การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การตลาดและเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing and New Economy) แนวความคิดหลักการตลาด (The Core Concepts of Marketing) การบริหารการตลาด (Marketing Management) แนวความคิดการตลาด (Marketing Concept) การสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า (Building Customer Satisfaction) EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การตลาดและเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing and New Economy) การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (New Economy) จากการเน้นกำไรมาเป็นการสร้างคุณค่าลูกค้าตลอดชีวิต จากการเน้นตัวเลขการเงินมาเป็นตัวเลขการตลาดเพิ่มขึ้น จากการเน้นผู้ถือหุ้นบริษัทมาเป็นการเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากการตลาดทำการตลาดมาเป็นให้ทุกคนทำการตลาด จากการสร้างตราสินค้าผ่านการโฆษณามาเป็นหน้าที่การทำงาน จากการเน้นการให้ลูกค้าเข้ามาซื้อมาเป็นการเน้นการรักษาลูกค้าไว้ จากการที่ไม่วัดความพึงพอใจลูกค้าเป็นการวัดความพึงพอใจลูกค้าเชิงลึก จากการให้สัญญาที่สูงแต่ส่งมอบที่ต่ำเป็นการให้สัญญาที่ต่ำแต่ส่งมอบที่สูง EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การตลาดและเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing and New Economy) การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (New Economy) ความหมายและความสำคัญของการตลาด ความหมายการตลาด (The Definition of Marketing) การตลาดคือ การทำหน้าที่ขององค์กรและกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างสรรค์ การสื่อสาร และส่งมอบคุณค่าให้แก่ลูกค้า โดยทำการบริหารจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อให้ได้รับประโยชน์ต่อองค์กรและผู้ถือหุ้นทั้งหลาย ความสำคัญของการตลาด (The Importance of Marketing) ต่อองค์กรธุรกิจ ต่อสังคม ต่อระบบเศรษฐกิจ EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การตลาดและเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing and New Economy) การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (New Economy) ความหมายและความสำคัญของการตลาด หน้าที่การตลาด (Marketing Function) หน้าที่เกี่ยวกับการจัดหาสินค้า (Merchandising Function) หน้าที่เกี่ยวกับการจัดจำหน่าย (Distributing Function) หน้าที่อำนวยความสะดวกและสนับสนุน (Facilitating Function) หน้าที่การเพิ่มอรรถประโยชน์จากหน้าที่ทางการตลาด (Utility from Marketing Function) EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การตลาดและเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing and New Economy) การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (New Economy) ความหมายและความสำคัญของการตลาด แนวทางการศึกษางานด้านการตลาด (The Study of Marketing) การศึกษาจากโภคภัณฑ์ (Commodity Approach) การศึกษาจากสถาบัน (Institutional Approach) การศึกษาจากหน้าที่ด้านการตลาด (Functional Approach) การศึกษาจากการบริหาร (Managerial Approach) การศึกษาจากสังคม (Social Approach) EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การตลาดและเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing and New Economy) การตลาดในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล (Digital Economy) ความหมาย refers to an economy that is based on digital technologies. The digital economy is also sometimes called the Internet Economy, the New Economy, or Web Economy. Increasingly, the “digital economy” is intertwined with the traditional economy making a clear delineation harder. EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การตลาดและเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing and New Economy) การตลาดในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล (Digital Economy) การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) is marketing that makes use of electronic devices (computers) such as PC, smart phones, cell phones, tablets and game consoles to engage with stakeholders. Digital marketing applies technologies or platforms such as websites, e-mail, apps (classic and mobile) and social networks. Digital Marketing can be through Non-internet channels like TV, Radio, SMS, etc. or through Internet channels like Social Media, E-mails ads, Banner ads, etc. Social Media Marketing is a component of digital marketing. Many organizations use a combination of traditional and digital marketing channels; however, digital marketing is becoming more popular with marketers in today’s marketing channels. EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) แนวความคิดหลักการตลาด (The Core Concepts of Marketing) ความจำเป็น ความต้องการ อุปสงค์ ผลิตภัณฑ์ คุณค่า/ต้นทุน ความพึงพอใจ แลกเปลี่ยน ทำการซื้อขาย ตลาด วิธีการตลาด นักการตลาด EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) แนวความคิดหลักการตลาด (The Core Concepts of Marketing) การแลกเปลี่ยนในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ ตลาด ผู้บริโภค รัฐบาล ทรัพยากร คนกลาง เงิน ภาษี สินค้าและบริการ บริการ สินค้า บริการ/เงิน ตลาด ผู้ผลิต EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การบริหารการตลาดเชิงธุรกิจ (General Frameworks of Marketing in Business) การวิเคราะห์โอกาสและสิ่งแวดล้อมทางการตลาด การวิจัยตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งตลาด การออกแบบกลยุทธ์และการวางแผน โปรแกรมการตลาด การจัดองค์การ การปฏิบัติการ และการควบคุม สิ่งแวดล้อมมหภาค - ประชากรศาสตร์ - ภาวะเศรษฐกิจ - กายภาพ - เทคโนโลยี - การเมือง/กฎหมาย -สังคม/วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมจุลภาค - ผู้ขายปัจจัยการผลิต - คนกลางทางการตลาด - คู่แข่งขัน - กลุ่มสาธารณะชน - ลูกค้า การวิจัยตลาด และการแบ่งส่วนตลาด - ตลาดผู้บริโภค - ตลาดธุรกิจ - การสร้างความแตกต่าง ด้านผลิตภัณฑ์ บริการ บุคลากร และภาพลักษณ์ ส่วนประสมการตลาด - กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ - กลยุทธ์ราคา - กลยุทธ์การจัดจำหน่าย - กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด งบประมาณกิจกรรม โปรแกรมการปฏิบัติงาน ประเมินและควบคุม - การจัดองค์การ - วัตถุประสงค์ - หน้าที่รับผิดชอบ - การวัดผลงาน -ปรับปรุงการทำงาน EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) แนวความคิดการตลาด (Marketing Concept) แนวความคิดมุ่งการตลาดเพื่อสังคม (The Societal Marketing Concept) แนวความคิดมุ่งการตลาด (The Marketing Concept) แนวความคิดมุ่งการขาย (The Selling Concept) แนวความคิดมุ่งผลิตภัณฑ์ (The Product Concept) แนวความคิดมุ่งการผลิต (The Production Concept) EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) แนวความคิดการตลาด (Marketing Concept) ความแตกต่างระหว่างการตลาดและการขาย โรงงานผลิต ผลิตภัณฑ์ การขายและการส่งเสริมการขาย กำไรภายใต้ปริมาณการขาย ตลาดเป้าหมาย ความต้องการลูกค้า การตลาดแบบประสานงานกัน กำไรภายใต้ความพึงพอใจลูกค้า แนวความคิดการขาย แนวความคิดการตลาด จุดเริ่มต้น จุดเน้น วิธีการ เป้าหมาย EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
ลูกค้าไม่มีคุณสมบัติที่จะซื้อ การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) การสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า (Building Customer Satisfaction) : การบริหารงานลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management or CRM) การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงลูกค้า (Customer Development) ลูกค้าไม่มีคุณสมบัติที่จะซื้อ ลูกค้า มุ่งหวัง ลูกค้า สงสัยจะซื้อ ลูกค้า ซื้อครั้งแรก ลูกค้า ซื้อซ้ำ ตลาด ออกจากการเป็นลูกค้า ลูกค้า ที่ซื้อบ่อยๆ ลูกค้า ที่เป็นสมาชิก ลูกค้า ที่เป็นหุ้นส่วน EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy) Q&A EM: Asst.Prof.Dr.Pattana Sirichotpundit, Ph.D.