พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
Advertisements

โครงการประเมินประสิทธิผลการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีไทย ภายใต้โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม สู่แนวคิดการพัฒนาสาธารณสุข โดย...นายแพทย์อภิรักษ์
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ครึ่งทางของโครงการสืบสานฯ หลักการ พระราชปณิธานสมเด็จย่า พระราชทาน เมื่อทรงก่อตั้งมูลนิธิถันยรักษ์ พ.ศ.2537 “ให้ช่วยผู้หญิงไทยพ้นภัยมะเร็งเต้านม ไม่ว่าเขาจะยาก.
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ส่งเสริมให้คำที่ปรึกษาและบริการความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
งบลงทุน 5 ปี สาขามะเร็ง.
ECT breast & Re-accredited plan
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การจัดการองค์ความรู้
การจัดเก็บข้อมูลภาพทางการแพทย์ ภาควิชารังสีวิทยา
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล รร.ดุสิตธานี หัวหิน 14 ก.ค.60
เขตสุขภาพ ที่11.
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 3 ความสำคัญและ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program.
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
Database ฐานข้อมูล.
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
รายงานการประเมินตนเอง
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
ใน PowerPoint 7 วิธีในการทำงานร่วมกัน แก้ไขกับผู้อื่น
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนา และงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
Breast Cancer Surveillance system
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
By Personal Information Management
ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ณ ห้องประชุมโรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น
โครงการคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การจัดการข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของโรงเรียน
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
ขอชื่นชมอาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ที่มีผลงานวิชาการ นำเสนอในเวทีระดับชาติ และตีพิมพ์ในวารสาร TCI ประจำปี พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม พระราชทานมูลนิธิถันยรักษ์ 2537 “ให้ใช้เทคโนโลยีที่ดีและเหมาะสมที่สุด ไม่ว่าเขาจะรวยหรือจน” 18 ปีของศูนย์ถันยรักษ์ - รพ.ศิริราช ความสำเร็จ - บริการสตรีไทย ประมาณ 3 แสนคน ความยังไม่สำเร็จ - สตรีที่ยังไม่รวย (16 ล้านคน)

การคัดกรองเพื่อครอบคลุมสตรีไทยทุกคน early detection by self reliance การตรวจเต้านมด้วยตนเอง Breast Self Exam. BSE การตรวจยืนยันโดยเจ้าหน้าที่ Clinical Breast Exam. CBE การใช้เครื่องมือคัดกรอง Breast Ultrasound การใช้เครื่องมือคัดกรองและวินิจฉัย Mammogram, MRI, etc.

ปัญหาสตรีไทยกับมะเร็งเต้านม “ พบช้า” 90 % ก้อนไม่เจ็บ 10% เปลี่ยนแปลงผิวหนัง, หัวนม พ.ศ.2542 - กรมอนามัยและมูลนิธิถันยรักษ์รณรงค์ BSE พ.ศ.2551 - ประเทศจีนรายงานBSE ไม่ได้ผล พ.ศ.2555 - US.,NCI. Recommend CBE and Mammogram - ประเทศไทย BSE 80% ถูกต้อง 40 % สม่ำเสมอ 20 % 4ใน5 สตรีไทย - มะเร็งเต้านมเป็นเรื่องของแพทย์ - คอยความหวังจาก Mammogram

โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม หลักการ –สตรีไทยอายุ 30 – 70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ มากกว่า 80 % ในพื้นที่ติดตามได้อย่างต่อเนื่อง พื้นที่ 14 เขตตรวจราชการจังหวัดละ 1 อำเภอ อีก 4 เขต ตัวแทนภาค จ.จันทบุรี – ภาคกลาง จ.นครราชสีมา – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.สุราษฎร์ธานี – ภาคใต้ จ.เชียงราย – ภาคเหนือ การติดตามผล – ประชากร 2.1 ล้านคน ติดตามโดยศูนย์อนามัยเขต ความคาดหวัง – เปรียบเทียบขนาดของก้อน ระยะที่พบและอัตราการตาย ก่อนและหลังโครงการฯ 5 – 10 ปี

การสนับสนุนตามขั้นตอน สมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง – สตรีทุกคนในโครงการ การฝึกอบรม BSE และสื่อสนับสนุน – อสม.สตรีทุกคนในโครงการฯ CD,DVD หุ่นเต้านมและการฝึกอบรม – รพ.สต. Breast Ultrasound และการฝึก Technician – รพช.ขนาดใหญ่ Digital Mammogram – รพศ./รพท. Ultrasound และ Mammogram ทุกจังหวัด Online - ศูนย์ถันยรักษ์

ผลการดำเนินงานโครงการฯ พค.-ตค.2555 ผลการดำเนินงานโครงการฯ พค.-ตค.2555 การชี้แจง – ทุกพื้นที่และมีคณะกรรมการระดับ จังหวัด การอบรม – ผู้สืบสานฯ ระดับจังหวัดและอำเภอ การสนับสนุน – สมุดบันทึก ฯ ,หุ่นเต้านม, สื่อ ต่าง ๆ ฯลฯ การใช้ข้อมูล – รพ.สต. ,อำเภอ , จังหวัด , เขต , ส่วนกลาง การลงนามบันทึกความร่วมมือ สธ. & มูลนิธิ & สปสช.

แนวทางการดำเนินงานโครงการ พย. – ธค. 2555 การทดสอบข้อมูล – Model Program ทดสอบและ Finalize โดยจนท.ทุกจังหวัด เพื่อการยืนยันจำนวนสตรี 30 – 70 ปี ที่ติดตามได้จริง การติดตามผล – การประชุมความร่วมมือของศูนย์อนามัยเขต(กรมอนามัย)และ ศูนย์มะเร็ง(กรมการแพทย์) การสนับสนุน – มูลนิธิ/พอ.สว. การให้กำลังใจ – อ.ธรรมนิตย์และคุณหญิง ศ.พญ.สำอางค์

แนวทางการดำเนินงานโครงการฯ 2556 การติดตามผลโดยศูนย์อนามัยเขต การวิเคราะห์ข้อมูลเมื่อครบ 6 เดือน และ 1 ปี การประชุม สสจ. - ผอ.รพศ./รพท. ภาคีเครือข่าย - ผู้สืบสานระดับจังหวัดและ อำเภอ การติดตามสิ่งสนับสนุน การเฉลิมฉลองโครงการฯ ตุลาคม 2556 การประชาสัมพันธ์

ศูนย์ถันยรักษ์ Office of the Breast cancer Advocacy and Management for All thai women