หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

CHAPTER 14 Database Management
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
ซอฟแวร์ที่สนใจ Adobe Acrobat 6.0 Professional.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การใช้งาน Microsoft Excel
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
SQL Structured Query Language.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
หน่วยการเรียนที่ 7 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย Dreamweaver
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การเขียนเว็บ Web Editor
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function เมื่อกล่าวถึงการเขียนโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล ด้วยภาษา PHP ก็มีคำสั่งที่นำมาใช้งานบ่อยๆไม่กี่คำสั่ง เช่น การเชื่อมต่อฐานข้อมูล การเพิ่มข้อมูล การค้นหาข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล การลบข้อมูล ซึ่งในหน่วยการเรียนนี้จะเป็นการเรียกใช้ PHP Function ภาพที่ 6.1 การบริหารจัดการฐานข้อมูล MySQL ด้วย Dreamweaver ที่มา : http://www.tutoriales-dreamweaver.com/ ที่ใช้ในการติดต่อฐานข้อมูล MySQLโดยกล่าวถึงการทำงานและขั้นตอนการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้งานฐานข้อมูล MySQL ดังต่อไปนี้

ตารางที่ 6.1 รูปแบบการใช้คำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล 1. คำสั่งสำหรับจัดการฐานข้อมูล MySQL ด้วย PHP Function ในการเรียกใช้งานฐานข้อมูล MySQL นั้นภาษา PHP ได้มีการออกแบบคำสั่งสำหรับติดต่อและจัดการฐานข้อมูลมาโดยเฉพาะโดยมีคำสั่งที่นิยมใช้บ่อยเช่น mysqli_connect, mysqli_query, mysqli_num_rows, mysqli_fetch_array เป็นต้น โดยมีรูปแบบและคำอธิบายวิธีการใช้งานดังนี้ 1.1 การเชื่อมต่อฐานข้อมูล MySQL ด้วยคำสั่ง mysqli_connect() ฟังก์ชั่น mysqli_connect เป็นการเริ่มต้นการเชื่อมต่อฐานข้อมูล MySQL เพื่อเข้าไปใช้งานฐานข้อมูลในลักษณะต่างๆโดยมีรูปแบบดังนี้ ตารางที่ 6.1 รูปแบบการใช้คำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล อธิบายความหมายรูปแบบการใช้งานคำสั่ง mysqli_connect 1) โดเมน คือ ชื่อโดเมนหรือหมายเลขไอพีแอดแดสประจำเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่รันฐานข้อมูล MySQL ในกรณีปกติที่ฐานข้อมูลทำงานบนเครื่องเดียวกันเราจะนิยมใช้ localhost หรือหมายเลขไอพีประจำเครื่องคือ 127.0.0.1 2) ชื่อผู้ใช้งาน คือ ชื่อผู้ใช้งาน username ที่จะเข้าใช้งานฐานข้อมูล 3) รหัสผ่าน คือ รหัสผ่านเพื่อเข้าใช้งานระบบฐานข้อมูล 4) ชื่อฐานข้อมูล คือ ฐานข้อมูลที่ต้องการเรียกใช้ การเรียกใช้งาน mysqli_connect มักจะใช้ควบคู่กับคำสั่งสำหรับตรวจสอบการเชื่อมต่อที่ไม่สมบูรณ์โดยใช้ตัวดำเนินการ or เพื่อใช้ในการแสดงผลการเชื่อมต่อดังนี้

ตารางที่ 6.2 รูปแบบการใช้คำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูลพร้อมคำสั่งตรวจสอบการเชื่อมต่อ 1.2 การประมวลผลข้อมูลภาษา SQL ด้วยคำสั่ง mysqli_query() ในกระบวนการติดต่อฐานข้อมูล MySQL ต้องมีการจัดการฐานข้อมูล เช่น การเพิ่ม ค้นหา ลบ แก้ไข ข้อมูลในระบบฐานข้อมูล ซึ่งมีความต้องใช้ภาษา SQL ในการจัดการฐานข้อมูล โดยภาษา PHP นั้นมีคำสั่งที่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับประมวลผลคำสั่ง SQL นั้นคือคำสั่ง mysqli_query ตารางที่ 6.3 การประมวลผลข้อมูลภาษา SQL ด้วยคำสั่ง mysqli_query การเรียกใช้งาน mysqli_query มักจะใช้ควบคู่กับคำสั่งสำหรับตรวจสอบการเชื่อมต่อที่ไม่สมบูรณ์โดยใช้ตัวดำเนินการ or เพื่อใช้ในการแสดงผลการเชื่อมต่อดังนี้ ตารางที่ 6.4 รูปแบบการใช้คำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูลพร้อมคำสั่งตรวจสอบการประมวลผล

1.3 การนับจำนวนแถวข้อมูลด้วยคำสั่ง mysqli_num_rows() การนับจำนวนแถวข้อมูล ด้วยคำสั่ง mysqli_num_rows นั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเรียกแสดงข้อมูลด้วยคำสั่ง select * from ….. ซึ่งมีความจำนวนต้องใช้คำสั่ง while เพื่อทำการวนรอบดึงข้อมูลออกมาเพื่อทำการแสดงผลตามจำนวนที่ คำสั่ง mysqli_num_rows สามารถดึงออกมาได้ ตารางที่ 6.5 การนับจำนวนแถวข้อมูลด้วยคำสั่ง mysqli_num_rows การประยุกต์ใช้งานคำสั่ง mysqli_num_rows สำหรับดึงข้อมูลนั้นจะใช้ควบคู่กับคำสั่ง mysql_fetch_array() แต่ในบทเรียนนี้จะใช้คำสั่ง mysqli_fetch_assoc() ซึ่งมีความสะดวกกว่าในการดึงข้อมูลออกมาแสดง 1.4 การอ่านข้อมูลและจัดการข้อมูลด้วยคำสั่ง mysqli_fetch_assoc() การอ่านข้อมูลออกมาจากฐานข้อมูลทีละแถว แล้วนำไปเก็บไว้ในตัวแปรอาร์เรย์เมื่อเราต้องการเรียกใช้ข้อมูลก็ระบุตำแหน่งตัวแปรอาร์เรย์เพื่อเรียกใช้งานข้อมูลนั้นๆ ซึ่งนิยมสำหรับใช้ในการดึงข้อมูลมาแสดงผลโดยคำสั่งที่นิยมใช้กัน เช่น คำสั่ง mysql_fetch_array, mysqli_fetch_assoc ในที่นี้จะแนะนำการใช้คำสั่ง mysqli_fetch_assoc ซึ่งมีความสะดวกและความเร็วในการประมวลผลดีกว่าการใช้คำสั่ง mysql_fetch_array แบบเดิม โดยจะกล่าวถึงการประยุกต์ใช้งานในส่วนถัดไปเรื่องการแสดงผลข้อมูล ตารางที่ 6.6 การอ่านข้อมูลและจัดการข้อมูลด้วยคำสั่ง mysqli_fetch_assoc()

2. การเขียนโปรแกรมเพิ่มข้อมูลด้วยคำสั่ง insert การจัดการข้อมูลในระบบฐานข้อมูล MySQL นั้นภาษา PHP มีคำสั่งสำหรับจัดการฐานข้อมูลโดยเฉพาะซึ่งได้กล่าวถึงไปแล้วนั้น ในส่วนของหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการนำคำสั่งมาประยุกต์ใช้งานสำหรับจัดการข้อมูลโดยการเพิ่มข้อมูลจะกระทำการค่าตัวแปรผ่านฟอร์มรับข้อมูลแล้วทำการส่งค่าในรูปแบบของ POST เพื่อนำข้อมูลที่ได้ทำการบันทึกผ่านคำสั่ง Insert ในชุดคำสั่ง SQL ในภาษา PHP จะมีลำดับการทำงานของคำสั่งตามแผนผังลำดับไดอะแกรมดังนี้ registeradd.php ภาพที่ 6.2 แผนผังการทำงานการเพิ่มข้อมูล ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.3 ตัวอย่างไฟล์ฟอร์มกรอกข้อมูล register.php ในหน่วยการเรียนที่ 4 ได้ทำการสร้างฐานข้อมูลและออกแบบความสัมพันธ์ภายในตารางด้วยโปรแกรม MySQL Workbench ในส่วนนี้จะไม่กล่าวถึงการสร้างฐานข้อมูล แต่จะกล่าวถึงการเขียนโปรแกรมเพื่อจะเพิ่มข้อมูลลงในฐานข้อมูล MySQL โดยการเพิ่มข้อมูลจะประกอบด้วย 2 ไฟล์ คือ register.php และ registeradd.php ในส่วนของไฟล์ register.php จะทำหน้าที่เป็นฟอร์มรับค่าข้อมูลเพื่อส่งค่า POST[ ] ไปยังไฟล์ ที่จะทำหน้าที่บันทึกข้อมูลลงสู่ฐานข้อมูล MySQL registeradd.php ภาพที่ 6.3 ตัวอย่างไฟล์ฟอร์มกรอกข้อมูล register.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.4 ตัวอย่างไฟล์ฟอร์มกรอกข้อมูล registeradd.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 เมื่อสร้างไฟล์เพิ่มข้อมูล register.php และ registeradd.php ทำการรันโปรแกรมจะแสดงผลฟอร์มกรอกข้อมูลนักศึกษา และคลิกปุ่มบันทึกข้อมูล หน้าจอจะแสดงข้อความ ข้อมูลบันทึกสมบูรณ์

ภาพที่ 6.5 ตัวอย่างฟอร์มกรอกข้อมูล register.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 3. การเขียนโปรแกรมแสดงข้อมูลด้วยคำสั่ง select 3.1 โปรแกรมแสดงข้อมูลด้วยคำสั่ง select เพื่อแสดงข้อมูลทั้งหมด การเขียนโปรแกรมสำหรับแสดงข้อมูลนั้นคำสั่ง SQL สำหรับการเรียกดูข้อมูลคือ Select โดยมีลักษณะการทำงานของการเรียกใช้งานโปรแกรมแสดงผลข้อมูลทั้งหมดจากตารางฐานข้อมูลที่ต้องการโดยใช้เลือกใช้คำสั่ง SQL สำหรับการเรียกแสดงข้อมูล เช่น select * from student; โดยการแสดงลำดับการทำงานดังบล็อคไดอะแกรมแสดงการทำงานดังนี้

ภาพที่ 6.6 แผนผังการทำงานการแสดงผลข้อมูล ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 ภาพที่ 6.7 ไฟล์การแสดงผลข้อมูล

ภาพที่ 6.8 ผลลัพธ์การแสดงข้อมูล studentshow.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 3.2 โปรแกรมแสดงข้อมูลด้วยคำสั่ง select แบบมีเงื่อนไข การเขียนโปรแกรมสำหรับแสดงข้อมูลนั้น คำสั่ง SQL สำหรับการเรียกดูข้อมูลคือ Select เราสามารถเพิ่มเงื่อนไขในการค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ เช่น การค้นหาชื่อนักศึกษา โดยมีลักษณะการทำงานของการเรียกใช้งานโปรแกรมแสดงผลข้อมูลดังบล๊อคไดอะแกรมแสดงการทำงานดังนี้

ภาพที่ 6.9 แผนผังการทำงานการแสดงผลข้อมูลแบบมีเงื่อนไข ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.10 ไฟล์การแสดงผลข้อมูลแบบมีเงื่อนไข studentshow.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.11 ผลลัพธ์การแสดงข้อมูลแบบมีเงื่อนไข studentshow.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 การค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขนั้นจะใช้คำสั่ง select * from student where stu_name like '%".$_POST['search']."%' โดยเครื่อง % จะเป็นการแทนค่าตัวแปรใดๆก็ได้ ดังตัวอย่างที่ป้อนข้อมูลเพียงคำนำหน้าชื่อก็จะแสดงข้อมูลชื่อทั้งหมดออกมาเมื่อทำการคลิกปุ่มเพื่อค้นหา 4. การเขียนโปรแกรมแก้ไขข้อมูลด้วยคำสั่ง update การแก้ไขข้อมูลด้วยคำสั่ง update นั้นมีขั้นตอนการทำงานที่อาจจะซับซ้อนกว่าขั้นตอนการจัดการข้อมูลอื่นๆอยู่พอสมควรโดยมีลำดับขั้นการการทำงานดังนี้ สร้างไฟล์เพื่อแสดงข้อมูล studentshow.php ส่งค่าตัวแปร stu_id เพื่อใช้ในการค้นหาข้อมูลเพื่อทำการแก้ไข ทำการค้นหาข้อมูลจากตัวแปรที่ได้รับ และทำการแสดงผลข้อมูลผ่าน form ส่งค่าตัวแปรผ่าน form เพื่อส่งข้อมูลไปทำการแก้ไข ประมวลผลคำสั่ง SQL เพื่อทำการแก้ไขข้อมูล

ภาพที่ 6.12 แผนผังการทำงานการแก้ไขข้อมูล ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 Studentshow.php Studentupdate.php Studentedit.php ภาพที่ 6.12 แผนผังการทำงานการแก้ไขข้อมูล ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.13 ไฟล์การแสดงผลข้อมูลแบบมีเงื่อนไข studentshow.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.14 ผลลัพธ์การแสดงข้อมูล studentshow.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 ภาพที่ 6.15 ไฟล์การแสดงผลข้อมูลผ่านฟอร์ม studentedit.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.16 ผลลัพธ์การแสดงผลข้อมูล studentedit.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 ภาพที่ 6.17 ไฟล์การแสดงผลการแก้ไขข้อมูล studentupdate.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

ภาพที่ 6.18 ผลลัพธ์การแก้ไขข้อมูล ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560 5. การเขียนโปรแกรมลบข้อมูลด้วยคำสั่ง delete เมื่อทำการเขียนโปรแกรมแก้ไขข้อมูลเราได้สร้างไฟล์แสดงข้อมูลเพื่อส่งค่าตัวแปร stu_id ไว้สำหรับแก้ไขและลบข้อมูลไว้แล้ว โดยจะทำการสร้างไฟล์เพิ่มเติมเพื่อมารับค่าตัวแปรเพื่อทำการลบในไฟล์ชื่อ studentdel.php ดังนี้ ภาพที่ 6.19 ไฟล์การแสดงผลการลบข้อมูล studentdel.php ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560

6. บทสรุปท้ายหน่วยเรียน เมื่อกล่าวถึงการเขียนโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล ด้วยภาษา PHP ก็มีคำสั่งที่นำมาใช้งานบ่อยๆไม่กี่คำสั่ง เช่น การเชื่อมต่อฐานข้อมูล การเพิ่มข้อมูล การค้นหาข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล การลบข้อมูล ซึ่งในหน่วยการเรียนนี้จะเป็นการเรียกใช้ Function ในภาษา PHP เมื่อต้องการพัฒนาโปรแกรมด้วย ภาษา PHP เองก็มี Function ที่สร้างขึ้นมาเฉพาะสำหรับจัดการฐานข้อมูล MySQL ซึ่งก็สร้างความสะดวกเป็นยิ่งในการเรียกใช้งานข้อมูลต่างๆ เช่น คำสั่งสำหรับเชื่อมต่อฐานข้อมูล การเพิ่มข้อมูล การค้นหาข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล การลบข้อมูล ในหน่วยการเรียนนี้จะกล่าวถึงการเรียกใช้ Function พื้นฐานในการติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL เพื่อเป็นแนวทางในการนำมาพัฒนาโปรแกรมสำหรับงานธุรกิจในโอกาสต่อไป ภาพที่ 6.20 ผลลัพธ์การลบข้อมูล ที่มา : อิทธิพล สุขเติม, 2560