การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Advertisements

แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
IQA network Why and How to ?
Health Strategic Management and Planning “การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ”
Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
การสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
การบริหารเชิงกลยุทธ์
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
Strategic management Corporate Strategy
รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ 12 กรกฎาคม 2554
Strategic management Corporate Strategy
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
Strategic management Business Concept Business Model
ครั้งที่ 2 วันที่ 7 มิถุนายน 2556
Strategic management Internal Environment
Lesson learned 3 มีนาคม 2556.
STRATEGIC MANAGEMENT การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการการผลิตและการดำเนินงาน Production/Operation Management บทที่ 2 กลยุทธ์การดำเนินงาน เพื่อการได้เปรียบในการแข่งขัน.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning)
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการเชิงกลยุทธ์
บทที่ 3 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและระบบสารสนเทศทางการตลาด
The Balanced Scorecard & KPI
การบริหารเชิงกลยุทธ์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
การโฆษณาผ่านสื่อดิจิทัล AMC4301
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
ลำดับชั้นของกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์กรธุรกิจ
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
Project Feasibility Study
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
โครงการพัฒนานักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2558 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟคลับ จ.ปทุมธานี
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดย่อม
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
บทที่ 2 ขอบเขตของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
กลยุทธ์องค์การ.
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)

คำนิยามของ “กลยุทธ์” Certo and Peter กลยุทธ์ หมายถึง วิธีดำเนินงานที่มั่นใจได้ว่าจะนำไปสู่ ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร การจัดการเชิงกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการที่ต่อเนื่องและมี การทบทวนกระบวนการเวียนไปมาตลอดเวลา เพื่อให้องค์กรโดยรวม สามารถดำรงอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม Wright และคณะ กลยุทธ์ หมายถึง แผนของผู้บริหารระดับสูงที่จะนำไปสู่ ผลลัพธ์ต่างๆ ที่สอดคล้องกับภารกิจและเป้าประสงค์ขององค์กร

คำนิยามของ “กลยุทธ์” การจัดการเชิงกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการต่อเนื่องในการ กำหนดภารกิจและเป้าประสงค์ขององค์กรภายใต้บริบทของ สิ่งแวดล้อมภายนอกขององค์กร การกำหนดกลวิธีที่เหมาะสม การปฏิบัติงานตามกลวิธีที่กำหนดไว้ การใช้อำนาจหน้าที่ในการ ควบคุมกลยุทธ์ เพื่อทำให้มั่นใจว่ากลวิธีขององค์กรที่นำมาใช้ สามารถนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้

คำนิยามของ “กลยุทธ์” Samuel Paul กลยุทธ์ หมายถึง ชุดของทางเลือกระยะยาวเกี่ยวกับ เป้าประสงค์เชิงปฏิบัติการและนโยบายรวมทั้งแผนปฏิบัติการของ แผนงานของรัฐบาล ซึ่งองค์กรภาครัฐบาลกำหนดโดยคำนึงถึง ปัจจัยที่สำคัญสองประการ ได้แก่ วัตถุประสงค์ของแผนงานที่ รัฐบาลกำหนดไว้ และสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงาน ของแผนงาน

กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environmental Analysis) 2. การจัดวางทิศทางขององค์กร (Establishing Organizational Direction) 3. การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation) 4. การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ (Strategy Implementation) 5. การควบคุมเชิงกลยุทธ์ (Strategic Control)

กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม -การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก -การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน การทบทวนสถานภาพองค์กร 2. การจัดวางทิศทางขององค์กร -ภารกิจขององค์กร -วัตถุประสงค์ขององค์กร การทบทวนภารกิจและ วัตถุประสงค์ขององค์กร 3. กำหนดกลยุทธ์ การประเมินผลแผนงาน การประเมินผลงาน/โครงการ การประเมินผลกระบวนการ -กลยุทธ์ระดับแผนงาน -กลยุทธ์ระดับงาน/โครงการ -กลยุทธ์ระดับกิจกรรม 4. การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ -โครงสร้างขององค์กร -วัฒนธรรมองค์กร โครงสร้างขององค์กร วัฒนธรรมองค์กร 5. การควบคุมกลยุทธ์ -การติดตามผลการปฏิบัติงาน -การประเมินผล การทบทวน สถานภาพองค์กร

ลำดับชั้นของกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์กรธุรกิจ กลยุทธ์ระดับองค์กร (Organizational-Level Strategy) กลยุทธ์ระดับกิจการ (Business-Level Strategy) กลยุทธ์ระดับหน้าที่ (Functional-Level Strategy)

ลำดับชั้นกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์กรภาครัฐบาล กลยุทธ์ระดับนโยบาย (Policy-Level Strategy) กลยุทธ์ระดับโครงการ (Project Purpose) กลยุทธ์ระดับกิจกรรม (Activity)

ภาคธุรกิจเอกชน ภาครัฐบาล วัตถุประสงค์ของการพัฒนาเน้นการแสวงหากำไร และเน้นตัวชี้วัดการทำกำไรเป็นหลัก เป้าประสงค์การพัฒนาเน้นเชิงเศรษฐกิจสังคมและการเมือง และทำให้มีตัวชี้วัดที่หลากหลาย ยึดถือกฎเกณฑ์และระเบียบปฏิบัติขององค์กรอย่างยืดหยุ่น ยึดถือกฎเกณฑ์และระเบียบปฏิบัติขององค์กรอย่างเคร่งครัด ไม่มีอิทธิพลแทรกแซงทางการเมืองในการจัดทำแผน อิทธิพลแทรกแซงทางการเมืองในการจัดทำแผนมีมาก

ข้อแนะนำในการประยุกต์ใช้วิธีการจัดการเชิงกลยุทธ์ 1. ข้อพึงระมัดระวัง 1.1 การทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตล่วงหน้าระยะยาวอาจมีข้อผิดพลาด 1.2 การแยกกระบวนการออกจากกัน เช่น การแยกกลุ่มผู้จัดทำแผน กลุ่มผู้วางกลยุทธ์ และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเป็นคนละกลุ่มกัน หรือไม่สามารถเชื่อมโยงความคิดระหว่างกันได้ และการแยกข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) และข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (Qualitative Data) ออกจากกัน

1.3 การนำเอาความรู้สึกโดยสัญชาตญาณมาใช้ในการกำหนดกลยุทธ์มากกว่าการกำหนดระเบียบวิธีการที่เป็นรูปธรรม

2. ข้อแนะนำ 2.1 วิธีการวางแผนขององค์กรให้เน้นลักษณะของการจำแนกกลยุทธ์ออกเป็นแผนงานตามกลยุทธ์ที่กำหนดไว้แล้ว 2.2 แผนที่จัดทำขึ้นต้องมีส่วนประกอบของวิธีการสื่อสารเพื่อการประสานงาน และวิธีการควบคุมพฤติกรรมของผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานพร้อมไปกับการประเมินผลกลยุทธ์ที่วางไว้ตั้งแต่ต้นและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์

2.3 นักวางแผนต้องมีบทบาทในฐานะผู้กำหนดกลยุทธ์ที่ใช้วิธีการทางตรรกวิทยาในฐานะผู้วิเคราะห์ระบบอย่างเป็นระบบ และในฐานะผู้กระตุ้นให้ผู้บริหารทุกระดับเกิดกระบวนการเรียนรู้

แนวทางการจัดวางทิศทางขององค์กรสำหรับองค์กรเอกชน การจัดวางทิศทางขององค์กร เป็นการระบุหรือกำหนดจุดมุ่งหมายปลายทางที่องค์กรต้องการก้าวไปให้ถึง การจัดวางทิศทางขององค์กรมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับองค์กรภาคเอกชนที่ต้องดำเนินธุรกิจภายใต้ภาวการณ์แข่งขันที่รุนแรง หากองค์กรไม่สามารถกำหนดทิศทางที่ชัดเจนได้แล้ว กลยุทธ์ขององค์กรที่จะจัดทำขึ้นก็จะไม่สามารถผลักดันให้องค์กรมีความสามารถในการแข่งขันที่เพียงพอจะทำให้ธุรกิจอยู่รอดได้หรือมีความแตกต่างเมื่อเทียบกับคู่แข่งในสายตาของลูกค้า

วิสัยทัศน์ (Organizational Vision) คืออะไร ?? ภาพหรือตำแหน่งในการแข่งขันขององค์กรในอีก 3-5 ปีข้างหน้า จินตนาการเกี่ยวกับอนาคตขององค์กรที่เกิดจากทัศนคติและมุมมอง ตลอดจนแนวคิดของผู้บริหาร ความคิดเกี่ยวกับสภาวการณ์ในอนาคตของสภาวะแวดล้อมในการ ดำเนินธุรกิจ

ความปรารถนาหรือความทะเยอทะยานสำหรับอนาคต สิ่งที่ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการดำเนินธุรกิจ

พันธกิจ (Organizational Mission) คืออะไร?? พันธกิจขององค์กรจะบ่งบอกถึงกิจกรรมที่องค์กรจะต้องทำ เพื่อสนับสนุนให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ ซึ่งจะช่วยสร้างคุณค่าและ ความแตกต่างขององค์กรจากองค์กรอื่น

ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดพันธกิจขององค์กร องค์กรกำลังอยู่ในธุรกิจอะไร องค์กรจะต้องเปลี่ยนแปลงพันธกิจเมื่อไร องค์กรจะมีการถ่ายทอดพันธกิจอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมได้ อย่างไร

ความสำคัญของการกำหนดพันธกิจขององค์กรให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถระบุจุดมุ่งหมายภายในองค์กรได้ เพื่อช่วยถ่ายทอดความคิดของผู้บริหารออกมาเป็นทิศทางที่ชัดเจน เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานในการจัดสรรทรัพยากรขององค์กร เพื่อเป็นหลักสำคัญในการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ องค์กร

เพื่อความสะดวกในการแปลงความหมายวัตถุประสงค์ในโครงสร้าง การทำงาน การออกแบบระบบงาน และการกำหนดความรับผิดชอบ ภายในองค์กร เพื่อช่วยในการตัดสินใจและดำเนินการของพนักงานระดับล่างให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

ข้อควรระวังในการกำหนดพันธกิจ การกำหนดขอบเขตของพันธกิจที่แคบหรือกว้างเกินไป การให้ความสำคัญและการจัดสรรเวลาของผู้บริหารระดับสูงในการ กำหนดพันธกิจ ความเข้าใจผิดที่ว่าเมื่อมีการกำหนดทิศทางขององค์กรขึ้นมาแล้วจะ ไม่สามารถที่จะปรับเปลี่ยนพันธกิจได้

วัตถุประสงค์ (Organizational Objective) คืออะไร ?? วัตถุประสงค์ คือ การกำหนดพันธกิจของธุรกิจให้อยู่บนรูปของผลลัพธ์สำคัญที่ต้องการหรือเป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการในอนาคต ซึ่งองค์กรจะต้องพยายามทำให้เกิดขึ้นหลังจากการกำหนดวัตถุประสงค์แล้วจะช่วยทำให้ผู้บริหารทราบถึงผลที่ธุรกิจต้องการจะบรรลุ

วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีการจัดแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้ วัตถุประสงค์ด้านการเงิน (Financial Perspective) วัตถุประสงค์ด้านลูกค้า (Customer Perspective) วัตถุประสงค์ด้านกระบวนการธุรกิจภายใน (Internal Process Perspective) วัตถุประสงค์ด้านองค์กรและการเรียนรู้ (Learning and Growth Perspective)

เป้าหมาย (Organizational Goal) คืออะไร ?? เป้าหมาย คือ การระบุวัตถุประสงค์ให้มีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง สามารถวัดได้ เป้าหมายจะมีลักษณะที่สามารถวัดได้หรือเขียนไว้ในรูปแบบที่ระบุปริมาณไว้อย่างชัดเจน มีการกำหนดระยะเวลาที่แน่นอนในการบรรลุถึงสิ่งที่ต้องการ

สามารถบรรลุได้ ไม่ยากเกินไป มีความท้าทาย ไม่ง่ายเกินไป ลักษณะเป้าหมายที่ดี สามารถบรรลุได้ ไม่ยากเกินไป มีความท้าทาย ไม่ง่ายเกินไป สามารถวัดผลได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด สนับสนุนภารกิจหลักและวัตถุประสงค์หลัก พนักงานมีส่วนร่วมในการกำหนด มีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ก่อให้เกิดแรงจูงใจในกลุ่มพนักงาน ชัดเจน เข้าใจง่าย และเป็นที่เข้าใจตรงกัน

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในองค์กร (Internal Stakeholders) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงในการซื้อขายและรับบริการ (Marketplace Stakeholders) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคมแต่อยู่นอกองค์กร (External Stakeholders)

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความรับผิดชอบทางสังคม (Social Responsibility) 1. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ควรคำนึงถึง - ความปลอดภัยของการใช้ผลิตภัณฑ์หรือรับบริการ - ราคายุติธรรม - การโฆษณาที่ไม่หลอกลวง - การไม่ก่อความรำคาญของพนักงานขายหรือการรบกวนผู้ที่ยังไม่ต้องการซื้อ - การคำนวณสินเชื่อที่กระจ่างชัดหรือไม่คลุมเครือ - การให้สารสนเทศที่เพียงพอ

2. ความรับผิดชอบต่อลูกจ้าง ควรคำนึงถึง - ค่าจ้างที่เป็นธรรม - ความปลอดภัยในการทำงาน - การปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน - การให้โอกาสได้รับการฝึกอบรม - การให้โอกาสแก่ผู้พิการ - การให้สวัสดิการด้านรักษาพยาบาล

3. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ควรคำนึงถึง - การป้องกันภาวะมลพิษ - ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ 4. ความรับผิดชอบต่อสังคม ควรคำนึงถึง - การคำนึงถึงคนส่วนน้อยและส่งเสริมธุรกิจระดับชุมชน - การบริจาคเงินอุดหนุนเพื่อการพัฒนาสังคม - ผลกระทบทางสังคมจากการตั้งองค์กร - การให้สารสนเทศเกี่ยวกับกิจการแก่สาธารณะอย่างครบถ้วน

การวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์ SWOT หมายถึง การวิเคราะห์ Strengths- Weaknesses -Opportunities-Threats โดยพิจารณา ความสัมพันธ์ระหว่างผลการประเมินสถานภาพของสภาพแวดล้อม ภายในระหว่างจุดแข็งและจุดอ่อนและผลการประเมินสถานภาพของ สภาพแวดล้อมภายนอก ระหว่างโอกาสและอุปสรรค ซึ่งทำให้เกิดกรณี โน้มเอียง 4 กรณี

กรณีโน้มเอียง 4 กรณี กรณี “เด่นและเอื้อ” ควรจะเลือกกลยุทธ์การสร้างความเติบโต (Growth Strategy) กรณี “ด้อยและไม่เอื้อ” ควรจะเลือกกลยุทธ์การตัดทอน (Retrenchment Strategy) กรณี “เด่นแต่ไม่เอื้อ” และ “เอื้อแต่ไม่เด่น” ควรจะเลือกกลยุทธ์ การรักษาเสถียรภาพ (Stability Strategy)

การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร กลยุทธ์ระดับองค์กร (Corporate Strategy) กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy) กลยุทธ์ระดับหน้าที่ (Functional Strategy)

กลยุทธ์ระดับองค์กร(Corporate Strategy) ต้องพิจารณาปัจจัยสำคัญ คือ ทิศทางองค์กร (Directional Strategy) การวิเคราะห์กลุ่มของการลงทุน (Portfolio Strategy)

กลยุทธ์ขององค์กร เมื่อพิจารณาจากทิศทางประกอบด้วย 1 กลยุทธ์ขององค์กร เมื่อพิจารณาจากทิศทางประกอบด้วย 1. กลยุทธ์ขยายตัว (Growth Strategy) 1.1 กลยุทธ์การขยายตัวที่มุ่งเน้นความเชี่ยวชาญ (Concentration Growth Strategy) 1.2 กลยุทธ์การขยายตัวที่มุ่งเน้นการขยายธุรกิจ (Diversification Growth Strategy)

2. กลยุทธ์คงตัว (Stability Strategy) 2 2. กลยุทธ์คงตัว (Stability Strategy) 2.1 กลยุทธ์การยับยั้ง หรือการดำเนินการด้วยความระมัดระวัง (Pause/Proceed with Caution Strategy) 2.2 กลยุทธ์การไม่เปลี่ยนแปลง (No Change Strategy) 2.3 กลยุทธ์การทำกำไร (Profit Strategy)

3. กลยุทธ์หดตัว (Retrenchment Strategy) 3 3. กลยุทธ์หดตัว (Retrenchment Strategy) 3.1 กลยุทธ์การฟื้นฟู (Turnaround Strategy) 3.2 กลยุทธ์บริษัทเชลย (Captive Company Strategy) 3.3 กลยุทธ์การขายทิ้งหรือการถอนทุนการลงทุน (Sell-Out/ Divestment Strategy) 3.4 กลยุทธ์การล้มละลายหรือการเลิกกิจการ (Bankruptcy/ Liquidation Strategy)

การวิเคราะห์กลุ่มการลงทุน (Portfolio Strategy) 1. การวิเคราะห์การเติบโตและส่วนแบ่งในตลาด 1.1 กรณี “เติบโตสูง-ส่วนแบ่งตลาดต่ำ” เรียกว่า “Question Marks” หรือ “เครื่องหมายคำถาม” 1.2 กรณี “เติบโตสูง-ส่วนแบ่งตลาดสูง” เรียกว่า “Stars” หรือ “ดาวเด่น” 1.3 กรณี “เติบโตต่ำ-ส่วนแบ่งตลาดสูง” เรียกว่า “Cash Cows” หรือ “แม่วัวเงิน” 1.4 กรณี “เติบโตต่ำ-ส่วนแบ่งต่ำ” เรียกว่า “Dogs” หรือ “สุนัข”

2. การวิเคราะห์ความน่าสนใจของตลาดและความแข็งแกร่งของ องค์กร 2.1 กรณี “ความน่าสนใจสูง-ความแข็งแกร่งสูง” “ความน่าสนใจ พอใช้-ความแข็งแกร่งสูง” และ “ความน่าสนใจสูง-ความแข็งแกร่ง พอใช้” เป็นลักษณะที่ควรลงทุนและสร้างความเติบโต 2.2 กรณี “ความน่าสนใจต่ำ-ความแข็งแกร่งต่ำ” “ความน่าสนใจ พอใช้-ความแข็งแกร่งต่ำ” และ “ความน่าสนใจต่ำ-ความแข็งแกร่ง พอใช้” เป็นลักษณะที่ควรเก็บเกี่ยวและถอนตัว

2.3 กรณี “ความน่าสนใจต่ำ-ความแข็งแกร่งสูง” “ความน่าสนใจ พอใช้-ความแข็งแกร่งพอใช้” และ “ความน่าสนใจสูง-ความแข็งแกร่ง ต่ำ” เป็นลักษณะที่ควรลงทุนที่มีการเลือกสรรวิธีการอย่างรัดกุม

กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy) 1. กลยุทธ์ต้นทุนต่ำ (Lower Cost Strategy) 2. กลยุทธ์การสร้างความแตกต่าง (Differentiation Steategy) 2.1 การเป็นผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership) 2.2 การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) 2.3 มุ่งต้นทุนต่ำ (Cost Focus) 2.4 มุ่งที่ความแตกต่าง (Focused Differentiation)

กลยุทธ์ระดับหน้าที่ (Functional Strategy) 1. กลยุทธ์ด้านวิจัยและพัฒนา (Research and Development Strategy) 2. กลยุทธ์ด้านปฏิบัติการ (Operations Strategy) 3. กลยุทธ์ด้านการเงิน (Financial Strategy) 4. กลยุทธ์ด้านการตลาด (Marketing Strategy) 5. กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Strategy)

หลักการพัฒนากลยุทธ์ระดับกิจกรรม 1. การวิเคราะห์สมรรถนะ (Capability Analysis) 2. การชั่งน้ำหนักจุดแข็งและจุดอ่อน (Trade-offs) 3. การเชื่อมโยงกลยุทธ์ในระดับของกิจกรรมระหว่าง หน่วยงานย่อยต่างๆ เพื่อให้บุคลากรในแต่ละหน่วยงานเข้าใจถึง บทบาทในหน่วยงานย่อยต่างๆ ขององค์กร 4. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในกระบวนการรับรู้เรื่องต่างๆ (Participation) ซึ่งจะช่วยในการลดความขัดแย้งภายใน องค์กร

หลักการพัฒนากลยุทธ์ระดับกิจกรรม (ต่อ) 5. การเสริมสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับงานด้านต่างๆ ของ องค์กร (Multifunctional Experience) 6. การประสานแผน (Coordination) โดยการเชื่อมโยง วัตถุประสงค์ของทุกงานภายใต้แผนงานเดียวกัน และเชื่อมโยง วัตถุประสงค์ของทุกแผนงานในองค์กร

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ

รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวกรวิภา ทองมี รหัสนิสิต 57440003 กลุ่ม 2101 2. นางสาวจารุวรรณ ปราบจะบก รหัสนิสิต 57440006 กลุ่ม 2101 3. นางสาวจินตนา เกยด่านกลาง รหัสนิสิต 57440007 กลุ่ม 2101 4. นางสาวนันทิมา อู่ขำ รหัสนิสิต 57440024 กลุ่ม 2101 5. นางสาวเบญจพร ทองเย็น รหัสนิสิต 57440030 กลุ่ม 2101 6. นางสาวปานรดา กุลยานิชานาถ รหัสนิสิต 57440031 กลุ่ม 2101 7. นางสาวพรพิมล สวัสดิ์เดช รหัสนิสิต 57440034 กลุ่ม 2101 8. นางสาวสุมล เทพสถิตย์ รหัสนิสิต 57440070 กลุ่ม 2101 9. นางสาวชลิตา อาแว รหัสนิสิต 57440092 กลุ่ม 2101 10. นางสาวพัชราภรณ์ สุขเกษม รหัสนิสิต 57440124 กลุ่ม 2101 11. ปริญญารัตน์ รหัสนิสิต 57440124 กลุ่ม 2101 คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ (เทียบโอน)