ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การวัด Measurement.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ผู้วิจัย รจนา บัวนัง หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ปีการศึกษา 2553
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครเมี่ยม (Cr).
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การจัดการควบคุมคุณภาพข้อมูล
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
อสม กับ การพัฒนาสุขภาพในระดับท้องถิ่น ชุมชน
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547 เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม 1 กุมภาพันธ์ 2550

การสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 3 ในปีพ. ศ การสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 3 ในปีพ.ศ.2547 เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ : ใช้แบบสอบถาม การตรวจร่างกาย : สภาพทั่วไป น้ำหนัก / ส่วนสูง เส้นรอบเอว ชีพจร ความดันโลหิต การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจเลือด

จำนวนตัวอย่างใน การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 ในปี 2547 กลุ่มอายุ ชาย หญิง รวม 60-69 ปี 5323 5635 10958 70-79 ปี 3372 3574 6946 80 ปีขึ้นไป 690 709 1399 9385 9918 19303

สภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย มาตรการเสริมสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ได้แก่ ลดโรคทางกาย จิต และประสาทสัมผัส ลดการพึ่งพาในกิจวัตรประจำวัน ในบ้าน นอกบ้าน ความเกื้อหนุนที่พอเพียงด้านสังคม ได้แก่ หลักประกันรายได้ ที่อยู่อาศัย และ สุขภาพ การดำรงคงไว้ในวิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ และความปลอดภัย

ประเด็นที่หนึ่ง ความชุกของโรค ปัจจัยเสี่ยง และ ภาวะมีโรคประจำตัวหลายโรค ถามว่าในเวลา 1 ปีที่ผ่านมาได้เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่งใน 11 โรคหรือหลายโรค ใน 11 โรคที่พบได้บ่อย คือ หอบหืด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง โลหิตจาง ปอดอุดกลั้นเรื้อรัง ไขมันในเลือดสูง ไตวาย อัมพฤกษ์ วัณโรค และ ข้อเสื่อม

ความชุกของการมีโรคประจำตัวหลายโรค เปรียบเทียบระหว่าง การสำรวจครั้งที่ 2 และครั้งที่3 ปี 2539 ปี 2547 ทั้งสองเพศ เพศชาย เพศหญิง ไม่เป็นโรค 27.6 13.0 13.6 9.9 เป็นมากกว่า 1 โรค 72.4 87.0 84.4 90.1 min,max ของจำนวนโรค 1,8 1,7 Asthma,cancer,,anemia,COPD,hypercholesterol,renal failure,diabetes,high blood pressure paralysis,TB, ข้อเสื่อม

ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ

ปัญหาเรื่องฟัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 8 และ 9 ได้กำหนดว่า ผู้สูงอายุควรมีฟันบดเคี้ยวไม่น้อยกว่า 20 ซี่ และควรได้รับบริการฟันปลอมเพื่อคงสภาพทำหน้าที่ได้ หากมีฟันน้อยกว่ากำหนด

ปัญหาเรื่องฟัน

อัตราความชุกของภาวะเรื้อรัง

ประเด็นที่ 2 ภาวะการสะสมของโรคเรื้อรัง ประเด็นที่ 2 ภาวะการสะสมของโรคเรื้อรัง โรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเป็นโรคที่สะสมมาตั้งแต่วัยกลางคน ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และ โลหิตจาง ฯลฯ

ความชุกของผู้ที่อายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง(Systolic BP>140 or diastolic BP >90 mm hg)

ความชุกของผู้ที่อายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีไขมันในเลือดสูง (ระดับไขมันรวม ≥ 240mg/dl )

ความชุกของผู้ที่มีอายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน (ระดับน้ำตาลในเลือด FBS>126 mg/dl)

ระดับของมาตรการป้องกัน ลดอุบัติการณ์ของปัจจัยเสี่ยงและโรค ลดความชุกของโรคโดยทำให้ระยะการเป็นสั้นลง มาตรการเพื่อลดภาวะเสื่อมถอยทุพพลภาพ มาตรการเหล่านี้จึงจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่วัยกลางคน เพื่อลดภาระโรคในผู้สูงอายุ

ประเด็นที่ 3 การเข้าถึงบริการ ได้การรักษาและ ควบคุมได้ของกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อชี้วัดความคลอบคลุมและคุณภาพบริการ โดยจำแนกผู้ที่ตรวจพบว่าเป็นโรค เป็น 4 กลุ่ม คือ ไม่ทราบว่าเป็น ไม่เคยตรวจ ทราบว่าเป็น แต่ไม่ได้รักษา ทราบว่าเป็น ได้รับการรักษาด้วยยา แต่คุมไม่ได้ รักษา และ ควบคุมได้ พบระดับปกติจากการตรวจเลือด

ความดันโลหิตสูง เกณฑ์:- ผู้ที่ Systolic BP เฉลี่ยตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป หรือ ผู้ที่ Diastolic BP เฉลี่ยตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป หรือ ผู้ที่กำลังได้รับการรักษาด้วยการรับประทานยาลดความดันโลหิต กลุ่มที่ได้รับการรักษาและควบคุมได้ หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการ รักษาด้วยยาลดความดันโลหิต และตรวจวัดความดันโลหิต พบว่า SBP < 140 mmHg และ DBP < 90 mmHg .ในวันสัมภาษณ์

เบาหวาน เกณฑ์:- หมายถึงผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar ≥ 126 mg/dl หรือ เป็นผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยการรับประทานยาลดน้ำตาลในเลือดหรือฉีด อินซูลิน กลุ่มที่ได้รับการรักษาและควบคุมได้ หมายถึง ผู้สูงอายุที่ได้รับการ รักษาด้วยยาลดน้ำตาลในเลือดหรือฉีดอินซูลิน และตรวจพบ FBS < 140 mg/dlในวันสัมภาษณ์

ความชุกของเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และทั้งสองโรค

ระดับของการรับบริการ

ลักษณะของผู้สูงอายุและการส่งเสริมความเป็นอยู่ดี เป็นหลายโรคพร้อมๆกัน ที่ควรควบคุมได้ด้วยบริการสุขภาพ กินยาหลายอย่างเป็นประจำ มีการควบคุมเฉพาะยาที่จำเป็น ต้องการความเป็นส่วนตัวมากขึ้น ผู้อยู่ด้วยมีความเข้าใจ แยกตัวจากจากสังคม ให้มีกลุ่มเพื่อนร่วมรุ่นหรือชมรมผู้สูงอายุด้วยกัน