ เข้าใจบทบาทของเทคโนโลยีใน การพัฒนาด้านวิทย์ฯ และ วิศวกรรม ใช้ตัวเลขในการให้ความหมายหรือ เหตุผล สร้างคำอธิบาย ออกแบบวิธีแก้ปัญหา พยายามหาวิธีการและใช้โครงงาน ในการแก้ปัญหา ใช้หลักฐานในการยืนยันแนวคิด ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีโดย พิจารณาถึงผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม สร้างข้อโต้แย้งและสามารถ วิพากษ์การให้เหตุผลของผู้อื่น ประเมินและสื่อสารแนวคิด มองหาและนำเสนอระเบียบวิธี ในการเหตุผล *ที่มา: Vasquez, J.A., Sneider, C., and Comer, M. (2013). STEM Lesson Essentials: Integrating Science, Technology, Engineering, and Mathematics, p.38.

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

แนวทางการใช้กิจกรรมสะเต็มในชั้นเรียน จัดกิจกรรมสอดแทรกไปตามเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในคาบเรียน จัดกิจกรรมไว้ในรายวิชาเพิ่มเติม/เลือกเสรี จัดกิจกรรมไว้ในกลุ่มกิจกรรมนอกชั้นเรียน

www.stemedthailand.org