งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย
02/01/62 (Basics of Solid and Hazardous Wastes) รศ. ดร. ไพบูลย์ แจ่มพงษ์ สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2 ของเสีย (Waste) 02/01/62 พ.ร.บ. ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ หมายถึง ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ำเสีย อากาศ เสีย มลสารหรือวัตถุอันตรายอื่นใด ซึ่งถูกปล่อยทิ้ง หรือมีที่มาจากแหล่งกำเนิดมลพิษ ตลอดจน กากตะกอน ซึ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น

3 ของเสียอันตราย (Hazardous Waste)
ขยะมูลฝอย (Solid Waste) non-hazard ของเสียอันตราย (Hazardous Waste) hazard 02/01/62

4 มีขยะได้รับการกำจัดอย่างถูกหลักวิชาการ/ถูกวิธี
ของเสีย (Waste) (ต่อ) 02/01/62 สถานการณ์ขยะมูลฝอย : 2552 ขยะทั่วประเทศ 15 ล้านตัน วันละ 41,240 ตัน กทม. วันละ 8,900 ตัน (21%) เขตเทศบาล/เมือง วันละ ,560 ตัน (38%) เขต อบต. วันละ ,780 ตัน (41%) มีขยะได้รับการกำจัดอย่างถูกหลักวิชาการ/ถูกวิธี 17,645 ตัน/วัน (43%)

5 ของเสีย (Waste) (ต่อ) สถานการณ์ของเสียอันตราย : 2552
02/01/62 สถานการณ์ของเสียอันตราย : 2552 มีจำนวน 3.1 ล้านตัน (เพิ่มจากปี 2551 = 20,000 ตัน) สารอันตราย (Toxic Substances) : 2552 มีการใช้ 29 ล้านตัน ผลิตในประเทศ ล้านตัน นำเข้า ล้านตัน

6 จำนวนผู้ป่วยจากการได้รับของเสียอันตราย ดังนี้
02/01/62 จำนวนผู้ป่วยจากการได้รับของเสียอันตราย ดังนี้ ได้รับพิษจากสารเคมี 1,769 ราย ได้รับพิษจากแก๊ส/ไอระเหย ราย ได้รับพิษจากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช 1,520 ราย

7 ขยะมูลฝอย (Solid Waste)
02/01/62 สิ่งต่างๆ ที่ใช้ในกิจกรรมการดำเนินชีวิตของ มนุษย์แล้วถูกทิ้งขว้าง/ไม่สามารถใช้งานได้อีกต่อไป (Shah, 2000) เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ รวมถึง สิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือ อื่นๆ (พ.ร.บ. สาธารณสุข 2535)

8 ของเสียอันตราย (Hazardous Waste)
02/01/62 ของเสียที่อาจอยู่ในรูปของ ของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ที่อาจเกิดปฏิกิริยาเคมีรุนแรง มีลักษณะ เป็นพิษ เกิดการระเบิด กัดกร่อน หรือลักษณะอื่น ใด ที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ของเสียที่มีศักยภาพในการก่อให้เกิดอันตราย ต่อสุขภาพอนามัยมนุษย์ หรือก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมได้

9 คุณลักษณะของของเสียอันตราย
ของเสียอันตราย (Hazardous Waste) (ต่อ) 02/01/62 คุณลักษณะของของเสียอันตราย ความสามารถในการติดไฟง่าย (ignitability) ความสามารถในการกัดกร่อน(corrosivity) ความสามารถในการทำปฏิกิริยา (reactivity) ความเป็นพิษ (toxicity)

10 ความสามารถในการติดไฟง่าย (ignitability)
คุณลักษณะของของเสียอันตราย 02/01/62 ความสามารถในการติดไฟง่าย (ignitability) เกิดการสันดาปและติดไฟได้ง่าย ในการขนส่ง เก็บกักหรือทำลาย เป็นของเหลวที่มีจุดวาบไฟ ต่ำกว่า 60 C / 140 F ไม่ใช่ของเหลวแต่เกิดการลุกไหม้โดยการเสียดสีกันได้ เป็นก๊าซที่ติดไฟได้ง่าย และถูกอัดแน่น

11 ความสามารถในการกัดกร่อน ( corrosivity)
คุณลักษณะของของเสียอันตราย (ต่อ) 02/01/62 ความสามารถในการกัดกร่อน ( corrosivity) สามารถกัดกร่อนโลหะหรือวัสดุอื่นๆ ได้ หรือทำให้เกิดไหม้เกรียมที่ผิวหนัง เป็นกรดหรือด่าง ของเหลวที่กัดกร่อนเหล็กได้ในอัตรา 0.25 นิ้ว/ปี ที่อุณหภูมิ 55 C

12 ความสามารถในการทำปฏิกิริยา (reactivity)
คุณลักษณะของของเสียอันตราย (ต่อ) 02/01/62 ความสามารถในการทำปฏิกิริยา (reactivity) สามารถทำปฏิกิริยาทางเคมีได้รวดเร็วและรุนแรงกับน้ำ ผสมกับน้ำจะเกิดก๊าซพิษ/ควัน/ไอ ที่มีปริมาณมากพอที่จะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ ของเสียจำพวกไซยาไนด์ มีค่าความเป็นกรดอยู่ระหว่าง 2 – สามารถทำให้เกิดก๊าซพิษ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์

13 ความเป็นพิษ (toxicity)
คุณลักษณะของของเสียอันตราย (ต่อ) 02/01/62 ความเป็นพิษ (toxicity) ปนเปื้อนด้วยสารพิษ เช่น โลหะหนัก สารฆ่าแมลง สารกำจัดวัชพืช มูลฝอยติดเชื้อจากสถานพยาบาล

14 ประเภทของขยะมูลฝอย จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ จำแนกตามองค์ประกอบ
02/01/62 จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ จำแนกตามองค์ประกอบ จำแนกตามแหล่งกำเนิด

15 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ จำแนกตามลักษณะที่ปรากฏ / มองเห็นจากภายนอก ขยะเปียก (Garbage) เป็นสารอินทรีย์ชนิดต่างๆ และมีความชื้นสูง ย่อยสลายง่ายด้วยขบวนการทางชีวภาพ ต้องขนย้ายและกำจัดอย่างรวดเร็ว ป้องกันกลิ่นเหม็น

16 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ ขยะแห้ง (Rubbish) เป็นสารอินทรีย์ / อนินทรีย์ ซึ่งมีความชื้นต่ำ ย่อยสลายด้วยขบวนการทางชีวภาพยาก เช่น เศษกระดาษ ผ้า ขวด แก้ว หนัง

17 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ เถ้า (Ash) ซากของแข็งที่เหลือจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง เศษสิ่งก่อสร้าง (Construction Waste) ขยะมูลฝอยที่เกิดจากการก่อสร้าง/รื้อถอน

18 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ ซากสัตว์ (Dead Animals) ซากสัตว์ต่างๆ ที่ตาย ด้วยกรรมวิธีต่างๆ หรือตายธรรมชาติ ตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย (Sludge) กาก/ตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย ของแข็งหรือกึ่งของแข็ง

19 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ขยะที่เกิดจากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซากตู้เย็น โทรทัศน์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

20 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามองค์ประกอบ การใช้ประโยชน์ ประกอบด้วยวัสดุใดบ้าง นำกลับมาใช้ใหม่ได้หรือไม่ ขยะอินทรีย์ (Organic Waste) ย่อยสลายได้ด้วยขบวนการทางชีวภาพ โดยมีจุลินทรีย์ทำหน้าที่ย่อยสลาย นำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปปุ๋ยหมัก / ทำปุ๋ยหมัก

21 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามองค์ประกอบ การใช้ประโยชน์ ขยะรีไซเคิล (Recycle Waste) นำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ นำมาคัดแยก ผ่านขบวนการแปรรูป ใช้ประโยชน์ใหม่ได้

22 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามองค์ประกอบ การใช้ประโยชน์ ขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ไม่ได้ (Non – Recycle Waste) ไม่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้อีก ไม่มีศักยภาพที่จะนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ต้องกำจัด ทำลาย หรือฝังกลบ

23 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามองค์ประกอบ การใช้ประโยชน์ ขยะติดเชื้อ (Infectious Waste) มีเชื้อโรคปนเปื้อน เกิดอันตรายต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมได้

24 ประเภทของขยะมูลฝอย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามแหล่งกำเนิด ขยะจากชุมชน (Municipal Waste) ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Waste) ขยะจากภาคเกษตรกรรม (Agricultural Waste) ขยะจากสถานพยาบาล (Hospital Waste)

25 ประเภทของของเสียอันตราย
02/01/62 จำแนกตามแหล่งกำเนิด จำแนกตามองค์ประกอบ

26 ประเภทของเสียอันตราย(ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามแหล่งกำเนิด 1.ของเสียอันตรายจากชุมชน 2.ของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม 3.ของเสียอันตรายจากเกษตรกรรม 4.ของเสียอันตรายจากสถานพยาบาล

27 ประเภทของของเสียอันตราย (ต่อ)
02/01/62 จำแนกตามองค์ประกอบ กรดอนินทรีย์ (Inorganic Acid) เช่น กรดกำมะถัน กรดเกลือ กรดอินทรีย์ (Organic Acid) เช่น กรดแอซีติก โลหะหนัก (Heavy Metal) เช่น แคดเมี่ยม ปรอท ตะกั่ว กากตะกอนจากขบวนการบำบัด (Treatment Sludge) น้ำมันหล่อลื่นใช้แล้ว

28 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสีย (Waste)
ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลทำให้เกิดของเสีย/ขยะต่างๆ เพิ่มขึ้น ทางตรง ทางอ้อม

29 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสีย (Waste)
สภาวะเศรษฐกิจ - ของครัวเรือน - ของชุมชน - ของประเทศ - กลุ่มประเทศ - ทวีป - โลก - ประชาชนมีกำลังซื้อ - การบริโภคสินค้ามากขึ้น - การฟุ่มเฟือย/ฟุ้งเฟ้อ - WASTE

30 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสีย (Waste)
ขนาดของครัวเรือน / ลักษณะอาชีพ จำนวนประชากรในชุมชน สถิติการเกิดขยะใน กทม – 1.6 ก.ก./คน/วัน ลักษณะของชุมชน สถานที่ท่องเที่ยว ชุมชนเมือง ชุมชนชนบท

31 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสีย (Waste)
ความแตกต่างของฤดูกาล ภูมิอากาศ ผลไม้ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ทอดกฐิน งานบุญ กินเจ ลอยกระทง

32 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสีย (Waste)
กฎระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย ความมีวินัยของประชาชน การเคร่งครัดในกฎระเบียบของเจ้าหน้าที่ ทัศนคติของประชาชน การศึกษาของประชาชน ระบบการศึกษาของชาติ

33 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสีย (Waste)
เทคโนโลยีการสื่อสาร การเลียนแบบ นโยบายของบ้านเมือง การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างให้กับเด็กและเยาวชน

34 คำถาม นักศึกษาคิดว่า ปัจจัยใดส่งผลต่อการเกิดขยะมากที่สุด เพราะเหตุใด ?
เราจะมีแนวทางแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร ?

35 การศึกษาคุณสมบัติของขยะมูลฝอย
การกำหนดรูปแบบระบบการจัดการขยะ การคัดแยกใช้ประโยชน์ ตามคุณลักษณะ การ Recycle การกำจัด ทำลาย

36 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางกายภาพ คุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติทางชีวภาพ

37 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางกายภาพของขยะมูลฝอย (Physical Characteristics) สังเกตได้ด้วยตาเปล่า หรือเครื่องมือง่ายๆ คุณลักษณะภายนอกที่พบ เช่น สี กลิ่น รส จุดหลอมเหลว จุดเดือด

38 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางกายภาพที่สำคัญของขยะมูลฝอย 1. ความชื้น (Moisture Content) การมีส่วนประกอบของน้ำปนอยู่ สัมพันธ์กับค่าความร้อน/การเผาไหม้ คำนวณได้ทั้งขยะเปียก (Wet Weight)* และขยะแห้ง (Dry Weight)

39 การคำนวณหาปริมาณความชื้น
คุณสมบัติของขยะมูลฝอย (ต่อ) การคำนวณหาปริมาณความชื้น m = ปริมาณความชื้น (%) w = น้ำหนักเริ่มต้นของขยะมูลฝอย (กก.) d = น้ำหนักของขยะหลังจากอบแห้งที่ 105 oC (กก.)

40 ตัวอย่างการคำนวณ หาค่าความชื้น (%)
ตัวอย่างการคำนวณ หาค่าความชื้น (%) โจทย์ : ขยะเปียกกองหนึ่งหนัก 250 กก. หลังจากนำมาอบแห้งแล้ว น้ำหนักลดลงเหลือ 200 กก. จงคำนวณหาปริมาณความชื้น ของขยะกองนี้ว่ามีกี่เปอร์เซ็นต์ สูตร w = 250 d = m = 20 %

41 โจทย์ : ขยะกองหนึ่งหลังจากอบแห้งแล้ว มีน้ำหนัก 300 กก
โจทย์ : ขยะกองหนึ่งหลังจากอบแห้งแล้ว มีน้ำหนัก 300 กก. จงคำนวณหาน้ำหนักเริ่มต้นของขยะ ซึ่งสามารถวัด ปริมาณ ความชื้นได้เท่ากับ 25 % สูตร w = ? d = m = 25 % = 100w – 25w = 75w 75w = 25 w = 100(w – 300) 25w = 100w – 30000

42 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
ตัวอย่างปริมาณความชื้นของขยะ เศษพืชผัก 75 % เศษผลไม้ 75 % เศษวัสดุการเกษตร 50 % เศษไม้ % สิ่งทอ % ขี้เถ้า %

43 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางกายภาพที่สำคัญของขยะมูลฝอย (ต่อ) 2. น้ำหนักจำเพาะ (Specific Weight) น้ำหนักของขยะต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร หน่วยปริมาตรที่ใช้ กก./ลบ.ม. (Kg/m3) ปอนด์/ลบ.ฟุต (lb/ft3) ปอนด์/ลบ.หลา (lb/yd3)

44 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางกายภาพที่สำคัญของขยะมูลฝอย (ต่อ) 2. น้ำหนักจำเพาะ (Specific Weight) (ต่อ) ใช้ประเมินค่าน้ำหนัก/ปริมาตรขยะ ขนย้าย กำจัด/ฝังกลบ/เผา พื้นที่ทำงาน

45 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
ตัวอย่างน้ำหนักจำเพาะของขยะ น้ำหนักจำเพาะ (ปอนด์/ลบ.หลา) กระดาษ 150 ยาง แก้ว ใบไม้ พลาสติก 110 เศษหญ้า 170

46 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
น้ำหนักจำเพาะของขยะ อยู่ในสภาพถูกบดอัดแน่น (Compacted Specific Weight) ไม่ถูกบดอัดแน่น (Uncompacted Specific Weight)  ปริมาตรลดลงจากเดิม  ขนย้าย สะดวก  ไม่เปลืองที่ฝังกลบ

47 การคำนวณหาปริมาตรขยะที่ลดลงจากการอัดแน่น
คุณสมบัติของขยะมูลฝอย การคำนวณหาปริมาตรขยะที่ลดลงจากการอัดแน่น สูตร Volume Reduction (%) = Compaction ratio = Vi = ปริมาตรขยะก่อนอัดแน่น (m3, ft3, yd3) Vf = ปริมาตรหลังการอัดแน่น

48 ตัวอย่างการคำนวณ โจทย์ : ขยะกองหนึ่งมีปริมาตร 20 yd3 ภายหลังนำมาอัดแน่นแล้ว พบว่ามีปริมาตรลดลงเหลือเพียง 5 yd3 จงคำนวณหาว่า ปริมาตรการลดลงของขยะกองนี้มีกี่เปอร์เซ็นต์ และลดลงกี่เท่า สูตร Volume Reduction (%) = Vi = 20 yd3 = Vf = 5 yd3 = = Compaction Radio = 20/5 = 4 เท่า

49 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางกายภาพที่สำคัญของขยะมูลฝอย (ต่อ) 3. ขนาดของขยะมูลฝอย (Particle Size) ขนาดกระป๋อง แก้ว พลาสติก เศษผ้า เศษโลหะ การออกแบบเครื่องมือคัดแยกขยะ เครื่องบด สายพานลำเลียงขยะ ตะแกรงร่อนขยะ

50 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางกายภาพที่สำคัญของขยะมูลฝอย (ต่อ) 4. การยอมให้น้ำซึมผ่าน (Permeability) การยินยอมให้น้ำ มลสารอื่นๆ ซึมผ่านขยะ การไหลซึมของน้ำที่เกิดจากการย่อยสลายไปปนเปื้อนน้ำใต้ดิน ขยะที่มีคุณสมบัติต่างกัน จะยอมให้น้ำซึมผ่านได้ต่างกัน

51 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางเคมีของขยะ (Chemical Characteristics) คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสาร มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายใน แตกต่างไปจากเดิม การเกิดปฏิกิริยาเคมี จะต้องมีสารใหม่เกิดขึ้นเสมอ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพ

52 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางเคมีของขยะ (Chemical Characteristics) (ต่อ) ประเมินวิธีกำจัดขยะ ทำลายขยะอย่างเหมาะสม ประเมินการใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น ทำปุ๋ยหมัก

53 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางเคมีของขยะ (Chemical Characteristics) (ต่อ) 1. ส่วนประกอบทางเคมีของขยะ ธาตุหลัก คาร์บอน (C) / ไฮโดรเจน (H) / ออกซิเจน (O) ธาตุรอง ไนโตรเจน (N) / ซัลเฟอร์ (S) / ขี้เถ้า (Ash) ประโยชน์การศึกษา การย่อยสลายโดยจุลินทรีย์  เร็ว / ช้า กระบวนการเผาไหม้  มลพิษมาก / น้อย ลดค่าใช้จ่ายต่างๆ

54 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางเคมีของขยะ (Chemical Characteristics) (ต่อ) 2. องค์ประกอบทางพลังงานของขยะ วิเคราะห์ศักยภาพนำมาเป็นเชื้อเพลิง (วัดค่าความร้อน Heating Value) หน่วยวัด : บีทียู/ปอนด์ (Btu/lb) ปัจจัยที่มีผลต่อความร้อนของขยะ ประเภทของขยะ เช่น พลาสติก ยาง สิ่งทอ ปริมาณความชื้น เช่น ขยะเปียกให้ค่าความร้อนต่ำ 54

55 การคำนวณหาค่าความร้อนที่เกิดจากการเผาขยะ
คุณสมบัติของขยะมูลฝอย (ต่อ) การคำนวณหาค่าความร้อนที่เกิดจากการเผาขยะ (สูตร : Dulong) Btu/lb = 145C + 610(H-1/8O) + 40S + 10N Btu = ค่าความร้อนของขยะ C = คาร์บอน (%) H = ไฮโดรเจน (%) O = ออกซิเจน (%) S = ซัลเฟอร์ (%) N = ไนโตรเจน (%) 55

56 ตัวอย่างการคำนวณ โจทย์ : ขยะชุมชนกองหนึ่ง นำมาวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีพบว่า มี ส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และซัลเฟอร์ คิดเป็นร้อยละ 39.97, 7.70, 51.65, และ 0.14 ตามลำดับ จงคำนวณหาค่าความร้อนของขยะ กองนี้ สูตร Btu/lb = 145C + 610(H-1/8O) + 40S + 10N = 145(39.97) + 610( /8(51.65)) + 40(0.14) (0.54) = = บีทียู/ปอนด์ 56

57 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางชีวภาพของขยะ (Biological Characteristics) สารประกอบอินทรีย์ในขยะ การย่อยสลายของอินทรียสาร ใช้ O2 ไม่ใช้ O2 57

58 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางชีวภาพของขยะ (Biological Characteristics) (ต่อ) 1. ส่วนประกอบทางชีวภาพของขยะ สารอินทรีย์ตามธรรมชาติ เช่น โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต สารเยื่อใย (Fibers) เช่น เซลลูโลส สารอินทรีย์สังเคราะห์ เช่น พลาสติก 58

59 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางชีวภาพของขยะ (Biological Characteristics) (ต่อ) 2. ความสามารถย่อยสลายทางชีวภาพ การย่อยสลายของขยะ  เปลี่ยนรูปไปเป็นก๊าซ  สารอนินทรีย์ 59

60 คุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คุณสมบัติทางชีวภาพของขยะ (Biological Characteristics) 3. กลิ่น ขยะที่มีสารอินทรีย์เป็นองค์ประกอบ จะถูกย่อยสลายโดยแบคทีเรีย ที่ไม่ใช้ออกซิเจน เกิดการรวมตัวของซัลไฟด์และไฮโดรเจน เป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) จะมีกลิ่นเหม็น (ไข่เน่า) an aerobic Organic Matter CO2 + H2O + New Cells + Gases(H2S) bacteria 60

61 มลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากของเสียอันตราย
Waste Solid Waste Hazardous Waste สาเหตุ การเก็บรวบรวม การขนส่ง การกำจัด การทำลาย

62 มลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากของเสียอันตราย (ต่อ)
มลพิษต่อแหล่งน้ำ เกิดจากการปนเปื้อนกากของเสียใน แหล่งน้ำต่างๆ แหล่งน้ำเกิดเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นจากการย่อยสลายของขยะอินทรีย์ต่างๆ เป็นแหล่งสะสมของขยะที่ย่อยสลายยาก เช่น พลาสติก โฟม เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ เป็นแหล่งสะสมสารพิษ

63 มลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากของเสียอันตราย (ต่อ)
มลพิษต่อแหล่งน้ำ (ต่อ) ท่อระบายน้ำอุดตัน สภาพภูมิทัศน์ไม่สวยงาม ใช้อุปโภคบริโภคไม่ได้ เป็นอันตรายต่อระบบนิเวศในแหล่งน้ำ เสียหายต่อธุรกิจ การประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง

64 มลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากของเสียอันตราย (ต่อ)
มลพิษต่ออากาศ เกิดจากการปนเปื้อนสารพิษในอากาศ เกิดหมอกควันจากการเผาขยะ เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดกลิ่นเหม็นจากกองขยะ เกิดปัญหาก๊าซเรือนกระจก การย่อยสลายของกองขยะในสภาพไร้ออกซิเจน เกิดก๊าซ CO2 CH4 H2S เกิดภาวะโลกร้อน

65 มลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากของเสียอันตราย (ต่อ)
มลพิษต่ออากาศ (ต่อ) ขี้เถ้า (Ash) จากการเผาสารอันตรายฟุ้งกระจาย ฝุ่นละอองทุกชนิดก่อให้เกิดปัญหาระบบทางเดินหายใจ สร้างความเดือดร้อน รำคาญให้ชุมชน

66 มลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากของเสียอันตราย (ต่อ)
มลพิษต่อดิน การปนเปื้อนของสารอันตรายลงสู่ดิน พื้นดินที่ฝังกลบขยะไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ทำให้สภาพความเป็นกรดและด่าง (pH) ของดินเปลี่ยนแปลง โลหะหนักในดินมากขึ้น เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศในดิน เสียหายต่อธุรกิจ การประกอบอาชีพ การดำรงชีพ

67 มลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากของเสียอันตราย (ต่อ)
มลพิษต่อน้ำใต้ดิน เกิดการปนเปื้อนของน้ำชะมูลฝอยลงสู่ชั้นน้ำใต้ดิน เกิดการปนเปื้อนของโลหะหนัก คุณภาพน้ำเสื่อมโทรม ใช้อุปโภคบริโภคไม่ได้ เสียค่าใช้จ่ายสูงในการบำบัดคุณภาพน้ำ

68 ผลกระทบของมลพิษที่เกิดจากของเสียอันตราย
เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ด้าน เช่น น้ำ อากาศ ดิน ฯลฯ เกิดปัญหาการประกอบอาชีพต่างๆ เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจ ค่าใช้จ่าย บำบัด ปรับปรุง เกิดปัญหาสังคม ความขัดแย้ง ความรำคาญ เกิดปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของชุมชน

69 ผลกระทบของมลพิษที่เกิดจากของเสียอันตราย (ต่อ)
เกิดปัญหาความสะอาด เกิดโรคระบาด สูญเสียงบประมาณจำนวนมากในการฟื้นฟู บำบัด เสียชื่อเสียงของชุมชน ประเทศชาติ ฯลฯ

70 การคาดการณ์ปริมาณกากของเสีย : ในอนาคต
หน่วยงาน นำไปวางแผนจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหาขยะ ของเสีย ได้รับการแก้ไข

71 วิธีคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยจากชุมชน
Wn = Wo (1 + r)n Wn = ปริมาณขยะมูลฝอยในปีที่คาดการณ์ (n) Wo = ปริมาณขยะมูลฝอยในปีปัจจุบัน r = อัตราการเพิ่มต่อปีของขยะมูลฝอย n = จำนวนปีที่คาดการณ์

72 ตัวอย่าง ในปีปัจจุบัน (2553) กทม
ตัวอย่าง ในปีปัจจุบัน (2553) กทม. มีขยะมูลฝอย ตัน/วัน กำหนดให้อัตราการเพิ่มของขยะต่อปีเท่ากับร้อยละ 2 ถ้าต้องการทราบ ว่า ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะเกิดในอีก 5 ปีข้างหน้าคือ พ.ศ จะมี จำนวนเท่าใด Wn = Wo (1 + r)n Wn = ปริมาณขยะในปี 2558 Wo = ปริมาณขยะปีปัจจุบัน = ตัน/วัน r = อัตราการร้อยละ 2 หรือ = 0.02% n = จำนวนปีที่คาดการณ์ = 5 Wn = ( )5 Wn = (1.02)5 Wn = × 1.104 Wn = ตัน/วัน

73 การคำนวณอัตราการเกิดขยะของครัวเรือน
สูตร อัตราการเกิดขยะของครัวเรือน = น้ำหนักเฉลี่ยของขยะภายในครัวเรือน (ก.ก./วัน) จำนวนสมาชิกในครัวเรือน (คน)

74 น้ำหนักขยะเฉลี่ย/วัน = ก.ก./วัน
ตัวอย่าง ครอบครัวหนึ่งมีสมาชิก 3 คน จากการเก็บข้อมูลปริมาณขยะที่ เกิดขึ้นระยะเวลา 1 เดือน พบว่ามีขยะ 150 ก.ก. อยากทราบว่า ครอบครัวนี้มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเป็นเท่าใด น้ำหนักขยะเฉลี่ย/วัน = ก.ก./วัน อัตราการเกิดขยะของครัวเรือน = = ก.ก./คน/วัน น้ำหนักเฉลี่ยของขยะภายในครัวเรือน (ก.ก./วัน) อัตราการเกิดขยะของครัวเรือน = จำนวนสมาชิกในครัวเรือน (คน)

75 การคำนวณอัตราการเกิดขยะของชุมชน
บ้านเรือน / ร้านค้า / ตลาดสด / โรงเรียน / โรงแรม / โรงพยาบาล สูตร อัตราการเกิดขยะของชุมชน = น้ำหนักเฉลี่ยของขยะในชุมชน (ก.ก./วัน) จำนวนประชากรในชุมชน (คน)

76 ตัวอย่าง เทศบาลแห่งหนึ่งมีประชากร 3000 คน มีปริมาณการเกิดขยะ มูลฝอยในปี 2552 จำนวน 800 ตัน จงคำนวณอัตราการเกิดขยะมูล ฝอยของประชากรในเทศบาลดังกล่าว น้ำหนักขยะเฉลี่ย/วัน = ก.ก./วัน อัตราการเกิดขยะของชุมชน = ก.ก./คน/วัน น้ำหนักเฉลี่ยของขยะในชุมชน (ก.ก./วัน) อัตราการเกิดขยะของชุมชน = จำนวนประชากรในชุมชน (คน)

77 สถิติ ข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ
สถิติ ข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ พ.ศ. ปริมาณขยะ (ตัน/วัน) 2536 2538 2540 2542 2544 2546 30640 34492 37102 37879 38643 39240

78  Solid waste : ขยะมูลฝอย  Hazardous waste : ของเสียอันตราย
78

79 ของเสียอันตราย (Hazardous Waste)
ขยะมูลฝอย (Solid Waste) non-hazard ของเสียอันตราย (Hazardous Waste) hazard 02/01/62

80 การดำเนินงานจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง
 การจัดการขยะอย่างเป็นระบบ  การบริหารจัดการขยะ  งานจัดการขยะมูลฝอย  งานรักษาความสะอาด งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ 80

81 การดำเนินงานจัดการขยะมูลฝอย
ขยะ/waste 1.ลดขยะ/คัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด 2.เก็บรวบรวม/เก็บกัก 3.การขนส่ง 4.การแปรสภาพ 5.การกำจัด/ทำลาย 81

82  Solid waste : ขยะมูลฝอย  Hazardous waste : ของเสียอันตราย
82

83 1.การลด / คัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด
 ดำเนินการเก็บขยะที่เกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิด  บ้านเรือน / อาคาร / สำนักงาน / ร้านค้า  เป็นความรับผิดชอบของเจ้าของบ้าน / ร้านค้า  หลักการทำงาน 1) ลดขยะแหล่งกำเนิด  ขยะเหลือน้อยสุด 2) คัดแยกขยะ  การจัดการมีประสิทธิภาพขึ้น 83

84 1.1) การลดขยะ ณ แหล่งกำเนิด
 เป็นวิธีการที่ดีที่สุด  ปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมบริโภค 84

85  ปฏิเสธ / หลีกเลี่ยงสินค้าที่จะสร้างปัญหาขยะ เช่น
 ปฏิเสธ / หลีกเลี่ยงสินค้าที่จะสร้างปัญหาขยะ เช่น  สินค้ามีหีบห่อหลายชั้น  สินค้าที่มีอายุการใช้งานต่ำ  สินค้าใช้ประจำวันที่มีขนาดบรรจุภัณฑ์เล็กกว่า  สินค้าที่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม กล่องโฟม 85

86  เลือกใช้สินค้าที่ส่งคืนบรรจุภัณฑ์แก่ผู้ผลิตได้
 เลือกสินค้าที่มีระบบมัดจำและคืนเงิน  เลือกสินค้าที่บรรจุภัณฑ์ใช้ประโยชน์ได้  เลือกสินค้าที่มีส่วนประกอบวัสดุรีไซเคิล 86

87  สินค้าที่ใช้ได้หลายครั้ง / rechargeable battery
 การใช้ซ้ำ (reuse)  สินค้าที่ใช้ได้หลายครั้ง / rechargeable battery  สินค้าเติมใหม่ (refill)  ซ่อมแซมเครื่องใช้  นำวัสดุเหลือใช้มาใช้ใหม่ / ขวดแก้ว  ใช้สิ่งของร่วมกัน / เครื่องดูดฝุ่น 87

88 1.2) การคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด
 ดำเนินการภายหลัง เมื่อมีขยะแล้ว เป็นกิจกรรมเริ่มต้นต่อการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ช่วยลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัด / ทำลาย 88

89 เป็นหน้าที่ของทุกคนในการคัดแยกขยะ
 ประหยัดงบประมาณ เป็นหน้าที่ของทุกคนในการคัดแยกขยะ เจ้าของสถานที่จัดเตรียมภาชนะรองรับขยะที่คัดแยก ผู้เกี่ยวข้อง หามาตรการส่งเสริม สนับสนุนการคัดแยก 89

90 ถังสีเขียว  ขยะเน่าเสียง่าย / ขยะเปียก ถังสีเหลือง  ขยะรีไซเคิล
 ภาชนะรองรับขยะ ถังสีเขียว  ขยะเน่าเสียง่าย / ขยะเปียก ถังสีเหลือง  ขยะรีไซเคิล ถังสีส้ม  ขยะอันตราย ถังสีน้ำเงิน  ขยะทั่วไป / ย่อยสลายมาก 90

91 2.การเก็บรวบรวมขยะ  เก็บขนขยะจากสถานที่ต่างๆ  จุดพักขยะรอ
 เก็บขนขยะจากสถานที่ต่างๆ  จุดพักขยะรอ  ขนถ่ายไปกำจัด / แปรรูปใช้ประโยชน์  กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่น 91

92  หลักการทำงานเก็บ/รวบรวมขยะ  การจัดวางภาชนะรองรับขยะ
 การจัดวางภาชนะรองรับขยะ 1 จุด : ประชากร 350 คน 1 จุด : ครัวเรือน 92

93 2.1) การคำนวณหาจำนวนภาชนะรองรับขยะแต่ละประเภท
 จัดวางภาชนะแต่ละประเภทได้เหมาะสม / เพียงพอ จัดงบประมาณเตรียมซื้อภาชนะรองรับขยะได้ถูกต้อง 93

94 การคำนวณหาภาชนะรองรับขยะแต่ละประเภท
1. จำนวนถังขยะแต่ละประเภท (ใบ) = ปริมาตรขยะทั้งหมด (ลิตร)  ร้อยละของขยะแต่ละประเภท ปริมาตรถังขยะ(ลิตร/ใบ)  จ.น.เที่ยวในการเก็บขยะ/วัน 2. ปริมาตรขยะทั้งหมด (ลิตร/วัน) = ปริมาณขยะ (ก.ก.) ความหนาแน่นของขยะ (ก.ก./ลิตร) 94

95 ตัวอย่าง ชุมชนดุสิตมีขยะเกิดขึ้น 50,000 ก.ก./วัน โดยขยะดังกล่าวมีความหนาแน่น 50 ก.ก./ลิตร จากการวิเคราะห์พบว่า ขยะดังกล่าวประกอบด้วยขยะอินทรีย์ร้อยละ 46 ขยะรีไซเคิล ร้อยละ 42 และขยะทั่วไปร้อยละ 12 ชุมชนดุสิตมีรถขนขยะ 5 คัน โดยออกปฏิบัติงานคันละ 2 เที่ยว/วัน อยากทราบว่าจะต้องเตรียมภาชนะรองรับขยะในแต่ละวันจำนวนกี่ใบ (กำหนดให้ถังขยะ 1 ใบมีความจุ 200 ลิตร) 95

96 1. ปริมาณขยะทั้งหมด 50,000 ก.ก./วัน โดยมีความหนาแน่น 50 ก.ก./ลิตร
การคำนวณ 1. ปริมาณขยะทั้งหมด 50,000 ก.ก./วัน โดยมีความหนาแน่น 50 ก.ก./ลิตร  ปริมาณขยะทั้งหมด = 50,000 ก.ก./วัน 50 ก.ก./ลิตร = 1,000 ลิตร/วัน 2. รถขนขยะมี 5 คัน ปฏิบัติงานคันละ 2 เที่ยว/วัน  จำนวนเที่ยวในการเก็บขนขยะ = 5 คัน  2 เที่ยว/คัน/วัน = 10 เที่ยว/วัน 96

97 3. ขยะอินทรีย์มีปริมาณร้อยละ 46 ถังขยะ 1 ใบมีความจุ 200 ลิตร
 ถังขยะสีเขียว (ขยะอินทรีย์) = 1,000 ลิตร/วัน 46% 200 ลิตร/ใบ  10 เที่ยว = 23 ใบ/วัน 97

98  ถังขยะสีเหลือง (รีไซเคิล) = 1,000 ลิตร/วัน 42%
 ถังขยะสีเหลือง (รีไซเคิล) = 1,000 ลิตร/วัน 42% 200 ลิตร/ใบ  10 เที่ยว = 21 ใบ/วัน  ถังขยะสีน้ำเงิน (ขยะทั่วไป) = 1,000 ลิตร/วัน 12% = 6 ใบ/วัน รวมถังขยะทั้งหมด = 50 ใบ 98

99  เก็บขนขยะจากจุดวางถังขยะในชุมชน ทำได้หลายวิธี เช่น
2.2) ระบบการเก็บขนขยะ  เก็บขนขยะจากจุดวางถังขยะในชุมชน ทำได้หลายวิธี เช่น  ใช้รถเก็บขนขยะจากถังขยะหน้าบ้านชุมชน  เหมาะสำหรับชุมชนริมถนนใหญ่ๆ 99

100  ใช้รถเก็บขนขยะจอดบริเวณใกล้เคียงชุมชน/พนักงานเดินเก็บรวบรวม
 เหมาะสมชุมชนแคบๆ/แออัด  ใช้ถังรวมขนาดใหญ่วางไว้เป็นจุดๆ/ตลาดสด  เหมาะสมแหล่งชุมชนใหญ่ๆ 100

101  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  เตรียมบุคลากร/รถเก็บขนขยะให้เพียงพอ  เก็บขยะให้มากที่สุด/เหลือน้อยสุด  กำหนดให้มีการคิดแยกขยะ  กำหนดเวลาเก็บรวบรวมขยะที่ชัดเจน  พนักงานเก็บขนขยะใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย 101

102 2.3) ประเภทของรถเก็บขนขยะ
 แบบธรรมดา  แบบมีเครื่องอัดขยะ 102

103 รถเก็บขนขยะที่ใช้งานปัจจุบันในไทย
 รถบรรทุกเล็ก ชนิดเปิดข้าง / เทท้าย (3 ม )  รถบรรทุก 6 ล้อ เปิดข้าง / เทท้าย (7-10 ม )  รถบรรทุกคอนเทนเนอร์ 6 ล้อ (6-8 ม ) / มีอุปกรณ์ยกคอนเทนเนอร์  รถบรรทุก 6 ล้อ ชนิดอัดขยะ (15-20 ตัน)  รถบรรทุก 6 ล้อ ชนิดแยกขยะรีไซเคิล (7-10 ม ) 3 3 3 3 103

104 การคำนวณจำนวนรถเก็บขนขยะ
N = Q Q1 N = จ.น.รถเก็บขนขยะที่ต้องใช้งาน (คัน/วัน) Q = ปริมาณขยะแต่ละประเภทที่ต้องการเก็บขนทั้งหมด(ตัน/วัน) Q1=ปริมาณขยะที่รถขยะสามารถเก็บขนได้ต่อคัน (ตัน/คัน/วัน) 104

105 ตัวอย่าง ชุมชนพระนคร มีปริมาณขยะเกิดขึ้น 8,000 ตัน/วัน อยากทราบว่าชุมชนนี้ ต้องใช้รถเก็บขนขยะออกปฏิบัติงานวันละกี่คัน จึงจะเก็บขยะได้หมด (กำหนดให้ รถขนขยะเก็บขยะได้ 2.5 ตัน/เที่ยวและออกปฏิบัติงาน 2 เที่ยว/วัน/คัน) N = Q = 8,000 ตัน/วัน Q ตัน/เที่ยว  2 เที่ยว/คัน/วัน = 1,600 คัน 105

106 2.4) การเก็บกักขยะ ขยะทั่วไป เก็บรวบรวม กำจัด / ทำลาย ใช้ประโยชน์ใหม่
ขยะทั่วไป เก็บรวบรวม กำจัด / ทำลาย ขยะอันตราย เก็บกัก / จ.น.มากพอ กำจัดอย่างปลอดภัย / ถูกวิธี ใช้ประโยชน์ใหม่ 106

107  การเก็บกักขยะ (Hazardous Waste)
 บุคลากรมีความรู้วิธีเก็บกักขยะอันตราย  ควรมีภาชนะเก็บขยะอันตรายแต่ละประเภท / มีฝาปิด  มีเครื่องหมายแสดงประเภทของขยะอันตราย  เก็บขยะในที่ร่ม / อากาศถ่ายเท  เมื่อขยะมากพอ นำไปทำลายอย่างถูกวิธี 107

108 3. การขนส่งขยะ  นำขยะจากแหล่งกำเนิด  จุดกำจัด / ทำลาย / แปรสภาพ
 การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งขยะ ใช้รถขนขยะที่มีเครื่องอัดขยะ ใช้ยานพาหนะที่ขนถ่ายขยะได้ครั้งละมากๆ ทำให้ขยะมีปริมาณลดลงก่อนขนถ่ายขยะ 108

109  สถานที่นำขยะจากชุมชนมาพักรอชั่วคราว
สถานีขนถ่ายขยะ  สถานที่นำขยะจากชุมชนมาพักรอชั่วคราว  ก่อนขนถ่ายสู่พาหนะขนาดใหญ่  กำจัด / ใช้ประโยชน์  ตั้งอยู่ในจุดที่ไม่ห่างไกลชุมชน  เส้นทางคมนาคมสะดวก / มีเส้นทางเข้าออกง่าย  มีพื้นที่เพียงพอ / ไม่ถูกต่อต้านจากชุมชน 109

110 ลักษณะการขนถ่ายขยะ  ขนถ่ายโดยตรง
 ขนถ่ายขยะ  กำจัด / ใช้ประโยชน์ (ไม่พักขยะ)  ขนถ่ายโดยผ่านการเก็บกัก  ขนถ่ายขยะ  บ่อพักขยะ  กำจัด / ใช้ประโยชน์  การขนถ่ายผสม (ใช้ทั้ง 2 วิธีร่วมกัน) 110

111 การขนส่งขยะอันตราย  ขั้นตอนการขนส่งเข้มงวด / รัดกุม
 มีพาหนะขนส่งลักษณะเฉพาะ / ไม่ขนส่งรวมกับขยะทั่วไป  ติดเครื่องหมายแสดงชัดเจน  สถานที่กำจัดเฉพาะ 111

112 4. การแปรสภาพขยะ หรือนำกลับไปใช้ใหม่  เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะ
 ทำให้ขยะจากชุมชนมีสภาพสะดวกในการขนส่งไปกำจัด หรือนำกลับไปใช้ใหม่  เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะ  ลดพื้นที่การเก็บขนขยะ / การฝังกลบ  นำขยะที่คัดแยกแล้วไปใช้ประโยชน์ใหม่หรือกำจัด  นำผลผลิตจากการแปรสภาพมาใช้ประโยชน์ เช่น ปุ๋ยหมัก 112

113 วิธีการแปรสภาพขยะมูลฝอย
 การบด (Grinding)  การแปรสภาพขยะชนิดต่างๆให้ย่อยเป็นชิ้นเล็กๆ  การอัด (Compaction)  การทำให้ขยะมีปริมาตรลดลงจากเดิม เพื่อสะดวกขนส่ง / กำจัด 113

114  การแยกส่วนประกอบ (Separation)
 การคัดแยกขยะออกเป็นประเภทต่างๆ แก้ว/ยาง/เหล็ก  แยกด้วยอากาศ (พ่นอากาศ)  แยกด้วยแม่เหล็ก (โลหะ)  ร่อนด้วยตะแกรง (ขนาดขยะ)  แยกด้วยเทคนิคการลอยในน้ำ/ของเหลว  การย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodegradation) /ใช้จุลินทรีย์ 114

115 5. การกำจัด / ทำลายขยะ (Disposal)
 เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการจัดการขยะ  ก่อนกำจัดต้องพิจารณาคุณลักษณะของขยะก่อน  เป็นขยะอันตรายหรือไม่  สถานที่กำจัด / ทำลาย  วิธีกำจัด 115

116 วิธีกำจัดขยะที่สำคัญ
1. การเทกองบนพื้น(Open dumping) 2. ฝังกลบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill) 3. ฝังกลบวิธีพิเศษ (Secure landfill) 4. เผาในเตาเผา (Incineration) 116

117 การเทกองบนพื้น (Open dumping)
 เป็นวิธีง่ายสุด / ค่าใช้จ่ายน้อย  นำขยะจากชุมชนมาเทกองบริเวณดังกล่าว 117

118  เมื่อขยะมีจำนวนมาก  แหล่งเพาะเชื้อโรค / แมลงนำโรค
 เมื่อขยะมีจำนวนมาก  แหล่งเพาะเชื้อโรค / แมลงนำโรค  น้ำเสียจากขยะปนเปื้อนแหล่งน้ำใช้  ทำลายทัศนียภาพ  กลิ่นเหม็น / รบกวนชุมชน  บางแห่งมีการเผาขยะที่กองด้วย / เกิดมลพิษ 118

119 การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill)
 นำวิธีการทางวิศวกรรมมากำจัดขยะตามหลักสุขาภิบาล  ใช้สำหรับกำจัดขยะมูลฝอยที่มาจากชุมชน / ขยะไม่อันตราย (Municipal solid waste : MSW)  ประเทศต่างๆให้การยอมรับอย่างแพร่หลาย 119

120  มีผลดีหลายด้าน (Sanitary landfill)  ป้องกันปัญหามลพิษ
 ค่าใช้จ่ายต่ำ  รองรับขยะได้มาก  เกิดผลพลอยได้ เช่น ก๊าชชีวภาพ 120

121  ขุดดิน / เทขยะ / บดทับ / ใช้ดินกลบ
 วิธีการดำเนินงาน  ขุดดิน / เทขยะ / บดทับ / ใช้ดินกลบ  เทขยะ / บดทับ / ใช้ดินกลบ  เทขยะ / บดทับ / ใช้ดินกลบ (60 ซ.ม.) 121

122  รูปแบบการฝังกลบ  แบบขุดเป็นร่อง  แบบถมที่
 เป็นการฝังกลบขยะเป็นชั้นๆทับซ้อนกัน 122

123 เกณฑ์การพิจารณาเลือกพื้นที่ฝังกลบขยะ
 อยู่ไม่ไกลจากแหล่งกำเนิดขยะ (ไม่ควรเกิน 15 kms)  มีขนาดพื้นที่เพียงพอรองรับขยะ ปี  รูปแบบการฝังกลบเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ  คุณสมบัติของดิน ซึมซับน้ำต่ำ / น้ำผ่านยาก  ห่างจากระดับน้ำใต้ดิน ไม่น้อยกว่า 10 ฟุต 123

124  ไม่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1, 2
 สภาพแวดล้อมทั่วไปของพื้นที่ฝังกลบขยะ  ไม่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1, 2  อยู่ห่างจากโบราณสถาน (ไม่น้อยกว่า 1 km)  ห่างจากบ่อน้ำดื่ม 700 กม.  ห่างจากสนามบิน ไม่น้อยกว่า 5 กม.  ห่างจากแหล่งน้ำธรรมชาติ ไม่น้อยกว่า 300 ม.  เป็นที่ดอน น้ำไม่ท่วม 124

125 การคำนวณขนาดของพื้นที่ฝังกลบขยะ
สมการ 1 : ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นแต่ละวันในชุมชน (ก.ก./วัน) = จ.น.คน อัตราการทิ้งขยะ(ก.ก./คน/วัน) สมการ 2 : ปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบต่อวัน (ลบ.ม./วัน) = ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น (ก.ก./วัน) ความหนาแน่นของขยะ (ก.ก./ลบ.ม.) สมการ 3 : ขนาดของพื้นที่ฝังกลบขยะ (ตร.ม./ปี) = ปริมาตรขยะ ความลึกของพื้นที่ฝังกลบ 125

126 ตัวอย่าง ชุมชนสุนันทา มีประชากรอาศัยอยู่ 32,000 คน กำหนดให้
1. มีอัตราการทิ้งขยะเท่ากับ 3 ก.ก./คน/วัน 2. ความหนาแน่นของขยะ = 480 ก.ก./ลบ.ม. 3. ความลึกเฉลี่ยของขยะที่อัดแล้วในพื้นที่ฝังกลบ = 3 เมตร จงคำนวณหาขนาดพื้นที่ฝังกลบของชุมชนนี้ 126

127 การคำนวณ สมการ 1 ปริมาณขยะ = 32,000 3(ก.ก./คน/วัน) = 96,000 ก.ก./วัน
สมการ 1 ปริมาณขยะ = 32,000 3(ก.ก./คน/วัน) = 96,000 ก.ก./วัน สมการ 2 ปริมาณขยะ = ,000 (ก.ก./วัน) 480 (ก.ก./ลบ.ม.) = ลบ.ม/วัน สมการ 3 พื้นที่ฝังกลบขยะ = 200 ลบ.ม/วัน ม. = ตร.ม./วัน 365 วัน 127 = 24,333 ตร.ม./ปี

128 ตัวอย่าง อบต.สวนหลวง จัดเตรียมพื้นที่ขนาด 1 ตร.กม.ไว้ก่อสร้างสถานที่ฝังกลบขยะ โดยตั้งเป้าไว้จะรองรับขยะได้ 20 ปี โดย อบต.นี้มีประชากร 50,000 คน และมีอัตราการทิ้งขยะคงที่เท่ากับ 1.5 ก.ก./คน/วัน ก. จงคำนวณหาปริมาณขยะใน อบต.นี้ตลอดเวลา 20 ปี ข. ถ้ากำหนดให้ขยะมีความหนาแน่น 450 ก.ก./ลบ.ม. จงคำนวณหาปริมาตรขยะที่ต้องฝังกลบ ค. ถ้าออกแบบหลุมฝังกลบแบบเป็นร่องบนพื้นที่ 1 ตร.กม.จะต้องขุดร่องลึกเท่าใด 128

129 ก.ปริมาณขยะ = จ.น.คน อัตราการทิ้งขยะ (คน/ก.ก./วัน)
การคำนวณ ก.ปริมาณขยะ = จ.น.คน อัตราการทิ้งขยะ (คน/ก.ก./วัน) = (50,000 1.5 ก.ก./คน/วัน) 365 วัน 20 ปี = 75,000 ก.ก./วัน 365 วัน 20 ปี = 547,500,000 ก.ก. 1 ตัน 1,000 ก.ก. ขยะ 20 ปี = 547,500 ตัน 129

130 ข.ปริมาตรขยะที่ฝังกลบ(ปี) = ปริมาณขยะที่เกิด(ก.ก./วัน)
ข.ปริมาตรขยะที่ฝังกลบ(ปี) = ปริมาณขยะที่เกิด(ก.ก./วัน) ความหนาแน่นของขยะ(ก.ก./ลบ.ม.) = 75,000 ก.ก./วัน 450 ก.ก./ลบ.ม. = ลบ.ม./วัน365 วัน 1 ปีมีขยะที่ต้องฝัง = 60, ลบ.ม. /ปี 130

131 ค. ขนาดของพื้นที่ฝังกลบขยะใน 20 ปี = ปริมาตรขยะ ความลึกของหลุมฝังขยะ
ค. ขนาดของพื้นที่ฝังกลบขยะใน 20 ปี = ปริมาตรขยะ ความลึกของหลุมฝังขยะ ปริมาตรขยะ = ขนาดพื้นที่หลุมฝังกลบ ความลึกของหลุมฝังขยะ ปริมาตรขยะ = ขนาดพื้นที่หลุมฝังกลบ  ความลึกของหลุม 60, 20 ปี = 1 ตร.ม.  ความลึกของหลุม 1 ตร.ม.  ความลึกของหลุม = 60, ลบ.ม./ปี 20 ความลึกของหลุม = , ลบ.ม./ปี 20 ปี 1,000ม.  1,000 ม. ความลึกของหลุม = ,216,871 ลบ.ม. 1,000,000 ตร.ม. 131 หลุมขยะลึก = เมตร

132 น้ำชะมูลฝอย (Leach ate)
 น้ำเสียที่เกิดขึ้นภายในหลุมกลบขยะ  การเน่าเสียของสารอินทรีย์ที่ถูกย่อยสลาย  น้ำภายนอกซึมผ่านเข้ามาสมทบ ตามแรงดึงดูดของโลก  ถ้ามีมากๆจะไหลซึมลงสู่ใต้ดิน 132

133 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดน้ำชะมูลฝอย
 สภาพภูมิอากาศ ฤดูฝน  ลักษณะของพื้นที่อยู่ในทิศทางการไหลของน้ำ  ลักษณะของดินที่ยอมให้น้ำซึมผ่าน  พืช / วัสดุคลุมดิน 133

134 คุณลักษณะของน้ำชะมูลฝอย
 ค่า BOD  ค่าความเป็นกรด / ด่าง (Plt)  ค่าสารแขวนลอยในน้ำ (Total suspended solids)  ค่าความกระด้างของน้ำ  มลสารอื่นๆ โลหะหนัก 134

135 การเคลื่อนที่ของน้ำชะมูลฝอย
 การซึมลงสู่ด้านล่าง  การไหลออกด้านข้างของหลุมฝังกลบ 135

136 การควบคุมน้ำชะมูลฝอย
 ใช้ดินอัดแน่นทำเป็นขอบด้านข้าง  ดินทรายวางด้านล่างแล้วใช้วัสดุปูรองก้นหลุม + ชั้นดินเหนียวอัดแน่น  การบำบัดน้ำชะมูลฝอย  ติดตั้งระบบบำบัดในสถานที่ฝังกลบ  นำน้ำจากสถานที่ฝังกลบไปบำบัดภายนอกหลุม 136

137 การเกิดก๊าชในสถานที่ฝังกลบขยะ
 การย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ (ใช้ O2 /ไม่ใช้อากาศ  เกิดก๊าชต่างๆ  มีเทน (CH4)  คาร์บอนไดออกไซด์  ไนโตรเจน  แอมโมเนีย  ซัลไฟด์ 137

138 การคำนวณปริมาณการเกิดก๊าซในหลุมฝังกลบขยะ
ตัวอย่าง สถานที่ฝังกลบขยะแห่งหนึ่ง มีอัตราการผลิตก๊าซมีเทน เท่ากับ 0.10 ลบ.ฟุต/1 ปอนด์ และมีปริมาณขยะที่นำมาฝังกลบ 100 ตัน/วันเป็นเวลา 250 วัน ภายใน 1 ปี จงคำนวณหาปริมาณการเกิดก๊าซมีเทนต่อวันของสถานที่ฝังกลบขยะแห่งนี้ว่ามีค่าเท่าใด 138

139 วิธีคำนวณ 1.ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งหมด = 100 ตัน/วัน 250 วัน
1.ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งหมด = 100 ตัน/วัน 250 วัน = 25,000/ตัน 2.แปลงหน่วยอัตราการผลิตก๊าซ = ลบ.ฟุต/ตัน 2.2 ปอนด์/ก.ก. 1,000 ก.ก./ตัน = 220 ลบ.ฟุต/ตัน 3.หาปริมาณก๊าซมีเทนทั้งหมดในหลุมฝังขยะ = 220 ลบ.ฟุต/ตัน  25,000 ตัน = 5,500,000 ลบ.ฟ. 4.คำนวณหาปริมาณก๊าซมีเทน/วัน = 5,500,000 ลบ.ฟ. 250 วัน = 22,000 ลบ.ฟุต/วัน 139

140 การควบคุมก๊าซในหลุมขยะ
 ก๊าซมีเทน  ไวไฟ  มักจะลอยขึ้นอากาศ  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  หนาแน่นกว่าอากาศ  เคลื่อนลงสู่น้ำใต้ดิน  วิธีการควบคุม  ให้มีท่อระบายก๊าซ/หุงต้ม 140

141 การฝังกลบวิธีพิเศษ (การฝังกลบอย่างปลอดภัย)
 ฝังกลบขยะอันตราย  เข้มงวด / รัดกุมมากขึ้น  รั่วไหล จะเป็นอันตรายรุนแรงชุมชน / สิ่งแวดล้ม  ปูพื้นรองก้นหลุมด้วยวัสดุพิเศษอายุยืนทนทาน  ขยะที่นำมาฝังต้องบรรจุในภาชนะหนาแน่น ปิดสนิท 141

142 การเผาในเตาเผา  เตาเผาจะแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับการ ออกแบบ
 ใช้ความร้อนอุณหภูมิสูงให้การเผาไหม้สมบูรณ์  เตาเผาจะแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับการ ออกแบบ  ใช้เทคโนโลยีควบคุมการเผาไหม้ 142


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google