แนวคิดทางภูมิศาสตร์ ผู้สอน: อาจารย์พรสมิทธิ์ ฉายสมิทธิกุล 11/18/2018 8:45 AM แนวคิดทางภูมิศาสตร์ Geographical Thought : GE02105 ผู้สอน: อาจารย์พรสมิทธิ์ ฉายสมิทธิกุล สาขาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.
ประวัติแนวความคิดภูมิศาสตร์สมัยคลาสสิก 11/18/2018 8:45 AM ประวัติแนวความคิดภูมิศาสตร์สมัยคลาสสิก ภูมิศาสตร์ในสมัยกรีก (Helenistic Geography) และ โรมัน (Roman Geography) ภูมิศาสตร์ในสมัยกลาง ภูมิศาสตร์ในโลกของชาวคริสเตียน ภูมิศาสตร์ในโลกของชาวมุสลิม ภูมิศาสตร์ในโลกของชาวสแกนดิเนเวีย ภูมิศาสตร์ในโลกของชาวจีน ภูมิศาสตร์ในยุคแห่งการสำรวจ ยุคแห่งการสำรวจและปัญหาสำคัญในยุคสำรวจ การแสวงหาเส้นทางมาสู่เอเชีย ปัญหาเกี่ยวกับรูปร่างสัณฐานโลก ผลกระทบของการค้นพบ - แนวความคิดใหม่เกี่ยวกับการจัดลำดับจักรวาล - การเปลี่ยนแปลงภาพพจน์เกี่ยวกับโลก - ภาพพจน์แนวความคิดใหม่ ก่อนศตวรรษที่ 19 ยุคสมัยของฮุมโบลด์และริทเทอร์ © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.
การจัดระเบียบของปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนพื้นผิวโลก Geographical Thought ? การจัดระเบียบของปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนพื้นผิวโลก ปัญหาที่นักภูมิศาสตร์สนใจ คืออะไร ?? “โลกถูกสร้างมาได้อย่างไร”
“The earth’ surface as the home of man.” Geography: “The earth’ surface as the home of man.” วิชาที่ว่าด้วยการทำความเข้าใจเกี่ยวกับโลกในฐานะเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์
ปัญหา โลกมีขนาดใหญ่เกินความสามารถของมนุษย์ ในระยะเริ่มแรก จึงจำเป็นต้องหาข้อสรุปกว้าง ๆ ในการสร้างแนวความคิด Generalization: การนำไปใช้ได้กว้าง ๆ โดยทั่วไป เช่น ทฤษฎีแหล่งกลาง สามารถนำไปประยุกต์ได้โดยการประยุกต์ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
ภูมิศาสตร์ในมุมมองของผู้อื่น… ทำแผนที่ เรียนรู้ข้อเท็จจริงต่างๆ เขียนบรรยายปรากฏการณ์ต่าง ๆได้
คำจำกัดความ (1) Richard Hartshorne; 1959. “ภูมิศาสตร์ที่ให้คำบรรยายอย่างถูกต้อง มีขั้นตอน มีเหตุผลเกี่ยวกับลักษณะต่างๆ ของพื้นผิวโลก” “Geo is connected to provide accurate orderly and national description interpretation of the variable character of the earth” E. Ackerman ; 1963. “เป้าหมายของวิชาภูมิศาสตร์คือ การทำความเข้าใจถึงปฏิสัมพันธ์ที่ประกอบด้วย มนุษย์ สภาพแวดล้อมธรรมชาติบนพื้นโลก” Richard Hartshorne
คำจำกัดความ (2) M.Yeates; 1968. “เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการทดสอบทฤษฏีอย่างมีเหตุผล เพื่ออธิบายและคาดการณ์ถึงการกระจายทางพื้นที่ และตำแหน่งที่ตั้งของลักษณะต่าง ๆ บนพื้นผิวโลก” E. Traffic ; 1970. “เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการให้คำบรรยายอย่างมีระเบียบมีขั้นตอน เกี่ยวกับโลกมนุษย์ โดยเน้นการศึกษาการจัดการทางพื้นที่ ในแง่ Spatial Organization ทั้งในรูปแบบและการดำเนินการ (Pattern & Process)”
พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมธรรมชาติกับทางสังคมที่ปรากฏอยู่ในดินแดนต่าง ๆ ของโลก การศึกษาวิชาภูมิศาสตร์แผนใหม่ต้องศึกษาอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยหลักเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์หรือหลักเกณฑ์ทางสถิติ ข้อเท็จจริงจากวิชาในแขนงที่เกี่ยวข้องมาพิจารณาโดยรอบ (ราชบัณฑิต, 2553, หน้า 355)
จุดสนใจของนักภูมิศาสตร์ 1. ภูมิศาสตร์คล้ายกับวิชาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติในฐานะที่ - ศึกษาและเกี่ยวข้องกับระบบบนพื้นผิวโลก - ศึกษาโลกในฐานะเป็นสิ่งแวดล้อมของมนุษย์โดยดูว่ามี อิทธิพลอย่างไรในแง่ของการอยู่อาศัยดำรงชีพ และมนุษย์ได้ ดัดแปลงสิ่งแวดล้อม เพื่อก่อสร้างเพิ่มเติม ปรับปรุง ต่อเติม อย่างไรบ้าง
จุดสนใจของนักภูมิศาสตร์ (2) 2. มุ่งการจัดการทางพื้นที่ของมนุษย์ (Spatial Arrangement, organization) และมองความสัมพันธ์เชิงนิเวศวิทยาระหว่าง มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม พยายามแสวงหาวิธีการปรับปรุงการใช้ พื้นที่ รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติ ให้มีคุณภาพ เน้นบทบาทการ จัดการในพื้นที่ให้เหมาะสม คาดการณ์ล่วงหน้าทั้งแง่ดี แง่เสีย เกี่ยวกับอนาคตของโลก
จุดสนใจของนักภูมิศาสตร์(3) 3. ตระหนักถึงความหลากหลายของพื้นที่บนพื้นผิวโลก (Arial differentiation) ไม่ยอมเชื่อแบบแผน แบบจำลอง แนวทางการพัฒนา นอกจากจะมีการดัดแปลง
วัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนขยายขอบเขตความรู้ของมนุษย์ เพื่อแก้ปัญหา เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่ของมนุษย์
วิชาภูมิศาสตร์เป็นวิชาที่เก่าแก่สาขาหนึ่ง เป็น “Mother of Science” เกิดขึ้นมาพร้อมกับดาราศาสตร์ มนุษย์อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับโลก พอๆกับอยากรู้เรื่องของดวงดาว(ศึกษาเรื่องท้องฟ้า) เป็นวิชาที่มนุษย์อยากรู้อยากเห็น เกี่ยวกับโลกเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของคน “ความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) ทำให้มนุษย์ได้บรรยายเกี่ยวกับลักษณะต่าง ๆ ที่พบ แล้วพัฒนาปรับปรุงในเรื่องของกฎเกณฑ์ กฎระเบียบมากขึ้น”
- บริเวณที่เรียกว่า “พื้นผิวโลก” surface of the earthประกอบด้วย โซนที่แผ่ขยายลงไปใต้ผิวดินเท่าที่มนุษย์จะเจาะเข้าไป และสูงขึ้นไปไกลจากผิวดินเท่าที่มนุษย์จะขึ้นไปได้ จักรวาลของมนุษย์
- จักรวาลของมนุษย์ ถูกสร้างโดย กระบวนการทางกายภาพ และเคมี - สำหรับพืชและสัตว์ถูกสร้างโดยขบวนการทางชีวภาพ - มนุษย์ได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติ ผ่านกระบวนการ ซึ่งสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน
จุดเริ่มต้นของวิชาเกิดขึ้นยุคสมัยกรีก ซึ่งความรู้ต่างๆ ที่ได้รับมานั้น รับมาจากกลุ่มอารยธรรมโบราณแถบเมโสโปเตเมีย อียิปต์ โพลินีเซียน มาหลายพันปีก่อนคริสตกาล อีราโทสทีนิส Eratosthenes (273-192 B.C.) นักภูมิศาสตร์ชาวกรีก บุคคลแรกที่ใช้คำว่าภูมิศาสตร์ “Geography” ge = โลก (Earth) graphe = การเขียน การบรรยาย (Description)
เริ่มมาตั้งแต่สมัยสุเมเรียน (2,000 B.C.) อารยธรรมเมโสโปเตเมีย เครื่องมือสำคัญในการศึกษาวิชา ภูมิศาสตร์ คือ “แผนที่” เริ่มมาตั้งแต่สมัยสุเมเรียน (2,000 B.C.) อารยธรรมเมโสโปเตเมีย การบันทึกความพยายามที่จะแสวงหาความรู้ที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเป็นความรู้ที่มีเหตุผลในแง่ คำอธิบายของสิ่งต่าง ๆ ที่สังเกต สามารถทดสอบ ตรวจสอบความถูกต้อง น่าเชื่อถือได้ นำไปใช้อำนวยความสะดวกต่อการปรับตัวของมนุษย์ในสภาพแวดล้อม หรือวางมาตรการในการจัดการสิ่งแวดล้อมได้
คำถามของนักภูมิศาสตร์ในยุคแรก(1) 1) ที่ไหน WHERE ต้องการทราบว่าสิ่งที่พูดถึงพูดอยู่ที่ตรงไหน ตำแหน่งต้องสัมพันธ์กับสิ่งอื่นเสมอ ชาวกรีกโบราณ เป็นพวกแรกที่สร้างทฤษฎีเกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่งที่ตั้ง แบ่งคร่าว ๆ เพราะไม่มีเครื่องวัดอย่างถูกต้อง “absolute location” ที่ตั้งสัมบูรณ์ หรือ “site” การบอกตำแหน่งเฉพาะเจาะจงลงไป เช่น ละติจูด ลองจิจูด เมื่อมนุษย์รู้จักบริเวณอื่นมากขึ้น ทำให้รู้ว่ามีที่ตั้งอีกประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญมากกว่า คือ “relative location” ที่ตั้งสัมพันธ์ หรือ “situation” เกิดตามมา เป็นการบอกตำแหน่งที่ตั้งซึ่งมีความสัมพันธ์กัน
คำถามของนักภูมิศาสตร์ในยุคแรก 2) อะไร (WHAT) ค่อนข้างยาก พัฒนามาจากความพยายามของมนุษย์ในการหาความรู้มากขึ้นเกี่ยวกับโลกมีความต่อเนื่อง ระหว่าง 1. การสังเกตสิ่งของ, เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยตรงผ่านประสาทสัมผัส เรียกว่า การรับรู้ “Percepts” 2. สิ่งของ, เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่สังเกตผ่านมโนภาพ เรียกว่า แนวความคิดรวบยอด “Concepts” **การรับรู้ของสิ่งต่างๆ ที่เป็นความจริง ตรงกันข้ามกับ การรับรู้ผ่านมโนภาพ
คำถามของนักภูมิศาสตร์ในยุคแรก การรับรู้ของคนย่อมสะท้อนภาพภายในใจออกมา เช่น งานวิจัยชิ้นหนึ่งศึกษาเรื่องเดียวกัน แต่มีนักวิจัย 2 คน “เรื่อง การระบาดของเชื้อมาเลเรียในภาคเหนือตอนบน” คนที่ 1 สนใจเรื่อง “ประชากร” สะท้อนว่า - ประชาชนยากจน - พื้นที่ทำกินไม่พอ - รัฐบาลดูแลไม่ทั่วถึง - การไม่เท่าเทียมกัน ทำให้เคลื่อนย้ายไปยังแหล่งงานอื่นทำให้เสี่ยงต่อการติดโรคสูง - ฯลฯ คนที่ 2 สนใจเรื่อง “วัฒนธรรม ” สะท้อนว่า................................??
คำถามของนักภูมิศาสตร์ในยุคแรก(4) 3) หมายความว่าอย่างไร HOW, WHY นักภูมิศาสตร์ พยายามระบุความหมายของภาพที่เกิด สะท้อนถึงมโนภาพในข้อ 2 Chaos = ความว่างเปล่า ความไร้ระเบียบ Cosmos = ระบบต่างๆ ที่สัมพันธ์กันเป็นที่ ยอมรับ มาตั้งแต่แรก ขั้นต่อไปจึง หาเหตุผล อธิบายระเบียบ
มนุษย์พยายามหาเหตุผลโดยวิธีการ ดังนี้ 1. มองถึงกฎเกณฑ์ที่พระเจ้าสร้างขึ้น ไม่มีลำดับขั้นตอนอธิบาย 2. หาเหตุผลโดยการอธิบายสาเหตุและผลทางวิทยาศาสตร์ 3. อธิบายโดยกฎทางคณิตศาสตร์
1. แนวคิดของพระเจ้า ตั้งแต่ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย (Sumerian / Babylonians Assyrian) พื้นที่ที่อยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สาย แม่น้ำไทกรีส- ยูเฟรตีส “เชื่อว่าโลกถูกปกครองโดยสิ่งมีชีวิตคล้ายมนุษย์ แต่มีพลังเหนือมนุษย์ มีชีวิตที่มีความเป็นอมตะ” เทพเจ้าแต่ละองค์ มีหน้าที่ควบคุมดูแลในด้านต่าง ๆ เทพเจ้ามีลักษณะแข่งขันกัน มักจะมีปฏิกิริยาตอบสนองการกระทำของมนุษย์ บางครั้งอาจกล่าวได้ว่า เทพเจ้า คือ กฎหมาย ผู้ที่ไม่เชื่อถูกลงโทษ ผู้ที่เชื่อจะได้รับโชค
2. กฎของสาเหตุและผลกระทบ เป็นลักษณะของวิทยาศาสตร์ ตรงกันข้ามกับกฎของพระเจ้า สมัยแรกมีนักปราชญ์ชาวกรีก 2 ท่าน เสนอ คือ “เหตุและผลเกี่ยวกับโลก” Plato “Perfect --> Imperfect” โลกถูกสร้างมาในลักษณะสมบูรณ์ และกำลังถูกเปลี่ยนสภาพไปสู่ความไม่สมบูรณ์ Aristotle “Imperfect --> perfect” โลกถูกสร้างมาในลักษณะไม่สมบูรณ์ และกำลังเข้าสู่สภาพสมบูรณ์ เพราะเห็นว่าโลกถูกกำหนดโดยผู้สร้าง (Creator)
3. กฎทางคณิตศาสตร์ เพื่ออธิบายหลักของโลก -- > อธิบายกฎและระเบียบทางคณิตศาสตร์ เช่น Pythagoras (600 B.C.) นำไปบรรยายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ , การไหลของน้ำ รวมถึงการประยุกต์ใช้เกี่ยวกับเมือง
พัฒนาการของการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ เพื่อรับความรู้ที่เป็นประโยชน์ มีเหตุมีผลมากขึ้นเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของมนุษย์และความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่มีมาตั้งแต่เริ่มต้นของวิวัฒนาการมนุษย์แล้ว ความคิดของมนุษย์มีความซับซ้อนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับแนวความคิดและการรับรู้ และความซับซ้อนของการตั้งสมมติฐาน และการสังเกต
ตัวอย่าง เมื่อเสนอแนวคิดมา หมายความว่า ขอบเขตการรับรู้ของมนุษย์เกิดขึ้น หรือการสังเกตใหม่ที่อาจแสดงความไม่พอหรือไม่สมบูรณ์ของสมมติฐาน เพราะฉะนั้น สมมติฐานใหม่หรือดัดแปลงมาเพื่อแสดงความพอใจ ความเจริญก้าวหน้าของความคิด ทฤษฎี ถ้าความก้าวหน้าเรื่อง แนวคิดกว้างขวาง แสดงว่าเกิดการสร้างแบบทางวิชาการ เป็นการสะสม เพื่อใช้กับพื้นที่อื่น หรือ เพื่อใช้ในอนาคต
ช่วงแรกของการสะสมทางวิชาการ เริ่มในสมัยกรีก 200-400 B. C นักวิชาการตะวันตก ไม่ยอมรับว่าจุดเริ่มต้นอยู่ที่เมโสโปเตเมีย แต่เชื่อว่าอยู่ที่กรีก มีการพัฒนาแนวคิดพวกเทหวัตถุ ศึกษาผลกระทบของการเคลื่อนที่ของดวงดาวต่อกิจกรรมของมนุษย์ การสังเกตต่าง ๆ ไม่สอดคล้อง โดยเชื่อว่าข้อเท็จจริงจากการสังเกตแตกต่างจากกฎเกณฑ์ที่มีอยู่แล้ว กฎเกณฑ์จะถูกเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง แก้ไข ถือเป็นความก้าวหน้า --> แสดงว่ามีความสมัยใหม่ เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น
วิธีการศึกษา ส่วนใหญ่มาจากงานเขียนของ Plato “วิธีการศึกษาแบบอนุมาน/นิรนัย” (Deductive Approach) General -- > particular ใหญ่ ---> เล็ก Aristotle “วิธีการศึกษาแบบอุปมาน/อุปนัย” (Inductive Approach) particular -- > General เล็ก --->ใหญ่
Thales Anaximander Hipparchus Ptolemy Homer Hecateaus Strabo *** ทั้งสองวิธีทุกแขนงวิชา เน้นทั้งบรรยายและใช้คณิตศาสตร์ช่วย ปราชญ์ชาวกรีกและโรมัน ทุกคนมีส่วนในการสร้างวิชาภูมิศาสตร์ โดยสามารถมองเห็นความแตกต่างชัดเจน คือ Mathematical Descriptive Thales Anaximander Hipparchus Ptolemy Homer Hecateaus Strabo
ยุคสมัยกลาง (ศตวรรษที่ 5- 15) แนวคิดภูมิศาสตร์เสื่อมลง แทบกล่าวได้ว่าถูกลืม บริเวณต่าง ๆในยุโรป ถูกครอบครองโดยอาหรับ ปราชญ์ชาวอาหรับนำงานเขียนของ กรีก&โรมัน มาแปลหรือตีความเป็นภาษาอาหรับ
ยุคสำรวจและค้นพบ (The Age of Survey and Discovery) เกิดข้อมูลความรู้มาก มีการเดินทางสำรวจนำไปสู่ความรู้ต่าง ๆ ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง 2 ประการ การเปลี่ยนแปลง ประการที่ 1 1) ศตวรรษ 16-19 แนวคิดเรื่องศาสนาถูกท้าทาย นักวิชาการมีการต่อสู้ เพื่อตั้ง กฎเกณฑ์ เสรีภาพทางวิชาการ นักวิชาการมีสิทธิ์ที่จะแสวงหาคำตอบ เพื่อตอบ คำถามต่าง ๆ อย่างเสรี ตีพิมพ์ผลงานของตนเอง โดยปราศจากการควบคุมใด ๆ นอกจากเกณฑ์ทางวิชาการ เริ่มจาก Leonardo da Vinci Copernicus Charles Darwin
การเปลี่ยนแปลง ประการที่ 2 เริ่มในศตวรรษที่ 19 มีการแยกโลกวิชาการออกเป็นหลายสาขา จากข้อมูลที่ได้ในยุคสำรวจ เกิดวิชาการต่างๆ การแตกแขนง แต่ละสาขามุ่งเน้นศึกษาเรื่องของตนเอง เฉพาะกระบวนการตามทฤษฎีของตนเอง ในการเกิดวิทยาศาสตร์การทดลอง สาขาที่แบ่งแยกออกมาเริ่มแรก คือ 1. วิทยาศาสตร์กายภาพ 2. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 3. สังคมศาสตร์ **ทำให้นักภูมิศาสตร์ไม่แน่ใจว่าความรู้ทางภูมิศาสตร์มีหรือไม่
ในปี ค.ศ.1870 ความรู้บางอย่างไม่ถูกครอบคลุมโดยศาสตร์ใหม่ ๆ ความรู้บางอย่างไม่ถูกครอบคลุมโดยศาสตร์ใหม่ ๆ การศึกษาในช่วงนี้จะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ สถานที่ โดยเฉพาะเหตุการณ์ต่าง ๆ ในลักษณะของกระบวนการทางธรรมชาติ เชื่อมช่องว่างระหว่างวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สังคมศาสตร์ คำถามบางคำถาม คำตอบจะไม่ปรากฏในสาขาที่แตกต่างไป นักภูมิศาสตร์ถูกฝึกฝนให้เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย ภาควิชาภูมิศาสตร์ จึงเกิดในปี ค.ศ.1874 ที่ มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน แต่อาจารย์มีพื้นฐานด้านธรณีวิทยา ประวัติศาสตร์ ชีววิทยา ในระยะแรก จึงไม่ใช่ภูมิศาสตร์ล้วน ๆ
ช่วงทศวรรษ 1870 – สงครามโลกครั้งที่ 2 นักภูมิศาสตร์ยังไม่สูญหายไปไหน คือ Humboldt และ Ritter การถ่ายทอดวิชาภูมิศาสตร์ เน้นการฝึกฝนให้เป็นครู ก่อตั้งภาควิชาภูมิศาสตร์ ใน ค.ศ. 1874 ที่เยอรมัน ส่วนใหญ่ผู้บุกเบิกเป็นนักวิทยาศาสตร์สาขาอื่น ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ ธรณีวิทยา เป็นต้น จึงทำให้สาขาวิชาภูมิศาสตร์ผสมกับสาขาเหล่านั้น สงครามโลกครั้งที่ 2 นักวิชาการถูกเรียกตัวไปปรึกษาแก้ไขปัญหาที่เกิดหลัง W.W.II พบว่า นักวิชาการ ยังไม่มีความพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาเดี่ยว ๆ ด้วยตนเอง ต้องอาศัยความร่วมมือของสาขาวิชาการอื่นๆ “Inter disciplinary” ประโยชน์ แผนที่ + ทำเลที่ตั้ง ซึ่งนักวิชาการสาขาอื่นๆ
สาระสำคัญ / ลักษณะสำคัญทางภูมิศาสตร์ Absolute Location Relative Location
สาขาของภูมิศาสตร์ ภาพที่ 1.1
ความสัมพันธ์ของภูมิศาสตร์กายภาพกับชีวภูมิศาสตร์
Regional Geography : พิจารณาโดยแบ่งพื้นที่ในแต่ละส่วนของพื้นผิวโลกภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่ง ทำความเข้าใจองค์ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ “อาณาบริเวณศึกษา” เพื่อให้เห็นความเหมือนหรือความแตกต่างแต่ละอาณาบริเวณ อันเกิดจากเหตุปัจจัยต่าง ๆ นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นที่นั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้องรวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรม เข้าไว้ด้วยกัน แบ่งภูมิภาคออกตามระบบอากาศ เช่น ภูมิภาคเขตร้อนชื้น ภูมิภาคเขตอบอุ่น และภูมิภาคเขตทะเลทราย เป็นต้น แบ่งภูมิภาคตามกลุ่มวัฒนธรรม เช่น กลุ่มละติน-อเมริกัน หรือกลุ่มอาหรับ เป็นต้น แบ่งพื้นที่ศึกษาตามรูปแบบการปกครอง คือ ยึดเอาเนื้อที่ของประเทศต่างๆ เป็นเกณฑ์ เพราะสะดวกในเรื่องข้อมูลภายในพื้นที่นั้น ในปัจจุบันได้มีการแบ่งภูมิภาคออกตามบทบาทหน้าที่เด่นของพื้นที่นั้น เช่น ภูมิภาคของเมืองหรือเขตที่เมืองมีอิทธิพลต่อบริเวณรอบนอกตลอดจนเขตบริการต่าง ๆ อันจัดเป็นภูมิภาคขนาดเล็กแต่ก็มีประสิทธิภาพในการจัดพื้นที่ (Hartshorne, 1959)
Systematic Geography : เนื้อหาสาระทางด้านสภาพแวดล้อมหรือกายภาพส่วนหนึ่ง และบทบาทของมนุษย์ในการดัดแปลงปรับปรุงสภาพแวดล้อมอีกส่วนหนึ่ง ประกอบด้วยเรื่องราวต่าง ๆ เกือบทุกอย่างที่ไม่ใช่สภาพแวดล้อมธรรมชาติ เช่น ประชากร ระบบเศรษฐกิจ การอุตสาหกรรม การปกครอง และการค้า เป็นต้น พิจารณาเฉพาะเรื่อง เฉพาะองค์ประกอบ โดยเน้นการศึกษาระบบของเรื่องหนึ่งเรื่องใดโดยมีองค์รวม พิจารณาในด้านแง่คิดบางอย่างของประชากรในด้านสภาพแวดล้อม โดยพิจารณาในเรื่องของ ความแตกต่างของประชากรของภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่ง ในกรณีไม่เกี่ยวข้องกับสภาพการณ์ / ปรากฏการณ์ จะมีความเกี่ยวข้องกับสังคม
วิธีการเข้าถึงปัญหาทางภูมิศาสตร์ การวิเคราะห์พื้นที่ (Spatial Analysis) การวิเคราะห์พื้นภูมิภาคแบบซับซ้อน(Regional Complex Analysis) การวิเคราะห์ในด้านนิเวศวิทยา (Ecological Analysis)