การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Classification / Criteria
Study Design ผศ.( พิเศษ ) น. พ. นภดล สุชาติ พ. บ. M.P.H.
รูปแบบการวิจัย Research Design
ตัววัดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆทางระบาดวิทยา
Practical Epidemiology
ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
วิจัย Routine to Research ( R2R )
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
อาจารย์ ดร.ศุภะลักษณ์ ฟักคำ
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ผลการสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน DDC Poll ครั้งที่ 12 “ เรื่อง … รู้จักและเข้าใจโรคไข้หวัดใหญ่ 31 มีนาคม 2558.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
ทบทวนสถิติสำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
คุณภาพชีวิตและปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
นพ.เฉวตสรร นามวาท กรมควบคุมโรค
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
Case Study : 12 จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์เกินราคามาตรฐานครุภัณฑ์ จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ ความสว่าง 3,500 ANSI Lumens พร้อมติดตั้ง จำนวน 1 ชุด.
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
การสอบสวนโรค เฉพาะราย
พระพุทธศาสนา.
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
Probability and Statistics for Computing
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์3
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.) หน่วยระบาดวิทยา คณะเเพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สถิติเชิงเปรียบเทียบ Comparative Statistics

การเปรียบเทียบข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภท การเปรียบเทียบข้อมูลชนิดตัวแปรต่อเนื่อง การเปรียบเทียบข้อมูลชนิดตัวแปรกลุ่ม

การเลือกใช้สถิติ (ต่อ) ตัวอย่าง 1 การเปรียบเทียบน้ำหนักของเด็กอายุ 0-5 ปี ของเพศชายและเพศหญิง ใช้สถิติ 2 sample t-test เพื่อทดสอบว่าความแตกต่างของน้ำหนักเกิดขึ้นเพราะโอกาส (chance) จากการสุ่มหรือไม่

การเลือกใช้สถิติ ตัวอย่าง 2 จากการวิจัยประเมินผลโครงการรณรงค์ส่งเสริมเจตคติที่ดีต่อผู้ป่วยโรคเอดส์ ประกอบด้วยตัวแปร กลุ่มการรณรงค์ (Group) คือ การรณรงค์ด้วยสื่อมวลชน และการรณรงค์ด้วยสื่อบุคคล ตัวแปรเจตคติต่อผู้ป่วยโรคเอดส์ที่วัดหลังจากดำเนินการรณรงค์ไปแล้ว 1 เดือน (Att1) และ 2เดือน (Att2)

การเลือกใช้สถิติ (ต่อ) คำถามย่อย 1 เจตคติต่อผู้ป่วยโรคเอดส์ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการรณรงค์ด้วยสื่อมวลชน จะแตกต่างไปจากกลุ่มที่ได้รับการรณรงค์ด้วยสื่อบุคคลหรือไม่ หลังจากรณรงค์ไปแล้ว 1เดือน ใช้สถิติ 2 sample t-test for independent samples เพื่อทดสอบว่าความแตกต่างของเจตคติใน 2 กลุ่มที่การรณรงค์ต่างกันเกิดขึ้นเพราะโอกาส (chance) จากการสุ่มหรือไม่

การเลือกใช้สถิติ (ต่อ) คำถามย่อย 2 เจตคติต่อผู้ป่วยโรคเอดส์ของกลุ่มตัวอย่างหลังจากรณรงค์ไปแล้ว 1 เดือน จะแตกต่างไปจากเจตคติหลังจากผ่านการรณรงค์ไปแล้ว 2 เดือนหรือไม่ ใช้สถิติ paired t-test for dependent samples เพื่อทดสอบว่าความแตกต่างของเจตคติในกลุ่มเดียวกันก่อนและหลังการรณรงค์เกิดขึ้นเพราะโอกาส (chance) จากการสุ่มหรือไม่

การเลือกใช้สถิติ (ต่อ) ตัวอย่าง 3 จากการศึกษาผลของสภาพการทำงาน (Group) ที่มีผลต่อความพึงพอใจในการทำงาน (Jobsat) พนักงานที่มีสภาพการทำงานแตกต่างกัน จะมีความพึงพอใจในการทำงานแตกต่างกันหรือไม่ ใช้สถิติ ANOVA เพื่อทดสอบว่าความแตกต่างของความพึงพอใจในพนักงานที่มีสภาพการทำงานแตกต่างกันกลุ่มต่าง ๆ เกิดขึ้นเพราะโอกาส (chance) จากการสุ่มหรือไม่

การเลือกใช้สถิติ (ต่อ) ตัวอย่าง 4 จากงานวิจัยเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยดูจากระดับคะแนนระดับมัธยมศึกษา (HS Grade) กับ ระดับคะแนนระดับมหาวิทยาลัย (U Grade) ถ้าผู้วิจัยสนใจที่จะทดสอบว่า ตัวแปรทั้งสองนี้มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร ใช้สถิติ Pearson Correlation เพื่อทดสอบและหาระดับความสัมพันธ์ของระดับคะแนนในระดับมัธยมศึกษา กับ ระดับคะแนนระดับมหาวิทยาลัย

สถิติเชิงความสัมพันธ์ Associative statistics

สถิติเชิงความสัมพันธ์ ใช้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า ช่วยให้สามารถทำนายค่าของตัวแปรหนึ่งจากอีกตัวแปรหนึ่งได้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับการเป็นโรคปอด โดยความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ควรพิจารณา คือ การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร การหาขนาดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร วิเคราะห์โดยใช้ตารางไขว้ (Cross tabulation) ในการสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปรที่เป็นตัวแปรกลุ่ม ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมีขนาดต่างๆ ขึ้นอยู่กับจำนวนกลุ่มของตัวแปรแต่ละตัว ในด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพส่วนใหญ่เป็นความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโรคกับ ปัจจัยการเกิดโรค ตัวแปรผล มักจะมี 2 กลุ่ม คือ เป็นโรค หรือ ไม่เป็นโรค ตัวแปรปัจจัย มักจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ได้รับปัจจัยเสี่ยง หรือ ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง ผลการศึกษาจึงแสดงอยู่ในรูปตาราง 2 x 2 แล้วทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Chi square (X2) หรือ Fisher’s exact test

การหาขนาดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร Risk ratio (RR) เป็นสถิติที่ใช้บอกขนาดความแตกต่างของอัตราการเกิดโรคใน กลุ่มที่ได้รับปัจจัยเสี่ยง ว่ามีจำนวนเป็นกี่เท่าของ กลุ่มที่ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง Odds ratio (OR) เป็นการเปรียบเทียบอัตราส่วนของการเป็นโรคและไม่เป็นโรคใน กลุ่มที่ได้รับปัจจัยเสี่ยง และ ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง อัตรา คือ สัดส่วน คือ ตัวหารคือทั้งหมด , อัตราส่วน ก็คือ : ต่อ กลุ่ม1/กลุ่ม2

Risk Ratio (RR) เป็นสถิติที่ใช้บอกขนาดความแตกต่างของอัตราการเกิดโรคใน กลุ่มที่ได้รับปัจจัยเสี่ยง ว่าเป็นกี่เท่าของ กลุ่มที่ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง RR = อัตราการเกิดโรคในกลุ่มที่ได้รับปัจจัยเสี่ยง อัตราการเกิดโรคในกลุ่มที่ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง การแปลผล คือ RR > 1 กลุ่มได้รับปัจจัยเสี่ยงเสี่ยงกว่า RR < 1 กลุ่มไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงเสี่ยงกว่า RR = 1 ทั้งกลุ่มได้หรือไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงเสี่ยงเท่ากัน อัตรา คือ สัดส่วน คือ ตัวหารคือทั้งหมด , อัตราส่วน ก็คือ : ต่อ กลุ่ม1/กลุ่ม2

Risk Ratio (RR) (ต่อ) การคำนวณค่า RR จากสัดส่วนของการเกิดโรคจะต้องทราบตั้งแต่เริ่มต้นว่ามีคนจำนวนเท่าไรที่ได้รับหรือไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง แล้วติดตามคนกลุ่มดังกล่าวไปเพื่อดูว่าเกิดโรคเท่าไร จึงสามารถคำนวณอัตราการเกิดโรคที่แท้จริงได้ ทำให้ RR ใช้ได้กับข้อมูลจากการศึกษาแบบมีกลุ่มติดตามผล (cohort study) หรือการทดลองเท่านั้น ส่วนข้อมูลที่ไม่สามารถหาอัตราการเกิดโรคที่แท้จริงได้ จะหาขนาดความสัมพันธ์ด้วย Odds ratio

Risk Ratio (RR) (ต่อ) ตัวอย่าง หาค่า RR จากตารางด้านล่าง เพื่อดูขนาดของความสัมพันธ์ จากผลการคำนวณได้ค่า RR = [10/(10+40)]/ [2/(2+48)] = 5 แสดงว่า คนที่ทำงานในซ่อมหม้อน้ำจะมีโอกาสเกิดโรคพิษตะกั่วเป็น 5 เท่า ของคนที่ทำงานในสำนักงาน อัตรา คือ สัดส่วน คือ ตัวหารคือทั้งหมด , อัตราส่วน ก็คือ : ต่อ กลุ่ม1/กลุ่ม2

Odds Ratio (OR) เป็นการเปรียบเทียบอัตราส่วนของการเป็นโรคและไม่เป็นโรคใน กลุ่มที่ได้รับปัจจัยเสี่ยง และ ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง OR = อัตราส่วนการเป็นโรคและไม่เป็นโรคในกลุ่มที่ได้รับปัจจัยเสี่ยง อัตราส่วนการเป็นโรคและไม่เป็นโรคในกลุ่มที่ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยง การแปลผล OR > 1 โอกาสเป็นโรคในกลุ่มที่ได้รับปัจจัยเสี่ยงสูงกว่า OR < 1 โอกาสเป็นโรคในกลุ่มที่ไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงสูงกว่า OR = 1 ได้หรือไม่ได้รับปัจจัยเสี่ยงโอกาสเป็นโรคเท่ากัน อัตรา คือ สัดส่วน คือ ตัวหารคือทั้งหมด , อัตราส่วน ก็คือ : ต่อ กลุ่ม1/กลุ่ม2

Odds Ratio (OR) (ต่อ) ตัวอย่างเมื่อ 2 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน การศึกษาการวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง (cross-sectional analytical study) เพื่อดูว่าภาวะซึมเศร้าของหญิงวัยทำงานมีความสัมพันธ์กับอายุหรือไม่

Odds Ratio (OR) (ต่อ) คำนวณค่า OR ในกรณีที่ประชากรทั้ง 2 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน OR = (15/65)/(5/115) = 5.3 จากค่า OR ได้แสดงว่าค่าโอกาสของภาวะซึมเศร้าของหญิงวัย 41-60 ปี สูงเป็น 5.3 เท่าของกลุ่มหญิงวัย 20 – 40 ปี

Odds Ratio (OR) (ต่อ) ตัวอย่างเมื่อ 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน การศึกษาว่าเกษตรกรที่สูบบุหรี่มีโอกาสได้รับพิษยาฆ่าแมลงมากกว่าเกษตรกรที่ไม่สูบบุหรี่หรือไม่ โดยออกแบบงานวิจัยเป็นแบบกลุ่มผู้ป่วย – ไม่ป่วย (case-control study) ตัวอย่างทั้งสองกลุ่มถูกจับคู่ด้วยอายุและเพศ ผลการศึกษาแสดงในตารางต่อไปนี้

Odds Ratio (OR) (ต่อ) คำนวณค่า OR ในกรณีที่ประชากรทั้ง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน OR = 3/10 = 0.3 ไม่เข้าใจ

ความสัมพันธ์ระหว่าง RR กับ OR ในกรณีที่มีอัตราการเกิดโรคต่ำๆ เช่น ในกรณีที่อัตราการเกิดโรคน้อยกว่าร้อยละ 5 ค่า a จะเล็กมากเมื่อเทียบกับค่า b และค่า c จะเล็กมากเมื่อเทียบกับค่า d จึงทำให้สัดส่วนการเป็นโรค (RR) มีค่าใกล้เคียงกับค่าอัตราส่วนของการเป็นโรค (OR) ค่า RR ที่คำนวณได้จึงมีค่าเท่ากับค่า OR ดังนั้นในกรณีที่อัตราการเกิดโรคต่ำๆ จึงสามารถแปรผล OR ได้เหมือนกัน RR