การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
MTT 651: Polymer Rheology Polymer PROcessing and Flow (P-PROF) Group
Advertisements

โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/05/51.
Passage 7.
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
Chemical Abstracts on CD-Roms  เป็นฐานข้อมูลที่จัดทำโดย American Chemical Society  ครอบคลุมสาขาวิชาต่างๆ ได้แก่ Biochemistry, Physical, Inorganic, Analytical.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/11/51.
Preventive Pollution Control4 Mass and Water Balance
สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้
การประหยัดน้ำในอุตสาหกรรมยาง
Proficiency testing 2009 Microbiology Chemical Environmental Physical Calibration.
การใช้โปรตีนสกิมเมอร์
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
Phosphorus and Phosphate
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
การบำบัดของเสียที่เป็นของเหลวจากอุตสาหกรรมเกษตร
การจัดการน้ำเสียในโรงพยาบาล ( Wastewater Management in Hospital )
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
การพัฒนาอิฐคอนกรีตน้ำหนักเบาผสมเถ้าปาล์มน้ำมัน DEVELOPMENT OF LIGHTWEIGHT CONCRETE MASONRY UNIT USING OIL PALM ASH นักศึกษา: น.ส.พัชราวรรณ เก๊อะเจริญ อาจารย์ที่ปรึกษา:
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การจัดการและบำบัดของเสีย
จำแนกประเภท ของสาร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
Asst. Prof. Surattana Settacharnwit
Asst. Prof. Surattana Settacharnwit
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
(Introduction to Soil Science)
บทที่ 6 การจัดการของเสียอันตราย (Hazardous waste management)
แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพที่จ่ายไฟเข้าระบบแล้ว (COD)
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
แปลว่าความรู้(Knowledge)
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (environmental and quality of life)
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
Analysis of wastewater from power plant
ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 164/2560
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 76/2560 เรื่อง กำหนดมาตรฐานทั่วไปในการระบาย น้ำเสียลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบกำจัดขยะ (Solid Waste Disposal)
หลักการจัดการแมลงศัตรู
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
อาชีวอนามัย บทที่ 5. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การจัดการศูนย์กำจัดขยะ เทศบาลนครพิษณุโลก
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2017 edition of "The World of Organic Agriculture"
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR
โรงไฟฟ้าขยะที่จ่ายไฟเข้าระบบแล้ว (COD)
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
1.3 มิติสิ่งแวดล้อม การจัดแบ่งสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติหรือเป็นกลุ่ม ช่วยให้มุมมองในการจัดการครอบคลุมและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น การจัดแบ่งมิติ คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพสิ่งที่อยู่รอบข้างเป็นสำคัญ.
Chapter 1 Test and Game Environmental Science Foundation
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ

การบำบัดน้ำเสีย(Wastewater management) พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ(2535) “ของเสียที่อยู่ในสภาพที่เป็นของเหลวรวมทั้งมลสารที่ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในของเหลวนั้น”

พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 “สิ่งปฏิกูล หมายถึง อุจจาระหรือปัสสาวะและหมายรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น”

สรุป น้ำเสีย หมายถึง น้ำที่ผ่านการใช้มาแล้วและมีคุณสมบัติสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิมโดยมีมลสารหรือสิ่งปฏิกูลที่ละลายน้ำและไม่ละลายน้ำเจือปนอยู่

ประเภทของน้ำเสีย แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.น้ำเสียจากชุมชน(Domestic Sewage) 2. น้ำเสียจากอุตสาหกรรม(Industrial Wastewater) 3. น้ำเสียจากการเกษตร(Agricultural Wastewater) 4. น้ำเสียจากน้ำฝน (Storm Sewage)

น้ำเสียกับปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1.เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและสัตว์นำโรค 2.เป็นแหล่งเพาะจุลินทรีย์ทั้งที่ทำให้เกิดโรคและ ไม่เกิดโรคในมนุษย์ 3.ก่อให้เกิดเหตุรำคาญเนื่องจากกลิ่นเหม็นและทำให้ ชุมชนสกปรก 4.เป็นสาเหตุทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ ดิน อากาศ

คุณลักษณะของน้ำเสีย (Characteristics of Sewage) 1.คุณลักษณะทางกายภาพ 2.คุณลักษณะทางเคมี 3.คุณลักษณะทางชีวภาพ

คุณลักษณะทางกายภาพ 1.สารแขวนลอย(Suspended solid) 2.อุณหภูมิ(Temperature) 3.สี (Color) 4.กลิ่น (Odor)

คุณลักษณะทางเคมี 1.ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 2.สารอินทรีย์ (Organic matters) 3.สารอนินทรีย์ (Inorganic matters) 4.สารเคมีต่างๆ (Chemical substance)

คุณลักษณะทางเคมี 5.DO 6.BOD 7.COD

1.โปรโตซัว 2.แบคทีเรีย 3.พืชชั้นต่ำ 4.สาหร่าย 5.สัตว์น้ำขนาดเล็ก คุณลักษณะทางชีวภาพ 1.โปรโตซัว 2.แบคทีเรีย 3.พืชชั้นต่ำ 4.สาหร่าย 5.สัตว์น้ำขนาดเล็ก

คุณลักษณะทางชีวภาพ

การบำบัดน้ำเสีย “ กระบวนการที่ทำให้ของแข็งที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียถูกขจัดหรือเปลี่ยนแปลงสภาพจากสารอินทรีย์ที่ทำให้เกิดการเน่าเสียได้ง่ายกลายเป็นสารอินทรีย์ค่อนข้างคงสภาพทำให้ความสกปรกในน้ำลดลง”

การบำบัดน้ำเสีย (Wastewater treatment) แบ่งออกเป็น 3 กระบวนการ 1.การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการทางกายภาพ 2.การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการทางเคมี 3.การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการทางชีววิทยา

การบำบัดน้ำเสีย (Wastewater treatment) หรือ แบบผสมผสาน กระบวนการทางฟิสิคัลเคมี (Physical Chemical Process)

ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย 1.การบำบัดขั้นต้น 2.การบำบัดขั้นปฐมภูมิ 3.การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 4.การบำบัดขั้นตติยภูมิ 5.การบำบัดและการกำจัดตะกอน 6.การกำจัดส่วนที่เป็นน้ำทิ้ง

1.ตะแกรง 2.เครื่องบด สับ ตัด 3.รางตกตะกอนหนัก 4.การแยกไขมันออกจากน้ำ การบำบัดขั้นต้น 1.ตะแกรง 2.เครื่องบด สับ ตัด 3.รางตกตะกอนหนัก 4.การแยกไขมันออกจากน้ำ

การบำบัดขั้นปฐมภูมิ ทำการแยกของแข็งทั้งอินทรีย์และอนินทรีย์ที่ตกตะกอนได้ ออกจากน้ำเสีย เช่น การตกตะกอน

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 1.ระบบลานกรอง(Tricking filter) 2.ระบบเลี้ยงตะกอน(Activated sludge) 3.ระบบสระผันสภาพ(Oxidation pond) 4.ระบบบ่อเติมอากาศ(Aerated lagoon)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 5.ระบบคลองวนเวียน(Oxidation ditch) 6.ระบบอาร์บีซี (RBC : Rotating Biological Contactor) 7.ระบบกรองไร้อากาศ(Anaerobic filter)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 1. ระบบลานกรอง(Tricking filter)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 2. ระบบเลี้ยงตะกอน(Activated sludge)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 3. ระบบสระผันสภาพ(Oxidation pond)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 4. ระบบบ่อเติมอากาศ(Aerated lagoon)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 5. ระบบคลองวนเวียน(Oxidation ditch)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 6. ระบบอาร์บีซี (RBC : Rotating Biological Contactor)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 7.ระบบกรองไร้อากาศ(Anaerobic filter)

การบำบัดขั้นตติยภูมิ การปรับปรุงคุณภาพน้ำทิ้ง(Effluent) ที่ผ่านขั้นตอนต่างๆแล้วมาบำบัดให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่กำหนด 1.การทำให้ตกตะกอน(Sedimentation) 2.การทำลายเชื้อโรคในน้ำ (Disinfection)

การกำจัดและบำบัดกากตะกอน การบำบัดกากตะกอน 1.การทำให้เข้มข้น 2.การหมักโดยใช้หรือไม่ใช้ความร้อน 3.การทำให้แห้งบนลานทราย 4.การใส่สารเคมี

การกำจัดและบำบัดกากตะกอน การบำบัดกากตะกอน 5.การล้างตะกอน 6.การกรองสูญญากาศ 7.การทำให้แห้งโดยใช้ความร้อน 8.การเผา

การกำจัดกากตะกอน 1.การทิ้งในน้ำ(Dumping into water) 2.การถมหรือฝังบนดิน(Dumping on land)

การกำจัดส่วนที่เป็นน้ำทิ้ง (Effluent Disposal) 1.การกำจัดบนพื้นดิน(Land treatment method) เช่น การระบายน้ำ การซึมผ่านชั้นดิน ปล่อยให้ไหลผ่านตามผิวดิน 2. การกำจัดโดยปล่อยลงน้ำ (Disposal into water) 3. การกำจัดโดยปล่อยให้ซึมใต้ดิน(Disposal into the ground)