ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน และ ระบบความปลอดภัย
ระบบป้องกันอัคคีภัย
ระบบป้องกันอัคคีภัย อุปกรณ์สำหรับป้องกันอัคคีภัยประกอบด้วย อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) 2. อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) 3. อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง (Flame Detector)
อุปกรณ์ตรวจจับควัน ตรวจจับเพลิงไหม้ ที่เกิดจากการคุตัวของเถ้าความร้อน
หลักการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับควัน (1)
หลักการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับควัน (2)
อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ตรวจจับเพลิงไหม้ที่เกิดจากความร้อนสูงอย่างรวดเร็วและมีควันน้อย ตรวจจับอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ และ อุณหภูมิสูงสุด - อัตราเพิ่ม 15 oF / นาที - อุณหภูมิสูงสุด 135 oF
อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน
อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง ใช้ตรวจจับเพลิงไหม้ที่เกิดจากการลุกไหม้ของเชื้อเพลิงเหลว ทำงานได้เร็วที่สุด ติดตั้งตามโรงงานที่มีส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิง และ เคมีภัณฑ์
อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง
ระบบเวสด้า (Vesda) เป็นระบบตรวจจับควันไฟแบบสุ่มตัวอย่างอากาศ ทำงานได้ว่ากว่าระบบตรวจจับควันแบบธรรมดา ใช้หลักการที่ว่า เมื่อเริ่มเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดการสลายตัวของวัสดุเนื่องจากความร้อน ส่งผลให้เกิดอนุภาคเล็กๆ จำนวนมาก เล็กกว่า 1 ไมครอน ซึ่งระบบเวสด้าจะตรวจจับจากอนุภาคเล็กพวกนี้
Vesda System
ตำแหน่งการติดตั้งระบบป้องกันอัคคีภัย
รูปแบบการติดตั้งระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบธรรมดา หรือ ระบบฮาร์ดไวร์ (Hard Wire System) ระบบที่สามารถระบุตำแหน่งได้ (Addressible System)
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้ำฝอย (Sprinkle System) 2. ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบแก๊ส (Gas System)
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้ำฝอย มีทั้งแบบ หัวห้อย (pendent) และ หัวตั้ง (up-light) มักใช้กับอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ดังนี้ - อัตราเสี่ยงต่ออันตรายแบบเบา เช่น ห้องทำงาน (light hazard) - อัตราเสี่ยงต่ออันตรายแบบธรรมดา เช่น บริเวณที่จอดรถ (ordinary hazard)
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้ำฝอย
2. ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบแก๊ส 2. ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบแก๊ส แก๊สที่ใช้ เป็น น้ำยาดับเพลิงชนิดสะอาด หลังจากใช้งานแล้ว ไม่มีสิ่งใดหลงเหลืออยู่เป็นภาระให้ทำความสะอาด นิยมใช้กับพื้นที่ซึ่งต้องการดับเพลิงเป็นพิเศษ และไม่ต้องการให้วัสดุหรืออุปกรณ์ในห้องนั้นเกิดความเสียหายจากน้ำยาเคมีที่ใช้ดับเพลิง ตัวอย่างห้อง เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องเก็บเอกสารสำคัญ พิพิธภัณฑ์
Nitrogen (N2), Argon (Ar) and Carbon Dioxide (CO2) mixes the extinguishant in a certain proportion, which is a kind of pure and natural clean gas extinguishant.
ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน
รูปแบบการจ่ายโหลดฉุกเฉิน ต้องระวังไม่ให้แหล่งกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินจ่ายไฟย้อนกลับเข้าไปในระบบ Transfer Switch
แบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า
แบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า ต้องมีพิกัดและขนาดกำลังที่เหมาะสมในการจ่ายไฟฟ้าให้กับโหลดทั้งหมดไม่น้อยกว่า 1.5 ชั่วโมง แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายโหลด ต้องลดลงเหลือไม่น้อยกว่า 87 % ของปกติ ไม่ควรใช้แบตเตอรี่สำหรับรถยนต์มาทำไฟสำรอง แบตเตอรี่แบบหุ้มปิดสนิท เปลือกหุ้มไม่จำเป็นต้องเป็นแบบใส แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด ชนิดเติมน้ำกลั่น เปลือกหุ้มต้องเป็นแบบใส ต้องมีชุดประจุไฟอัตโนมัติ (Charge Controller) ด้วย
Battery Charger / Charge Controller
แบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า ข้อดี ข้อเสีย สามารถใช้เป็นศูนย์กลางระบบไฟฉุกเฉินและจ่ายไปยังส่วนต่างๆของอาคาร ติดตั้งเป็นชุดจ่ายเล็กๆ ตามส่วนต่างๆของอาคาร ป้อนให้กับการส่องสว่างฉุกเฉินที่ไม่เป็นฟลูออเรสเซนต์ ข้อเสีย เวลาในการจ่ายกำลังไฟฟ้ามีจำกัด ใช้ได้เฉพาะระบบ DC
ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Set)
โครงสร้างชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ใช้แก๊สธรรมชาติและน้ำมัน
รูปแบบการติดตั้งชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า Gen Set Switchgear Transformer
ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Set) ต้องอุปกรณ์ในการสตาร์ตชุดต้นกำลังโดยอัตโนมัติเมื่อแหล่งจ่ายไฟปกติล้มเหลว และต้องทำการโอนย้ายอัตโนมัติไปยังโหลดที่กำหนด กรณีใช้เครื่องยนต์เป็นอุปกรณ์ต้นกำลัง จะต้องสามารถจ่ายน้ำมันที่หน้างานได้ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงให้กับโหลดเต็มพิกัด ชุดต้นกำลังต้องไม่ขึ้นกับระบบแก๊สสาธารณะอย่างเดียว (มีระบบจ่ายน้ำมันของตัวเอง และ ระบบน้ำหล่อเย็นของอุปกรณ์ ต้องจ่ายกำลังไฟฟ้าให้ระบบภายใน 10 วินาทีโดยอัตโนมัติ
ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Set) ข้อดี มีขนาดกำลังไฟฟ้าสูงได้ตามต้องการ ช่วงเวลาการจ่ายไฟฟ้าขึ้นกับขนาดถังน้ำมัน สามารถใช้ในการต้องการความประหยัดจากการลดค่าความต้องการไฟฟ้าสูงสุดลง ข้อเสีย มีการสั่นสะเทือน + เสียงรบกวน และ มีมลภาวะจากไอเสีย ต้องการการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง และ อาจยุ่งยากในการจัดเติมเชื้อเพลิง
ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง (ยูพีเอส)
โครงสร้างการทำงานของ UPS
ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง (ยูพีเอส) UPS ย่อมาจาก Uninterruptible Power Supplies ใช้จ่ายและรักษากำลังไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์วิกฤติ - อุปกรณ์สารสนเทศ - อุปกรณ์ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมที่ห้ามหยุด ไม่นำมาใช้กับโหลดที่มีขนาดใหญ่เป็นเวลานานมากๆ เนื่องจากมีขนาดพิกัดและเวลาจากแบตเตอรี่ที่จำกัด
อุปกรณ์ส่องสว่างฉุกเฉิน
อุปกรณ์ส่องสว่างฉุกเฉิน
อุปกรณ์ส่งสว่างฉุกเฉิน ส่วนประกอบ แบตเตอรี่ที่ประจุซ้ำได้ อุปกรณ์ประจุไฟ หลอดไฟ อุปกรณ์หน่วงเวลา
ระบบไฟฟ้าพลังงานลม มีการใช้งานคู่ขนานกับระบบไฟฟ้าปกติและสามารถจ่ายพลังงานเข้าสู่ระบบจ่ายไฟฟ้าของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าหลักได้ จุดต่อเชื่อมของระบบจะมีอุปกรณ์ปลดวงจรประธานของอาคาร ที่อุปกรณ์ใช้งานแต่ละตัวและที่แหล่งผลิตกำลังไฟฟ้าภายในทั้งหมด จะต้องติดตั้งแผ่นป้ายรายละเอียดไว้ อุปกรณ์ปลดวงจรต้องทำการปลดวงจรสายไฟที่ไม่ต่อลงดินทั้งหมดของแต่ละแหล่งผลิตกำลังไฟฟ้าภายในจากสายไฟฟ้าอื่นทั้งหมด
รูปแบบการเชื่อมต่อระบบไฟฟ้าพลังงานลม
ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ รูปแบบของระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ แบ่งเป็น ระบบอินเตอร์แอกทีฟ 2. ระบบไฮบริด 3. ระบบเอกเทศ
แผงเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
ระบบอินเตอร์แอกทีฟ
ระบบไฮบริด
ระบบเอกเทศ (Isolate)
ขนาดกระแสที่ออกจากอินเวอร์เตอร์ต้องต่ำกว่าพิกัดกระแสของอุปกรณ์ปลดวงจรประธานของอาคาร
ระบบความปลอดภัย
ระบบป้องกันผู้บุกรุก (Intrusion System) ใช้ตรวจจับผู้บุกรุกซึ่งจะเข้ามาในอาคาร อุปกรณ์ที่สำคัญประกอบด้วย ชุดควบคุมชุดตรวจจับความเคลื่อนไหวโดยใช้แสง 2. ชุดตรวจจับการเคลื่อนไหวโดยใช้รังสีอินฟราเรด 3. ชุดตรวจจับการแตกของกระจก (Glass Break Detector) 4. ชุดตรวจจับการปิด - เปิดของประตู อุปกรณ์จะถูกติดตั้งไปยังชุดควบคุมสวิตช์และลำโพงต่อไป